ผู้สนับสนุน..
หุ้นกู้ PTT เรทติ้ง AAA (tha) ที่หลายคนรอคอย
กรีนบอนด์อายุ 3 ปี ดอกเบี้ย 2.25% และหุ้นกู้อายุ 7 ปี ดอกเบี้ย 2.85% ต่อปี
เดินหน้าส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างประโยชน์แก่สังคม และชุมชน
เห็นบริษัทต่างๆ เสนอขายหุ้นกู้แก่ผู้ลงทุนประชาชนทั่วไปกันมากมาย นักลงทุนหลายคนก็รอลุ้นว่า บริษัทพลังงานข้ามชาติชั้นนำรายใหญ่ที่สุดของประเทศไทย อย่าง บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) หรือ ปตท. (PTT) จะเสนอขายหุ้นกู้เมื่อไร
ล่าสุดหลังจากประสบความสำเร็จในการเสนอขายหุ้นกู้แก่ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2563 ที่ผ่านมา ปตท. ได้เปิดตัวหุ้นกู้ 2 รุ่นสำหรับเสนอขายให้แก่ผู้ลงทุนประชาชนทั่วไป รุ่นนึงเป็นหุ้นกู้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือกรีนบอนด์ อายุ 3 ปี ดอกเบี้ย 2.25% ต่อปี กับอีกรุ่นเป็นหุ้นกู้อายุ 7 ปี ดอกเบี้ย 2.85% ต่อปี ซึ่งรุ่นนี้มีให้สิทธิกับผู้ถือหุ้นกู้เดิมของ ปตท. (8 รุ่น ที่ครบกำหนดไถ่ถอนไปแล้วระหว่างปี 2559 ถึง 2562) ด้วย โดยทั้ง 2 รุ่น กำหนดจ่ายดอกเบี้ยทุก 6 เดือน
ในด้านของอันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ ปตท. นั้น หายห่วง เพราะบริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด ประกาศอันดับเครดิต หุ้นกู้ ปตท. เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2563 เป็นตราสารหนี้ที่ออกในประเทศไทยที่มีอันดับเครดิตสูงสุด คือ AAA (tha)
ฟิทช์ เรทติ้งส์ ระบุไว้ว่า อันดับเครดิตของ ปตท. สะท้อนถึงการดำเนินธุรกิจแบบครบวงจรของกลุ่ม ปตท. และความมีเสถียรภาพจากการที่ ปตท. ได้ถือหุ้นในบริษัทในเครือต่างๆ ตลอดห่วงโซ่ธุรกิจ (Business Value Chain) ตั้งแต่ธุรกิจต้นน้ำ จนถึงปลายน้ำ ที่มีขนาดใหญ่และมั่นคง อาทิ ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ธุรกิจน้ำมัน ธุรกิจโรงกลั่น และธุรกิจปิโตรเคมี และยังระบุถึงสถานะทางการเงินและสภาพคล่องที่แข็งแกร่งของ ปตท. ด้วยว่า ปตท. ได้รับประโยชน์จากกระแสเงินสดจากการดำเนินงานของธุรกิจตลอดห่วงโซ่ ที่มีความสม่ำเสมอ เนื่องจากอุปสงค์ของธุรกิจพลังงานค่อนข้างมีความมั่นคง
นอกจาก ปตท. จะเป็นบริษัทพลังงานไทยที่เทียบชั้นได้กับบริษัทใหญ่ๆ ระดับโลกแล้ว เรายังเห็นถึงความมุ่งมั่นที่จะสร้างความสมดุลระหว่างการเติบโตทางธุรกิจ การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และการพยายามร่วมสร้างสังคมไทยให้แข็งแรง เพื่อสร้างความมั่นคงทางพลังงานและความมั่งคั่งให้กับเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปี 2562 ที่ผ่านมา ปตท. ได้รับคัดเลือกเป็นสมาชิกในดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices หรือ DJSI) ต่อเนื่องเป็นปีที่ 8 ในกลุ่มดัชนีโลก (World Index) และดัชนีตลาดเกิดใหม่ (Emerging Market Index) สะท้อนให้เห็นถึงการบริหารจัดการความยั่งยืนขององค์กรที่สามารถเทียบเคียงกับบริษัทชั้นนำในอุตสาหกรรมเดียวกันทั่วโลก นำมาซึ่งความภาคภูมิใจสู่องค์กรและประเทศไทยที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล
และเนื่องจากหุ้นกู้ ปตท. ที่ออกครั้งนี้มี “กรีนบอนด์” หรือหุ้นกู้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วย โดยที่ ปตท. ถือเป็นบริษัทแรกในประเทศไทยที่เสนอขายกรีนบอนด์ให้กับผู้ลงทุนประชาชนทั่วไป และได้รับประกาศนียบัตรจาก Climate Bonds Initiative (CBI) ซึ่งเป็นองค์กรอิสระระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อม ที่มุ่งเน้นและให้ความสำคัญเรื่องการลงทุนและการระดมทุนที่สนับสนุนการนำไปสู่สังคมและเศรษฐกิจแบบ Low Carbon หรือการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยโครงการเพื่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ ปตท. นั้น ถือเป็นโครงการแรกในโลกที่ได้รับประกาศนียบัตรจาก CBI ด้านการอนุรักษ์ป่าไม้ ซึ่งตอกย้ำถึงความเป็นผู้นำของ ปตท. ในการมุ่งเน้นเรื่องความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมที่แท้จริง เราจึงควรทำความรู้จักกับโครงการเพื่อสิ่งแวดล้อมของ ปตท. กันหน่อยว่า ที่บอกว่าเป็นโครงการเพื่อ “ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างประโยชน์แก่สังคม และชุมชน” นั้นเป็นอย่างไร
