🌈 การพัฒนาเว็บไซต์ในปัจจุบันก็มี Framework ให้เราได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้เราทำงานได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้น ซึ่งใน Python ก็มี Framework ที่สุดฮิตและมาแรงมาก ๆ ในยุคนี้ นั่นคือ Flask และ Django มาให้ชาวเว็บเดฟแบบเรา ๆ ได้เลือกใช้กัน
.
แล้วทั้งสองมันดียังไง ต่างกันยังไง แล้วเราจะเลือก Framework ตัวไหนให้มันเหมาะกับงานของเราดี ? เก็บคำถามเหล่านี้ไว้ แล้วมาคำตอบไปพร้อมกันกับแอดในโพสต์นี้เลยจ้า !!
.
👉 รู้จัก Flask
.
Flask เป็นไมโครเฟรมเวิร์กที่มีคอร์ขนาดเล็ก น้ำหนักเบา ใช้งานง่าย โครงสร้างไม่ซับซ้อน สำหรับการพัฒนาเว็บแอปพลิชัน ทำให้เราสามารถเริ่มต้นสร้างเว็บได้อย่างรวดเร็ว มี Library หลากหลายสำหรับช่วยในการพัฒนา และยังสามารถใช้พัฒนาไมโครเซอร์วิสและ API ได้อีกด้วย
.
✨ จุดเด่นของ Flask
.
🔸 ใช้งานง่าย
สามารถเริ่มต้นสร้างเว็บได้อย่างรวดเร็ว ไม่ต้องตั้งค่าอะไรให้ยุ่งยาก Coding ได้ง่ายและสั้นกว่า Django และสามารถเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลได้อย่างง่ายดาย
🔸 ยืดหยุ่น
กำหนดค่าได้ง่ายและยืดหยุ่น ไม่ขึ้นกับ Framework ใด ๆ สามารถใช้ได้กับส่วยขยายหรือ Framework ภายนอกเพื่อช่วยในการพัฒนาเว็บได้อย่างอิสระ เช่น เลือกใช้ SQLAlchemy เพื่อเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล
.
🔸 มีแหล่งเรียนรู้เพียบ
เป็น Framework มาแรงและฮิตมาก จึงมีแหล่งเรียนรู้ให้เราได้ศึกษามากมายทั้งใน GitHub และที่อื่น ๆ
.
🔸 ปรับขยายได้ง่าย
Flask สามารถเปลี่ยนได้ในภายหลังเพื่อเพิ่มฟังก์ชันการทำงานและทำให้มันซับซ้อนยิ่งขึ้น จึงทำให้มีความยืดหยุ่นในการขยายแอปพลิเคชันได้อย่างรวดเร็ว
.
👥 Flask เหมาะกับใคร ?
เหมาะสำหรับนักพัฒนาที่ต้องการ Framework ในการพัฒนาเว็บได้อย่างอิสระ ไม่เน้นโครงสร้างเยอะ สามารถติดตั้งส่วนเสริมหรือปลั๊กอินต่าง ๆ เพื่อช่วยในการพัฒนาเว็บได้ตามที่เราต้องการ และหากอนาคตมีการปรับขยายสเกลของเว็บไซต์ก็สามารถทำได้ง่าย
.
บริษัทที่มีชื่อเสียงที่ใช้ Flask ได้แก่ Netflix, Reddit, Lyft, MIT
.
.
รู้จัก Django
.
Django เป็น Framework สำหรับพัฒาเว็บแอปพลิเคชันมีมาตรฐานสำหรับสร้างเว็บที่ปลอดภัยและบำรุงรักษาได้ง่าย แถมยังเป็น Open-source ใช้งานได้ฟรี มีนักพัฒนาใช้งานกันอย่างหลากหลาย ทำให้มี Community ขนาดใหญ่ และ Document ให้เราได้เรียนรู้เพียบ !! ทำให้สามารถสร้างเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบได้อย่างรวดเร็ว
.
✨ จุดเด่นของ Django
.
🔸 ใช้งานได้หลากหลาย
เป็นเฟรมเวิร์กที่ใช้งานได้หลากหลาย สามารถสร้างเว็บที่มีเนื้อหาในรูปแบบใดก็ได้ เช่น HTML, XML, JSON และอื่น ๆ ทำงานควบคู่กับ Client-side Framework ได้อย่างดี
.
