I understand the new Qianhai plan is not widely discussed among Hong Kong youth, but it indeed presents exceptional learning and development opportunities to our next generation. It may also help tackle some of our pressing challenges, like land and housing. Here are my views in South China Morning Post.
//The rich experiences in Qianhai would entice young people to stay longer, and local governments could take the opportunity to experiment with affordable new housing models and, more specifically, a public home purchase scheme at discounted prices, targeting middle-income Hongkongers willing to work and live in Qianhai for at least a few years.
This would support young Hongkongers in overcoming the home ownership challenges in their home city while not compromising their quality of life. Ultimately, the Qianhai plan would help address the most pressing challenge of housing in Hong Kong.//
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過80萬的網紅果籽,也在其Youtube影片中提到,Ranked the world’s most unaffordable housing market, Hong Kong has long been struggling with a severe shortage of public housing as the number of appl...
「public housing development」的推薦目錄:
- 關於public housing development 在 Facebook 的最讚貼文
- 關於public housing development 在 Facebook 的精選貼文
- 關於public housing development 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於public housing development 在 果籽 Youtube 的最佳解答
- 關於public housing development 在 李根興 Edwin商舖創業及投資分享 Youtube 的精選貼文
- 關於public housing development 在 Juno Lin Youtube 的最佳解答
public housing development 在 Facebook 的精選貼文
這次很榮幸受到「#台北當代藝術館」的邀請
依據與錄像藝術家崔廣宇共同創作的作品《#150米的人生可能》
來錄製台北當代藝術館的Podcast頻道中的節目
這集名為
「藝術X社宅 從影像創作窺見居住正義」的對話
從崔廣宇在紐約思考這個作品的初衷
以及到我們合作之後
整個團隊從前製、拍攝到後期製作的過程
這也是我第一次參與公共藝術創作
很棒的是除了有崔廣宇的腦袋之外
還有像李亦捷、楊鎮、福地祐介這麼棒的演員
願意去挑戰完全沒有台詞
卻要以身體中每一個關節
來詮釋在這個空間中
藝術家想給予觀者的想像空間
以及必要的精準
當然
加上優秀的後期製作
從跟我一起參與「大崎下」這部作品
就入圍新加坡亞洲電視節最佳剪接的Jessie Chang
以及音樂音效總監的老搭檔余政憲
使得創作的火花
在每一個環節
一直一直蹦出來
這讓崔廣宇一直大呼過癮
而我
更是有一種難以形容的快樂
跟崔廣宇錄節目一定不會太正經
但是
畢竟是要典藏在台北當代藝術館的影音資料庫中
我硬是逼他要好好說話
至於到底他有沒有辦法好好說話
大家就點開留言處的連結
來定奪一下
【節目簡介】
社會住宅裡的居民過著怎樣的生活?
藝術家崔廣宇與李鼎導演,
在臺北市興隆社宅裡聽見悠揚的鋼琴聲、看見一畝菜園,
遛貓遛狗相互問好的溫暖鄰居,
和一座失能的空中跑道。
透過實地走訪,
兩位創作者發現臺灣社宅的居民並非刻板印象中貧困的存在,
有著令人心生羨慕的居住環境。
透過藝術家發掘制度缺陷的敏銳度,
結合導演善於觀察人心與編排角色的能力,
《#150米的人生可能》開啟公共藝術的在地連結與討論。
#公共藝術
#興隆社宅
「150米的人生可能」血統書:
「藝居-家的進行式」臺北市社宅公共藝術計畫
The Public Art Project of “Living Humanity” for Taipei City Public Housing
主辦單位 臺北市政府都市發展局
Organized by Department of Urban Development, Taipei City Government
策劃執行 帝門藝術教育基金會
Curated by Dimension Endowment of Art
攝影指導:曾崴榆
音樂總監:余政憲
剪接指導:張育禎
#台北當代藝術館 #MoCATaipei
#崔廣宇 #KuangYuTsui #李鼎 #LeadingLee #熊鵬翥
#150米的人生可能 #150metersofLoveHomePeace