เริ่มจากปี 2537 ปตท. ได้รับอาสาภาครัฐปลูกป่า จำนวน 1 ล้านไร่ ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ปีที่ 50 เพื่อฟื้นฟูพื้นที่ป่าที่ถูกบุกรุกทำลาย โดยมีพื้นที่เป้าหมายกระจายอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศ
ปัจจุบัน ผลจากการปลูกป่าดังกล่าวได้เติบโตและสร้างประโยชน์ให้กับประเทศ โดยการวิจัยของศูนย์วิจัยป่าไม้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่าป่าที่ ปตท. ได้ดำเนินการปลูกและดูแลรักษา สามารถดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้เฉลี่ย 2.14 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี และมีการใช้ประโยชน์ของชุมชนด้านของป่าคิดมูลค่ารวมกว่า 280 ล้านบาทต่อปี (ข้อมูลจากงานวิจัยผลสัมฤทธิ์แปลงปลูกป่า ปตท. โดย ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2560 – 2561) และยังคงมีความอุดมสมบูรณ์มากกว่า 82% ด้วยความร่วมใจดูแลรักษาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ป่า อีกทั้งเป็นส่วนหนึ่งที่ร่วมสร้างการพึ่งพาตัวเอง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิต และเศรษฐกิจที่ดีแก่ชุมชนโดยรอบพื้นที่แปลงปลูกป่า นอกจากนี้ยังเกิดเครือข่ายความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศมากมาย
จากโครงการปลูกป่าฯ สู่การจัดตั้งเป็นสถาบันปลูกป่าและระบบนิเวศ ปตท. ได้ทำหน้าที่ขยายผล ต่อยอดจากภารกิจโครงการปลูกป่าฯ 1 ล้านไร่ ผ่านการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ที่สำคัญจำนวน 3 ศูนย์ ซึ่งมีจุดเด่นที่แตกต่างกัน ประกอบด้วย ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี ศูนย์เรียนรู้ป่าในกรุง และ ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์
ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี เป็นพื้นที่ศูนย์เรียนรู้ป่าชายเลน 786 ไร่ ที่ตำบลปากน้ำปราณ อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่แห่งนี้ได้รับการฟื้นฟูจากนากุ้งร้างสู่ความอุดมสมบูรณ์ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนระดับประเทศและภูมิภาค รวมถึงเป็นพื้นที่ต้นแบบการบริหารจัดการพื้นที่ป่าอย่างยั่งยืนร่วมกับชุนชนและหน่วยงานภาครัฐ สร้างรายได้ให้ชุมชนจากการรับรองนักท่องเที่ยว และจากการจับสัตว์น้ำ
ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลป่ายุบใน อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง เนื้อที่รวม 351 ไร่ มีแนวคิดการออกแบบที่คำนึงถึงระบบนิเวศและการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ซึ่งกระทบต่อธรรมชาติน้อยที่สุด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้และนวัตกรรมการฟื้นฟูป่ารูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะการฟื้นฟูป่าแบบบูรณาการในรูปแบบ “วนเกษตร” ที่ปลูกไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชสวน รวมถึงการทำนาแบบผสมผสาน ทั้งยังเป็นพื้นที่ปลูกป่าโครงการนำร่องที่เข้าร่วมโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand-Voluntary Emission and Reduction: T-VER) สาขาป่าไม้และพื้นที่สีเขียว
ศูนย์เรียนรู้ป่าในกรุง ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2558 โดยสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเปิด และพระราชทานชื่อ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 12 ไร่ บนถนนสุขาภิบาล 2 เขตประเวศ กทม. เป็นแหล่งสะสมพันธุ์ไม้พื้นถิ่นต่างๆ ของกรุงเทพฯ ทั้งยังรวบรวมองค์ความรู้การปลูกและอนุรักษ์ป่าของ ปตท. ปัจจุบันเป็นหนึ่งในแหล่งกิจกรรมปลูกฝังเรื่องการอนุรักษ์ป่าและสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ชิดคนเมือง