🔸 ปลอดภัย
มีมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยจากช่องโหว่ต่าง ๆ เช่น การจัดการบัญชีผู้ใช้, จัดการธุรกรรม, Cross-site Request Forgery, Clickjacking และอื่น ๆ
.
🔸 ปรับขนาดและบำรุงรักษาได้
อินเทอร์เฟซที่สร้างขึ้นส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับการดำเนินการ CRUD และสามารถปรับแต่งได้อย่างอิสระ เป็นเฟรมเวิร์กแบบคอมโพเนนต์ แต่ละเลเยอร์จึงเป็นอิสระจากกันทำให้แอปพลิเคชันสามารถปรับขนาดได้
.
🔸 ใช้งานง่ายและรวดเร็ว
ใช้หลักการออกแบบและทำซ้ำสามารถปรับแต่งโค้ดในโปรเจกต์ของเราได้อย่างรวดเร็ว และมี Interface ที่ใช้งานง่าย มีผู้ใช้งานอย่างหลากหลายทำให้เมื่อติดปัญหาใด ๆ ก็สามารถหาวิธีแก้ได้อย่างรวดเร็ว
.
👥 Django เหมาะกับใคร ?
.
เหมาะสำหรับการสร้างเว็บไซต์ที่ปลอดภัยโดยที่ไม่ต้องใช้เวลาไม่นาน และเหมาะกับโปรเจกต์ใหญ่ ๆ มี Library มากมายที่ช่วยในการพัฒนาเว็บ
.
บริษัทใหญ่ ๆ อย่าง Instagram, Coursera, และ Udemy ต่างก็เลือกใช้ Django ในการพัฒนาเว็บ
.
.
และนี่คือความแตกต่างของเจ้า Flask และ Django หวังว่าจะเลือกใช้กันถูกแล้วเนอะ หากเพื่อน ๆ คนไหนมีอะไรเพิ่มเติม หรืออยากจะแชร์เกี่ยวกับเจ้าสองตัวนี้ สามารถมาคอมเมนต์พูดคุยกันได้เลยน้า ❤️
.
borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
#flask #django #framework #BorntoDev
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過7萬的網紅在地上滾的工程師 Nic,也在其Youtube影片中提到,這也是我第一次參加論壇形式的演講分享,感謝 MOPCON 邀約這次的主題「從開源專案的社會參與到建立第一筆產品收入」並且很榮幸能夠和「好想工作室 Howard」 及 「六角學院 乾太」同台分享 參加工程師技術會議就像是出遠門去充電,認識不同的人,也可以藉由議題分享學習到很多東西,甚至只要能獲得一個...
source coding 在 BorntoDev Facebook 的最佳解答
เคยไหม... เขียนโค้ดแล้วติด Bug แต่ไม่รู้จะแก้ไงดี แล้วก็วนลูปอยู่ตรงนั้นเป็นวัน? 🤔 ไม่ก็รู้สึกว่า เราเขียนโค้ดนานกว่าคนอื่น ทั้ง ๆ ที่เจอโจทย์หรือปัญหาเดียวกัน? 😔
.
👉 ปัญหาพวกนี้จะลดลง ถ้าเรา “ฝึกอ่านโค้ด”
.
เพราะในยุคที่สื่อการสอนออนไลน์เฟื่องฟูแบบนี้ ไม่ว่าใครก็เขียนโค้ดได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีความรู้หรือประสบการณ์มาก่อน แต่ “การอ่านโค้ด” นี่ตรงข้ามกับการเขียนเลย เพราะจะอ่านเข้าใจหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความรู้และประสบการณ์ของคนอ่านเป็นหลัก
.
เอาล่ะ วันนี้ก็เลยจะพาทุกคนไปดู 5 ข้อดีของการอ่านโค้ด ที่ได้อะไรมากกว่าเขียนอย่างเดียว ถ้าพร้อมก็ไปกัน ! 🔥
.
.
📍 1) ออกจากกรอบแนวคิดเดิม ๆ
.