#福地祐介 #李亦捷 #楊鎮
#藝居 #家的進行式 #livinghumanity
#木柵 #興隆社宅D2 #文山區
#帝門藝術教育基金會
#台北市社會住宅 #公共藝術計劃
public housing development 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
คนสิงคโปร์ส่วนใหญ่ อาศัยอยู่ในบ้าน ที่สร้างโดยรัฐบาล /โดย ลงทุนแมน
“Public Housing” คือที่อยู่อาศัยที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ โดยจัดสรรให้ประชาชนซึ่งส่วนใหญ่คือกลุ่มผู้มีรายได้น้อย
แต่รู้หรือไม่ว่า ประเทศที่ร่ำรวยอย่างสิงคโปร์ มีประชากรกว่า 80% อาศัยอยู่ในที่อยู่อาศัยที่สร้างโดยรัฐบาล นั่นจึงทำให้สิงคโปร์เป็นหนึ่งในประเทศที่ นโยบายการเคหะแห่งชาติประสบความสำเร็จมากที่สุดในโลก
แล้วรัฐบาลสิงคโปร์ทำได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
หลังจากที่ประเทศสิงคโปร์พ้นจากการเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี 1959 หรือเมื่อ 62 ปีก่อน
สิงคโปร์ในตอนนั้นจึงเต็มไปด้วยผู้อพยพจำนวนมากหลากหลายเชื้อชาติ ทั้งชาวมาเลเซีย จีน และอินเดีย
ความหลากหลายดังกล่าวนอกจากจะนำไปสู่การแบ่งแยกเชื้อชาติแล้ว
อีกปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่ผู้คนหลั่งไหลเข้ามาอย่างรวดเร็ว คือวิกฤติขาดแคลนที่อยู่อาศัย
จึงทำให้ประชากรบางส่วนต้องอยู่กันแบบชุมชนแออัดหรือที่เรียกว่าสลัม
ในปีถัดมา นายกรัฐมนตรีคนแรกของสิงคโปร์อย่าง ลี กวน ยู ได้จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาการเคหะที่ใช้ชื่อว่า Housing and Development Board หรือ “HDB” เป็นโครงการสร้างที่อยู่อาศัยให้เช่าสำหรับผู้ไม่มีกำลังทรัพย์
คุณลี กวน ยู มองว่าการเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยคือสิ่งสำคัญที่สุด ที่จะทำให้ผู้อพยพได้เริ่มลงหลักปักฐานในประเทศนี้
โดยในช่วงแรก HDB ได้เร่งสร้างที่อยู่อาศัยให้ครอบคลุมจำนวนประชากรให้เร็วที่สุด
รูปแบบของที่อยู่อาศัยในตอนนั้นจึงเป็นแฟลตขนาดเล็ก แต่เน้นสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นให้ได้มากที่สุด
แต่เมื่อนโยบาย HDB เริ่มไปได้ไม่นาน ในเดือนพฤษภาคม ปี 1961 กลับเกิดไฟไหม้ในย่านชุมชนแออัดแห่งหนึ่ง ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับพื้นที่ขนาดใหญ่ราว 8 สนามฟุตบอล จนมีผู้เสียชีวิต 4 คน และกว่า 16,000 คนต้องกลายเป็นคนไร้บ้าน
นี่จึงเป็นเหตุการณ์ความสูญเสียที่พิสูจน์ฝีมือของรัฐบาลลี กวน ยู ที่สามารถจัดหาที่อยู่อาศัยให้กับผู้ประสบภัยทั้งหมดได้ภายในปีเดียว ก่อนที่จะฟื้นฟูความเสียหายและสร้างที่อยู่อาศัยถาวรในบริเวณที่เกิดเหตุได้ภายใน 5 ปี
ผลงานนี้ได้ทำให้ชาวสิงคโปร์มีความเชื่อมั่นในนโยบาย HDB มากยิ่งขึ้นและทำให้รัฐบาลโน้มน้าวผู้คนที่คุ้นเคยกับที่อยู่อาศัยที่มีไม่กี่ชั้น ให้ไปอยู่อาศัยบนอาคารที่มีจำนวนชั้นมากขึ้น เป็นไปด้วยความราบรื่นมากยิ่งขึ้น
และในปี 1964 นอกจากการให้เช่าแล้ว HDB ได้เริ่มขายที่อยู่อาศัย
จนกระทั่งปี 1965 HDB ได้สร้างที่อยู่อาศัยไปกว่า 51,000 โครงการ
ซึ่งส่วนมากจะเป็นอะพาร์ตเมนต์ และทำให้ประชากรกว่า 1 ใน 4 หรือราว 400,000 คนมีที่อยู่อาศัย