ซึ่งนอกจากการมุ่งรักษาทรัพยากรควบคู่กับการสร้างความรู้แล้ว ขณะนี้ ปตท. ยังหวังยกระดับคุณภาพชีวิตประชากรในเมืองผ่านแนวคิดแบบ Urban Green มากขึ้น อย่างที่ผ่านมาก็มีโครงการ Our Khung BangKachao ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนความร่วมมือในรูปแบบ social collaboration กับภาคีต่างๆ กว่า 65 หน่วยงาน เพื่อพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า จ.สมุทรปราการ ที่ถือว่าเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ในการผลิตออกซิเจนให้กับคนเมือง ให้สามารถเติบโตอย่างสมดุล เป็นพื้นที่สีเขียว ร่วมกับพัฒนาเศรษฐกิจ ปากท้อง ความเป็นอยู่ที่ดีของชุมชน
จะเห็นว่าโครงการปลูกป่าของ ปตท. ไม่ใช่แค่ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรม แต่ยังส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติเพื่อความยั่งยืนในระยะยาว ด้วยการสร้างให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ ปลูกสร้างจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมและการเพิ่มพื้นที่สีเขียวควบคู่กันไปด้วย ซึ่งจะตอบโจทย์นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคมในระยะยาวต่อไป
กลับมาที่เรื่องหุ้นกู้ว่า ผู้ที่สนใจจะซื้อได้ที่ไหน เมื่อไร?
สำหรับหุ้นกู้ อายุ 7 ปี เสนอขายในวันที่ 20 กรกฎาคม 2563 สำหรับผู้ถือหุ้นกู้เดิมของ ปตท. (8 รุ่น ที่ครบกำหนดไถ่ถอนไปแล้วระหว่างปี 2559 ถึง 2562) โดยกำหนดมูลค่าจองซื้อไม่เกิน 1,000,000 บาท/ราย/ธนาคาร และวันที่ 21-23 กรกฎาคม 2563 สำหรับผู้ลงทุนประชาชนทั่วไป
สำหรับกรีนบอนด์ (หุ้นกู้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม) อายุ 3 ปี เสนอขายระหว่างวันที่ 21 - 23 กรกฎาคม 2563 สำหรับผู้ลงทุนประชาชนทั่วไป โดยกำหนดมูลค่าจองซื้อกรีนบอนด์ไม่เกิน 1,000,000 บาท/ราย/ธนาคาร
หุ้นกู้ ปตท. จัดการจำหน่ายโดยธนาคารชั้นนำ 4 แห่ง ดังนี้
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) โทร. 02-111-1111
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) โทร. 1572
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) โทร. 02-888-8888 ต่อ 819 และ
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) โทร. 02-777-6784
สามารถติดตามรายละเอียดจากหนังสือชี้ชวนการเสนอขายได้ที่ www.sec.or.th หรือสอบถามข้อมูลผ่านธนาคารพาณิชย์ ผู้ร่วมจัดการการจำหน่าย
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「voluntary carbon market」的推薦目錄:
- 關於voluntary carbon market 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於voluntary carbon market 在 媽媽監督核電廠聯盟 Facebook 的精選貼文
- 關於voluntary carbon market 在 媽媽監督核電廠聯盟 Facebook 的最佳解答
- 關於voluntary carbon market 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
- 關於voluntary carbon market 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於voluntary carbon market 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
voluntary carbon market 在 媽媽監督核電廠聯盟 Facebook 的精選貼文
這是美國聯邦環保署官網上對於「綠能 Green Energy」、「再生能源 Renewable Energy」、「傳統能源 Conventional Energy」能源類別的規類認定。
特別是對於環保生態的有益程度來說,美國聯邦環保署很明確的認定綠能優於其他各種能源類別,是對於環保生態最有益的能源類別,其次為再生能源類別,對於環境生態最不友善的類別是傳统能源。傳統能源包括兩大項目,分別是化石燃料能源(即火力發電類別)以及核能。
美國聯邦環保署解釋,核電在整個生命週期的過程中,在起源的採礦、提煉、製造核燃料的過程中,以及核後端處理的漫長過程中(包括核電廠廢爐除役過程、核廢料短中長期各階段的處理、貯放過程)都無可避免的會對環境生態造成負面影響。
What is Green Power? (這是USEPA 美國聯邦環保署官方網站上對於"綠電(Green Power)的符合資格認定的說明與解釋的完整內容)
The U.S. energy supply is composed of a wide variety of energy resources; however, not all energy resources have the same environmental benefits and costs.