ทุกคนมีความคิดที่ต่างกัน รวมถึงโปรแกรมเมอร์ด้วย ถึงเจอโจทย์เดียวกัน ก็ไม่ได้แปลว่าทุกคนจะเขียนโค้ดออกมาเหมือนกัน ดังนั้น การอ่านโค้ดจึงเป็นวิธีที่ดีมากในการศึกษา ทำความเข้าใจความคิดของโปรแกรมเมอร์คนอื่น รวมถึงได้วิธีเขียนโค้ด/แก้ปัญหาเด็ด ๆ ที่เราอาจคาดไม่ถึง !
.
ยิ่งเราอ่านเยอะแค่ไหน กรอบความคิดเราก็จะยิ่งขยายมากขึ้น นอกจากจะได้แนวคิดใหม่ ๆ ไปปรับใช้กับการเขียนโค้ดแล้ว เราอาจจะคิดอะไรที่เจ๋ง ๆ ออกอีกด้วย แถมพอรู้เทคนิคเยอะ ๆ เราก็จะประหยัดเวลาเขียนโค้ดขึ้นไปอีก ถ้าปัญหานั้นเราเคยอ่านวิธีแก้มา 😂
.
.
📍 2) เราจะเขียนโค้ดได้ Clean มากขึ้น
.
บางคนอาจจะรู้สึกว่า “เขียนโค้ดไม่ดีแล้วไง แค่ใช้ได้ก็พอไหม?” ซึ่งคำตอบของเรื่องนี้ ก็ขึ้นอยู่กับโปรเจกต์ที่เราทำ ถ้าโค้ดชุดนั้นเป็น Prototype ที่ทำขึ้นมาเพื่อให้รู้ว่าโปรเจกต์นั้นจะเป็นประมาณไหน มันก็อาจไม่ได้เป็นไรมากนัก เพราะไม่ได้หยิบโค้ดชุดนี้ไปใช้ใน Product จริง
.
แต่สมมติว่าโค้ดชุดนั้น อยู่ในโปรเจกต์ที่มีคนอื่นทำกับเราด้วย แถมต้อง Maintain ในอนาคตล่ะ? 🤔 การเขียนโค้ดที่ทำความเข้าใจได้ง่าย ๆ ก็ย่อมดีกว่ากับเคสแบบนี้
.
แล้วถ้าเราเป็นคนนึงที่รู้สึกว่า การเขียนโค้ดให้อ่านง่าย ไม่ซับซ้อน ราวกับถูกวางไว้มาเป็นอย่างดีนั้นมันช่างยากซะเหลือเกิน... การอ่านโค้ดเนี่ยแหละ คือจุดเริ่มต้นที่จะทำให้เราเขียนโค้ดอ่านง่ายได้ !
.
การอ่านโค้ดของคนอื่น (ที่เขียนโค้ดได้ดี) จะทำให้เราได้เสพโค้ดที่มีคุณภาพ และถ้าเราอ่านบ่อยจนเป็นนิสัย ก็เหมือนเราได้ศึกษาโค้ดคุณภาพแบบซ้ำ ๆ จนถึงจุดที่เราอ่านมากพอประมาณนึง ถ้าเจอโค้ดที่รันไม่ผ่าน เราก็จะรู้ว่าทำไมโค้ดนั้นรันไม่ผ่าน กลับกันถ้าเจอโค้ดที่รันผ่าน เราก็จะเข้าใจเหมือนกันว่าทำไมโค้ดนี้จึงรันผ่าน 👏
.
สรุปแล้ว การอ่านโค้ดจะทำให้เราเข้าใจว่า เราควรทำยังไงกับโค้ดตัวเอง ถ้าอยากให้โค้ดนั้นมัน Clean และมีคุณภาพนั่นเอง
.
.
📍 3) เพิ่มสกิล Analytical Intelligence
.
“Analytical Intelligence” หรือแปลไทยตรง ๆ ว่า ความฉลาดด้านการวิเคราะห์ 😎 คือความสามารถในการวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ รอบตัว โดยโฟกัสที่การย่อยข้อมูลเหล่านั้น เช่น ถ้าเจอปัญหา ทักษะนี้จะช่วยหาจุดเริ่มต้น ขุดไปจนถึงสาเหตุของปัญหา แล้วคิดวิธีแก้ พร้อมประเมินผลที่คาดหวังจะได้รับ เพื่อหาความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหานี้
.