เพื่อให้การสร้างที่อยู่อาศัยครอบคลุมไปทั่วประเทศ รัฐบาลได้ออกกฎหมายต่าง ๆ เพื่อกว้านซื้อที่ดิน จากในปี 1960 ที่รัฐครอบครองที่ดินอยู่ 44% มาเป็นกว่า 90% ในปัจจุบัน
ขณะที่รัฐบาลหลายประเทศยังคงโฟกัสกลุ่มผู้มีรายได้น้อยและมีกำลังทรัพย์ไม่พอที่จะเข้าถึงที่อยู่อาศัยในราคาตลาดได้ แต่สำหรับประเทศสิงคโปร์ ที่แม้ว่ารายได้เฉลี่ยของประชากรถือว่าร่ำรวย รัฐบาลได้เริ่มหันมาโฟกัสนโยบายที่อยู่อาศัยเพื่อ “ทุกคน” เพราะต้องการให้ชาวสิงคโปร์มีที่อยู่อาศัยคุณภาพดีในราคาที่เข้าถึงได้
ซึ่งสิ่งที่รัฐบาลให้ความสำคัญและเป็นปัจจัยที่เชิญชวนให้ชาวสิงคโปร์
เลือกที่อยู่อาศัยจาก HDB ก็มีอยู่ด้วยกัน 3 อย่าง
ปัจจัยแรกก็คือ “ราคา”
ราคาของที่อยู่อาศัยจาก HDB จะถูกกว่าของเอกชนราว 20 ถึง 30%
ซึ่ง HDB จะมีข้อกำหนดสำหรับผู้ซื้อที่อยู่อาศัยโดยตรงกับทาง HDB ว่าห้ามขายภายใน 5 ปีแรก เพื่อป้องกันการซื้อที่อยู่อาศัยเพื่อเก็งกำไร
หลังจากผ่าน 5 ปีแรกไปแล้ว จะสามารถขายต่อได้ในราคาตลาด หรือราคาที่ผู้ซื้อผู้ขายตกลงกันเอง แต่ราคาโดยเฉลี่ยจะสูงกว่าราคาที่อยู่อาศัยมือหนึ่งของ HDB อยู่ราว 20 ถึง 25% ชาวสิงคโปร์จึงนิยมเลือกซื้อที่อยู่อาศัยมือหนึ่งจาก HDB มากกว่า ส่วนตลาดรองนี้จะเป็นที่นิยมในหมู่ชาวต่างชาติ
นอกจากนี้ HDB ก็ยังมีนโยบายด้านราคาแบบอื่นเพิ่มเติม อย่างเช่น ผู้ซื้อจะได้รับส่วนลดเพิ่ม หากซื้อที่อยู่อาศัยในละแวกเดียวกับพ่อแม่
ปัจจัยที่สองก็คือ “ความช่วยเหลือทางการเงิน”
นอกจาก HDB จะช่วยอุดหนุนเพื่อกดราคาที่อยู่อาศัยให้ต่ำกว่าราคาตลาดแล้ว
ตัวโครงการยังมีนโยบายกองทุนที่ชื่อ Central Provident Fund โดยชาวสิงคโปร์จะถูกบังคับสะสมเงินในกองทุน โดยหักจากเงินเดือน 20% และเก็บจากนายจ้างอีก 17% ของเงินเดือน
ในตอนแรกกองทุนนี้มีเพื่อการเกษียณอายุเท่านั้น
แต่ในปี 1968 รัฐบาลอนุญาตให้ใช้เงินกองทุนเพื่อซื้อที่อยู่อาศัยได้ด้วย
เพื่อช่วยให้ชาวสิงคโปร์เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยได้ง่ายมากขึ้น
แต่เพียงราคาที่เข้าถึงง่าย และการสนับสนุนทางการเงิน คงไม่สามารถทำให้ชาวสิงคโปร์จำนวนมากตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยจากทาง HDB
นั่นจึงนำไปสู่ปัจจัยสำคัญอย่างที่สามก็คือ “คุณภาพ”
ที่อยู่อาศัยที่จัดสร้างโดย HDB ถือได้ว่ามีสภาพแวดล้อมและคุณภาพที่ดีกว่าสิ่งที่เห็นได้ทั่วไปในหลายประเทศ
โดยทาง HDB มีประเภทอสังหาริมทรัพย์ให้เลือกหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่แฟลตขนาดย่อมไปจนถึงคอนโดมิเนียมขนาดใหญ่ที่มีทั้งยิมและสระว่ายน้ำในตัว
ในแต่ละโครงการก็ยังมีห้องหลายแบบหลายขนาดให้เลือก ตั้งแต่ขนาด 2 ห้องไปจนถึง 5 ห้อง
เพื่อตอบโจทย์ครอบครัวหลายรูปแบบ
และมีบางโครงการที่ HDB จ้างบริษัทเอกชนออกแบบและก่อสร้าง เพื่อตอบโจทย์ความต้องการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัยได้ทัน แต่ราคาขายยังคงได้รับการอุดหนุนจาก HDB อยู่
นอกจากคุณภาพอสังหาริมทรัพย์แล้ว HDB ยังส่งเสริมในเรื่องคุณภาพชีวิตด้วย
เพราะบริเวณโดยรอบที่อยู่อาศัย HDB กำหนดให้ต้องมีทั้งโรงเรียน โรงพยาบาล ซูเปอร์มาร์เก็ต ห้างสรรพสินค้า ยิมหรือสถานที่ออกกำลังกาย และทำเลที่ตั้งต้องอยู่ในรัศมีใกล้รถไฟฟ้าใต้ดินทำให้การเดินทางเป็นเรื่องสะดวกสบาย