Green power is a subset of renewable energy and represents those renewable energy resources and technologies that provide the highest environmental benefit. The U.S. voluntary market defines green power as electricity produced from solar, wind, geothermal, biogas, eligible biomass, and low-impact small hydroelectric sources. Customers often buy green power for its zero emissions profile and carbon footprint reduction benefits.
Renewable energy includes resources that rely on fuel sources that restore themselves over short periods of time and do not diminish. Such fuel sources include the sun, wind, moving water, organic plant and waste material (eligible biomass), and the earth's heat (geothermal). Although the impacts are small, some renewable energy technologies can have an impact on the environment. For example, large hydroelectric resources can have environmental trade-offs on such issues as fisheries and land use.
Conventional power includes the combustion of fossil fuels (coal, natural gas, and oil) and the nuclear fission of uranium. Fossil fuels have environmental costs from mining, drilling, or extraction, and emit greenhouse gases and air pollution during combustion. Although nuclear power generation emits no greenhouse gases during power generation, it does require mining, extraction, and long-term radioactive waste storage.
The following graphic depicts how the U.S. Voluntary market defines green power based on its relative environmental benefits.
原始內容請見美國聯邦環保署官網 :
https://www.epa.gov/greenpower/what-green-power
voluntary carbon market 在 媽媽監督核電廠聯盟 Facebook 的最佳解答
這是美國聯邦環保署官網上對於「綠能 Green Energy」、「再生能源 Renewable Energy」、「傳統能源 Conventional Energy」能源類別的規類認定。
特別是對於環保生態的有益程度來說,美國聯邦環保署很明確的認定綠能優於其他各種能源類別,是對於環保生態最有益的能源類別,其次為再生能源類別,對於環境生態最不友善的類別是傳统能源。傳統能源包括兩大項目,分別是化石燃料能源(即火力發電類別)以及核能。
美國聯邦環保署解釋,核電在整個生命週期的過程中,在起源的採礦、提煉、製造核燃料的過程中,以及核後端處理的漫長過程中(包括核電廠廢爐除役過程、核廢料短中長期各階段的處理、貯放過程)都無可避免的會對環境生態造成負面影響。
What is Green Power? (這是USEPA 美國聯邦環保署官方網站上對於"綠電(Green Power)的符合資格認定的說明與解釋的完整內容)
The U.S. energy supply is composed of a wide variety of energy resources; however, not all energy resources have the same environmental benefits and costs.
Green power is a subset of renewable energy and represents those renewable energy resources and technologies that provide the highest environmental benefit. The U.S. voluntary market defines green power as electricity produced from solar, wind, geothermal, biogas, eligible biomass, and low-impact small hydroelectric sources. Customers often buy green power for its zero emissions profile and carbon footprint reduction benefits.
Renewable energy includes resources that rely on fuel sources that restore themselves over short periods of time and do not diminish. Such fuel sources include the sun, wind, moving water, organic plant and waste material (eligible biomass), and the earth's heat (geothermal). Although the impacts are small, some renewable energy technologies can have an impact on the environment. For example, large hydroelectric resources can have environmental trade-offs on such issues as fisheries and land use.
Conventional power includes the combustion of fossil fuels (coal, natural gas, and oil) and the nuclear fission of uranium. Fossil fuels have environmental costs from mining, drilling, or extraction, and emit greenhouse gases and air pollution during combustion. Although nuclear power generation emits no greenhouse gases during power generation, it does require mining, extraction, and long-term radioactive waste storage.
The following graphic depicts how the U.S. Voluntary market defines green power based on its relative environmental benefits.
原始內容請見美國聯邦環保署官網 :
https://www.epa.gov/greenpower/what-green-power