และนี่เป็นสิ่งที่โปรแกรมเมอร์ควรจะมี และจำเป็นยิ่งขึ้น ถ้างานที่ทำมีความซับซ้อน ซึ่งหนึ่งในวิธีที่ช่วยเพิ่มทักษะนี้ได้ ก็คือ “การอ่านโค้ด” นั่นเอง เพราะตอนที่เราต้องอ่านและพยายามทำความเข้าใจโค้ดตรงหน้า คือช่วงเวลาแห่งการฝึกใช้ Analytical Intelligence กว่าจะเข้าใจโค้ดเขา ก็ต้องวิเคราะห์ทั้งปัญหาที่เขาจะแก้ ตามด้วยการวิเคราะห์โค้ดที่เขาใช้ แล้วไปเทียบกับผลลัพธ์ตอนรันได้อีก โอ้โห นี่แหละ ! เวลาทองแห่งการอัปความฉลาด !! 📈
.
.
📍 4) ฝึกสกิล Debug ไปในตัว
.
ชาว BorntoDev เคยเจอ Error หรือ Bug ตอนเขียนโปรแกรมกันไหม? …เชื่อแหละว่าต้องเคยกันสักครั้ง แล้วเพื่อน ๆ คิดว่าคนที่โปรแกรมเมอร์ที่แก้ Error หรือ Bug กันเก่ง ๆ เขามีอะไรที่คนอื่นไม่มี? 🤔
คำตอบก็คือ ทักษะการ Debug นั่นเอง (ก็ใช่สิแอด จะแก้ Bug ก็ต้องมีทักษะแก้ Bug ไม่ใช่เหรอ !)
.
ทุกคนอย่าเพิ่งเลื่อนโพสต์หนีแอด ;-; ! ที่แอดบอกมันฟังดูเบสิกใช่ไหม? แต่ความจริงทักษะการ Debug เป็นทักษะที่ต้องใช้ประสบการณ์เยอะ แถมยังต้องฝึกเป็นประจำอีกต่างหาก ซึ่ง “การอ่านโค้ด” ช่วยเราได้อีกแล้ว
.
Debugging ทักษะนี้สร้างได้ด้วยมือเรา 🙌 เพราะประสบการณ์ไม่ได้มาจากในห้องเรียนหรือการทำโปรเจกต์จริงเท่านั้น แต่เราสามารถอ่านโค้ดของคนอื่น แล้วสวมบทเป็นนัก Debug 🧑💻 เพื่อลองปรับและแก้ Error ของโค้ดนั้นได้ ในทางกลับกัน ถ้าไปเจอโค้ดที่คนเขียน Debug เก่งมาก เราก็สามารถใช้การอ่านเพื่อศึกษาแนวคิดของเขาได้เช่นกัน
.
.
📍 5) อ่าน Source Code เร็วขึ้น
.
การอ่าน Source Code ได้ไว เป็นสิ่งที่โปรแกรมเมอร์ควรจะมี และยิ่งอ่านได้ไวแค่ไหน ก็ยิ่งเข้าใจโปรเจกต์ที่ต้องรับผิดชอบไวมากขึ้น ถ้าเพื่อน ๆ รู้สึกว่าตัวเองยังอ่าน Source Code ไม่เร็ว หรืออยากพัฒนาสกิลนี้ ก็ต้องฝึกอ่านโค้ดให้เป็นนิสัย เพราะโปรแกรมเมอร์ที่มีประสบการณ์จะอ่านโค้ดได้เร็วขึ้นนั่นเอง~ และทักษะนี้จะเป็นประโยชน์กับชีวิตโปรแกรมเมอร์ของคุณแน่นอน 😊
.
.
👉 แอดอยากบอกทุกคนว่า อย่ากลัวที่ต้องเริ่มฝึกอ่านโค้ด แอดรู้ว่ามันยากและต้องใช้เวลา แต่ถ้าเราอยากให้เรื่องไหนง่ายขึ้น เราก็ฝึกฝน ทำมันบ่อย ๆ จนเข้าใจใช่ไหมล่ะ? เพราะมืออาชีพคือคนที่รอบรู้ในอาชีพนั้นทั้งมุมที่สำเร็จและผิดพลาด แล้วเพื่อน ๆ จะกลายเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพในอนาคตได้แน่นอน แอดจะเป็นกำลังใจให้ตรงนี้นะคะ
.