นอกจากนี้ ภายในโครงการยังต้องมีสถานที่ประกอบกิจกรรมทางศาสนาหรือตามประเพณีของทุกศาสนาและทุกเชื้อชาติ ซึ่งก็สอดคล้องกับข้อกำหนดที่ว่าผู้อาศัยในแต่ละโครงการต้องมีทุกเชื้อชาติรวมกันตามสัดส่วนที่ทาง HDB กำหนด เพื่อช่วยแก้ปัญหาการแบ่งแยกเชื้อชาติและแบ่งแยกชนชั้น
นอกจากเรื่องสัดส่วนของเชื้อชาติแล้ว HDB ยังกำหนดข้อจำกัดด้านอื่นไว้ด้วย ยกตัวอย่างข้อกำหนดที่สำคัญก็เช่น ผู้ซื้อที่อยู่อาศัยต้องจองซื้อก่อนล่วงหน้า และรอจนก่อสร้างเสร็จอีกโดยเฉลี่ยประมาณ 4 ปี
และแม้ว่าจะใช้คำว่าขาย แต่ในสัญญาจะพ่วงมากับสัญญาเช่า 99 ปี นั่นหมายความว่าเมื่อพ้นช่วง 5 ปีแรกที่ห้ามขายต่อแล้ว หลังจากนั้นผู้ซื้อจะขายต่อ หรือให้ตกทอดเป็นมรดกก็ได้
แต่เมื่อครบสัญญา 99 ปี อสังหาริมทรัพย์นั้นจะตกกลับไปเป็นของรัฐอีกครั้ง โดยรัฐบาลให้เหตุผลว่าเพื่อนำที่ดินกลับมาใช้ใหม่ และสร้างที่อยู่อาศัยให้กับชาวสิงคโปร์ในรุ่นต่อไป
สุดท้ายแล้วเจ้าของที่แท้จริงก็ยังคงเป็นรัฐบาลอยู่ดี โดยถ้านับตั้งแต่ปี 1960 ที่ HDB เริ่มก่อตั้ง จะมีบ้านที่ครบสัญญา 99 ปีครั้งแรกในปี 2059 ซึ่งจนถึงตอนนี้ก็ยังสร้างความกังวลให้กับชาวสิงคโปร์ ว่าเมื่อเวลานั้นมาถึง การต่อสัญญาเช่าจะเป็นอย่างไร
อีกข้อกำหนดก็คือ ชาวสิงคโปร์ที่ต้องการซื้อที่อยู่อาศัยเองครั้งแรก ต้องมีอายุครบ 35 ปีก่อน แต่จะได้รับการยกเว้นถ้าเป็นคู่แต่งงาน ซึ่งทางรัฐบาลตั้งข้อกำหนดนี้มาเพื่อสนับสนุนให้คนรุ่นใหม่สร้างครอบครัว แก้ปัญหาการลดลงของประชากร
แต่ข้อกำหนดนี้ก็เป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ในสังคมปัจจุบัน ที่มีความหลากหลายทางเพศมากขึ้น และการใช้ชีวิตคู่ที่ไม่จำเป็นว่าต้องแต่งงานเท่านั้นแบบในอดีต
อย่างไรก็ตาม HDB ได้ถือเป็นความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่ของรัฐบาลสิงคโปร์ ที่ทำให้ประชากรเลือกที่อยู่อาศัยในโครงการของรัฐเพิ่มขึ้นจาก 9% ในปี 1960 ที่เริ่มต้นโครงการ มาเป็นกว่า 80% ในปัจจุบัน ซึ่งมีโครงการที่อยู่อาศัยที่สร้างโดยรัฐบาลกว่า 1 ล้านยูนิตทั่วประเทศ
และนโยบายที่ทำให้เข้าถึงที่อยู่อาศัยได้ในราคาไม่แพงนี้ ยังทำให้สิงคโปร์มีสัดส่วนประชากรที่เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยกว่า 91% มากเป็นอันดับสองของโลก เป็นรองเพียงประเทศโรมาเนีย
ซึ่งถ้าเทียบกับในประเทศพัฒนาแล้วประเทศอื่น อย่างเช่น สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร
ทั้งสองประเทศนี้มีสัดส่วนประชากรที่เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยราว 63% เท่านั้น
เหนือสิ่งอื่นใดก็คือ นโยบายนี้ได้กลายเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้พรรค People’s Action Party ที่ก่อตั้งโดยคุณลี กวน ยู เป็นพรรคการเมืองเดียวที่ปกครองสิงคโปร์มาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เป็นเวลายาวนานกว่า 62 ปี อีกด้วย..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.bloomberg.com/news/articles/2020-07-08/behind-the-design-of-singapore-s-low-cost-housing