🔖 ขอบคุณข้อมูลจาก
https://betterprogramming.pub/6-reasons-why-reading-code-is-more-important-than-writing-21e7b0b62203
.
borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
#การเขียนโปรแกรม #การเขียนโค้ด #Coding #BorntoDev
source coding 在 BorntoDev Facebook 的精選貼文
💡 Programmer, Coder, และ Developer 3 คำนี้ที่ผู้คนมักเรียกสลับกัน หรือเรียกรวมกัน แล้วรู้หรือไม่ว่า...ทั้ง 3 คำนี้มันต่างกันยังไง ?
.
วันนี้เรามาไขข้อสงสัยกันเถอะ! กับคำจัดกัดความของทั้ง 3 คำนี้ จะได้เห็นชัด ๆ กันไปเลยว่ามันต่างกันยังไง...และถ้าพร้อมแล้ว ไปอ่านกันโลดดดด !!
.
🌟 Coder
คือใครก็ได้ที่เขียนโค้ดในภาษาต่าง ๆ เช่น Python, Java, C#, JavaScript, C/C++ เป็นต้น ได้นั่นเอง ซึ่งอาจจะเป็นมือใหม่หรือเพิ่งเริ่มต้นทางสายนี้ และไม่ได้มีความรู้เรื่องอัลกอริทึมหรือตรรกะในการเขียนโปรแกรมมากนัก
.
🌟 Programmer
เป็นการเขียนโปรแกรม ที่คิดเป็นตรรกะ และเหตุผล โดยใช้อัลกอริทึมต่าง ๆ มาสร้างสรรค์โปรแกรมมากขึ้น ซึ่งต้องทำให้คอมพิวเตอร์รู้ว่าต้องทำอะไรในสถานการณ์ต่าง ๆ และสามารถเขียนโปรแกรมให้ทำงานบนระบบที่หลากหลายมากขึ้นนั่นเอง
.
🌟 Developer
เป็นคนเขียนโค้ดที่มีประสบการณ์และมีหน้าที่รับผิดชอบมากกว่า มีความเชี่ยวชาญในภาษาโปรแกรมมิ่งอย่างน้อย 2-3 ภาษานั่นเอง เขียนโค้ดโดยใช้ความรู้ อัลกอริทึม และกระบวนการต่าง ๆ ในการสร้างโปรแกรมที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ในบางครั้งอาจจะต้องดูแลและรับผิดชอบโปรเจกต์ตั้งแต่เริ่มจนจบนั่นเอง
.
แล้วเพื่อน ๆ ล่ะ เป็นสายไหนกันบ้างงง ? คอมเมนต์บอกกันหน่อยเร็ววว 🔥
.
💥 Source : https://www.freecodecamp.org/news/programming-coding-developement-whats-the-difference/
.
borntoDev - 🦖 สร้างการเรียนรู้ที่ดีสำหรับสายไอทีในทุกวัน
source coding 在 在地上滾的工程師 Nic Youtube 的最讚貼文
這也是我第一次參加論壇形式的演講分享,感謝 MOPCON 邀約這次的主題「從開源專案的社會參與到建立第一筆產品收入」並且很榮幸能夠和「好想工作室 Howard」 及 「六角學院 乾太」同台分享
參加工程師技術會議就像是出遠門去充電,認識不同的人,也可以藉由議題分享學習到很多東西,甚至只要能獲得一個靈感,絕對都是成長上的養分
拍攝這支影片的目的,除了記錄自己的回憶,也希望和每一位工程師分享,希望大家未來都可以踴躍參加技術會議!!