-https://www.economist.com/asia/2017/07/06/why-80-of-singaporeans-live-in-government-built-flats
-https://www.bbc.com/worklife/article/20181210-can-singapores-social-housing-keep-up-with-changing-times
-https://medium.com/discourse/singapores-paradoxical-housing-policy-6c3e21f8bca7
public housing development 在 果籽 Youtube 的最佳解答
Ranked the world’s most unaffordable housing market, Hong Kong has long been struggling with a severe shortage of public housing as the number of applications and the waiting time keep breaking records. While public housing apartments are highly sought after by urban dwellers of all ages, not many are aware of the unique features and historical development of these estates.
Iain Cocks fell in love with the city’s public housing estates when he moved to Hong Kong from London 13 years ago. The kindergarten teacher often photographs the estates near his workplace during the week and visits those further out on his days off. Cocks' shots of urban density carry a style reminiscent of the late German photographer Michael Wolf. Apart from sharing his pictures on Instagram (@gaatzaat), the Englishman also keeps a record that chronicles Hong Kong’s public housing development over the years.
影片:
【我是南丫島人】23歲仔獲cafe免費借位擺一人咖啡檔 $6,000租住350呎村屋:愛這裏互助關係 (果籽 Apple Daily) (https://youtu.be/XSugNPyaXFQ)
【香港蠔 足本版】流浮山白蠔收成要等三年半 天然生曬肥美金蠔日產僅50斤 即撈即食中環名人坊蜜餞金蠔 西貢六福酥炸生蠔 (果籽 Apple Daily) (https://youtu.be/Fw653R1aQ6s)
【這夜給惡人基一封信】大佬茅躉華日夜思念 回憶從8歲開始:兄弟有今生沒來世 (壹週刊 Next) (https://youtu.be/t06qjQbRIpY)
【太子餃子店】新移民唔怕蝕底自薦包餃子 粗重功夫一腳踢 老闆刮目相看邀開店:呢個女人唔係女人(飲食男女 Apple Daily) https://youtu.be/7CUTg7LXQ4M)
【娛樂人物】情願市民留家唔好出街聚餐 鄧一君兩麵舖執笠蝕200萬 (蘋果日報 Apple Daily) (https://youtu.be/e3agbTOdfoY)
果籽 :http://as.appledaily.com
籽想旅行:http://travelseed.hk
健康蘋台: http://applehealth.com.hk
動物蘋台: http://applepetform.com
#果籽 #photographer #London #Hong Kong #public housing estates #kindergarten #StayHome #WithMe #跟我一樣 #宅在家
public housing development 在 李根興 Edwin商舖創業及投資分享 Youtube 的精選貼文
《重建起住宅商廈幾倍?》第1630成交(堅): 大埔舊墟直街美新里3號華安樓地下C D E舖,6900萬成交, 租客譚仔三哥雲南米線,租金十四萬,回報2.4%,恆基收購, 建築面積2300呎,闊約70呎,深約30呎。 簽約日期2019年11月4日。 樓齡約56年。業權份數: 3/29
上手業主1964年6月第一手以92000萬(3萬+3萬+3萬2千)買入,持貨55年升值750倍。
【星島報導】- 恒地統一大埔舊樓業權 - 發展商對新界具重建價值舊樓展開併購,大埔美新里華安樓獲恒地以6,900萬元購入最後3個單位成功「拔釘」,累計以約3.4億元統一項目全數業權,料重建為商住項目。6900萬購最後3伙
據土地註冊處資料顯示,大埔舊墟直街美新里3號華安樓地下C至E號單位,以6,900萬元易手,新買家為世星投資有限公司,註冊董事為恒地李家誠、郭炳濠、李鏡禹及馮李煥琼。
發展商去年9月透過田生相關人士展開收購,收購價由854.9萬元至995.1萬元,先後購入24個住宅單位,呎價約1.1萬至1.4萬元,收購價足以購入同區新盤天鑽3房,另外已購入兩地舖。
華安樓現為1幢7層高商住物業,距離太和港鐵站約10分鐘步程,社區配套成熟,具重建價值。物業地盤約3,640平方呎,屬住宅(甲類)用途,若以商住發展比率9.5倍重建,預計樓面約3.46萬平方呎,料以發展中小型單位為主。
成交比較:
- 第980成交: 大埔舊墟直街華安樓地下a-b舖,Crisy Land 教育,2018年10月18日成交3400萬