在這個過程,透過交流可以增進自己的人脈和知識,甚至好的工作有時候就會這樣互相介紹掉了 XD
SITCON 學生計算機年會: https://www.facebook.com/SITCONtw
章節:
00:00 直奔濁水溪以南
01:29 Day1 攤位交流
03:13 直接報名起來
03:57 Day2 吃喝交流
04:17 SITCON 學生計算機年會
04:49 論壇精華片段
08:54 全集中風之呼吸
09:34 Lightning Talk
12:18 散場的擁抱
喜歡影片的話!可以幫忙點個喜歡以及分享、訂閱唷!😘
━━━━━━━━━━━━━━━━
⭐ 蝦皮賣場: https://shopee.tw/bboyceo
⭐ instagram (生活日常): https://www.instagram.com/niclin_tw/
⭐ Facebook (資訊分享): https://www.facebook.com/niclin.dev
⭐ Blog (技術筆記): https://blog.niclin.tw
⭐ Linkedin (個人履歷): https://www.linkedin.com/in/nic-lin
⭐ Github: https://github.com/niclin
⭐ Podcast: https://anchor.fm/niclin
━━━━━━━━━━━━━━━━
🌟 任何問題或合作邀約信箱: niclin0226@gmail.com
#mopcon #前端 #後端 #lightningtalk #conference
source coding 在 serpentza Youtube 的最佳貼文
You'll see young women coding, soldering and selling all sorts of technology in the tech markets of Mainland China, this is very different to the traditionally male dominated tech industry in the west. That isn't to say that women are not in the minority here, but they're a big part of the technology game, especially in China's silicon valley of hardware, Shenzhen. I meet up and speak to the most famous female Maker and Coder Naomi "SexyCyborg" Wu and we go for an adventure around China's biggest technology market. Come and join us to find out how women are holding up half the sky in the Chinese technology sector.
Naomi's channel: https://www.youtube.com/channel/UCh_ugKacslKhsGGdXP0cRRA
Naomi's twitter:
@RealSexyCyborg
Max's contact details:
Email: [email protected]
Mobile: +8615889674711
QQ: 2853753197
M.J's contact details:
Email: [email protected]
Mobile: +8613713895188
QQ: 1661331991
C-milk's Hooters video: https://www.youtube.com/watch?v=dQ4mSVB2CCU
Naomi Wu (a pseudonym) is a Cantonese DIY maker who lives and works in Shenzhen, China; she is notable for her strong advocacy of women in STEM, transhumanism, open source, and body modifications, variously challenging both gender and tech stereotypes with her flamboyant public persona. She first came to public prominence on Reddit, where she has mostly male followers, and she maintains active Reddit and Twitter accounts under the noms de plume of SexyCyborg and RealSexyCyborg, respectively, as an internet personality. Professionally she is a web developer, coding in Ruby on Rails and JavaScript under a masculine pseudonym for overseas clients both for safety's sake and to preclude gender discrimination; she also reviews electronics. She regards "Chinese gadgets" as good as or better than foreign, and on International Women's Day 2017 she was listed as one of the 43 most influential women in 3D printing, a male-dominated field, by 3D Printer & 3D Printing News.
⚫ Watch Conquering Southern China (my documentary) and see China like no one outside of China has ever seen it before: https://vimeo.com/ondemand/conqueringsouthernchina
⚫ Support me on Patreon: http://www.patreon.com/serpentza
Join me on Facebook: http://www.facebook.com/winstoninchina
Twitter: @serpentza
Instagram: serpent_za
My other channel: https://www.youtube.com/c/advchina
Music used: Virtual Vice - Sanctuary Runner
Artist's bandcamp: https://new-world.bandcamp.com/album/off-duty
source coding 在 source coding - 信息源編碼 - 國家教育研究院雙語詞彙 的相關結果
信息源編碼 · source coding · 名詞解釋: 為了有效率地運用通道頻寬,而加諸於信息源產生之信息的編碼方法,其目的在使信息之位元率降低,而達到資料壓編之效果。 · 信息源 ... ... <看更多>
source coding 在 Source Coding Techniques 的相關結果
Source Coding Techniques. 1. Huffman Code. With the Huffman code in the binary case the two least probable source output symbols are joined together,. ... <看更多>
source coding 在 原始碼- 維基百科,自由的百科全書 的相關結果
「源代碼」重新導向至此。關於電影,請見「源代碼(電影)」。 ... 原始碼(英語:Source code),是指一系列人類可讀的電腦語言指令。 在現代程式語言中,原始碼可以是以書籍 ... ... <看更多>