- (2017年4月21日我拍過) 大埔舊墟直街9號粵發大廈地下2號舖,711便利店,2017年3月28日成交4200萬
From town planning:
This zone is intended primarily for high-density residential developments. Commercial uses are always permitted on the lowest three floors of a building or in the purpose-designed
non-residential portion of an existing building. The “Residential (Group A)1” and “Residential (Group A)9” zones are intended for public housing development.
On land designated “R(A)”, no new development of or redevelopment to a domestic or
non-domestic building shall result in a total development and/or redevelopment in excess of a maximum domestic plot ratio of 5, or a maximum non-domestic plot ratio of 9.5, as the case may be. For new development of or redevelopment to a building that is partly
domestic and partly non-domestic, the plot ratio for the domestic part of the building shall not exceed the product of the difference between the maximum non-domestic plot
ratio of 9.5 and the actual non-domestic plot ratio proposed for the building and the maximum domestic plot ratio of 5 divided by the maximum non-domestic plot ratio of 9.5.
以5倍地積比率計算,起住宅的話,樓面地價已經是$18681。起商業,則是$9832。
..........
2019年第4季《盛滙商舖增值基金》推介會:
日期: 2019年12月11日(星期三 - 加場)。
之前三場已滿 - 2019年12月4日(星期三)、6日(五)或10日(二)
時間: 下午1時至2時半
地點: 中環皇后大道中大16至18號新世界大廈1502-03室
登記:
每場限約十位,免費,包簡單午餐。
內容: 舖市走勢、基金表現及投資條款。今期目標集資港幣3000萬。
講者: 李根興博士及其投資商舖團隊
Note: 證監會要求 - 只適合持有港幣八百萬以上流動資產(非物業)人士或公司參與。投資三百萬起。
報名方法:
電話: (852) 2830 1111 (Suki/Monica)
電郵: cs@bwfund.com
Whatsapp: (852) 9218 5223
https://youtu.be/FL4vIYKfH1E
public housing development 在 Juno Lin Youtube 的最佳解答
SUBSCRIBE for more LOVE!
EP035 Vlog 300616 - Country Making Progress As Car Park Charges Increased
Hair Sponsor - Hairloom
Music - Swinging Lounge Bar
Shot on - CanonG7X/Canon70D
Edited on - FCPX
Follow me on:
Facebook - https://www.facebook.com/junolinzhaoyu/
Instagram - @juno_linzy
YouTube - http://www.youtube.com/user/jiayuyuyu
public housing development 在 Public Housing Development | Hong Kong Housing Authority ... 的相關結果
Public Housing Development · 1961. The Government Low-cost Housing Programme was formally implemented to provide rental accommodation of a higher ... ... <看更多>
public housing development 在 Public Housing - HUD 的相關結果
Public housing was established to provide decent and safe rental housing for eligible low-income families, the elderly, and persons with disabilities. ... <看更多>
public housing development 在 Public housing - Wikipedia 的相關結果
Public housing is a form of housing tenure in which the property is usually owned by a government authority, either central or local. Social housing is any ... ... <看更多>