การทำธุรกิจบนโลกอาจไม่ใช่น่าสนใจอีกต่อไป เพราะในปี 2021 นี้ นักธุรกิจแนวหน้าระดับโลกไม่ว่าจะเป็น Jeff Bezos, Elon Musk, Sir Richard Branson ที่เริ่มจะแย่งชิงพื้นที่ทำธุรกิจอวกาศกันอย่างจริงจัง ด้วยเป้าหมายเดียวกันคือการพามนุษย์โลกไปยังอวกาศให้ได้ รวมถึง Mark Zuckerberg, Larry Page, Marc Benioff ที่ได้เข้าลงทุนในบริษัทหรือโครงการเกี่ยวกับอวกาศเช่นกัน
.
หลังจากที่ Jeff Bezos นักธุรกิจผู้เริ่มต้นจากการไม่มีอะไรจนสามารถสร้างธุรกิจมูลค่าหลายล้านล้านดอลลาร์ ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่ง CEO บริษัท Amazon ธุรกิจอีคอมเมิร์ซยักษ์ใหญ่ เพราะต้องการจะไปทุ่มเทให้กับธุรกิจอื่นที่นอกเหนือจากธุรกิจบนโลก นั่นก็คือธุรกิจอวกาศ Blue Origin ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่โปรเจ็คที่ Jeff Bezos ทุ่มเทให้อย่างมาก โดยมีความเชื่อที่ว่าการไปยังอวกาศของมนุษย์ในราคาประหยัดนั้นอยู่ไม่ไกล Jeff Bezos ให้สัมภาษณ์ว่า “ผมไม่เคยเต็มเปี่ยมไปด้วยพลังแบบนี้มาก่อน และนี่ไม่ใช่การเกษียณ แต่ผมกลับมีแพสชั่นมากยิ่งขึ้นกับสิ่งที่ทำว่าจะสามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับโลกได้อย่างไรบ้าง”
.
ในขณะเดียวทั้งด้านฝากฝั่งของ Elon Musk ผู้โค่นตำแหน่งบุคคลที่รวยที่สุดในโลกอย่าง Jeff Bezos ลงได้ เจ้าของบริษัทรถยนต์ไฟฟ้า Tesla และบริษัท SpaceX โดยที่ถึงแม้การทดสอบเที่ยวบินครั้งล่าสุดอาจจะจบลงด้วยอุบัติเหตุแต่ก็ต้องยอมรับว่าเทคโนโลยีของเขานั้นนำหน้า Blue Origin อยู่มาก เพราะเขาสามารถนำเอาจรวด Falcon 9 กลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้งแบบที่คนอื่นยังไม่สามารถทำได้ โดย Elon Musk มีเป้าหมายที่จะบินไปดาวอังคารให้ได้ภายในปี 2567
.
และสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวอวกาศที่ขาดไม่ได้เลยก็คือ Virgin Galactic ของ Sir Richard Branson บริษัทที่กำเนินการธุรกิจด้านการท่องเที่ยวอวกาศเต็มรูปแบบ ถึงแม้ว่าการขึ้นไปยังอวกาศครั้งแรกในปี 2552 จะเกิดข้อผิดพลาดแต่บริษัทก็มีเป้าหมายที่จะทำให้มนุษย์โลกได้เดินทางไปเที่ยวอวกาศในช่วงพักร้อนได้สักวันนึง เช่นเดียวกันกับ Mark Zuckerberg เจ้าของ Facebook ที่ถึงแม้จะยังมีความสับสนลังเลเกี่ยวกับการท่องเที่ยวอวกาศอยู่บ้าน แต่เขาก็กลับลงทุนในโครงการ Breakthrough Starshot ซึ่งเป็นโครงการที่ส่งยานอวกาศไปสำรวจเพื่อค้นหาสิ่งมีชีวิตนอกโลก
.
และ Marc Benioff ผู้ก่อตั้ง Salesforce เป็นผู้สนับสนุน Astra ซึ่งเป็น บริษัทสตาร์ทอัพจรวด โดยที่สามารถระดมทุนได้มากถึง 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จากการควบควมกับบริษัทเพื่อดำเนินเรื่องนี้อย่างเต็มที่ รวมไปถึง Larry Page ผู้ร่วมก่อตั้ง Google ที่ก็สนใจเรื่องนี้เช่นกันโดยเขาได้ร่วมลงทุนใน Planetary Resources บริษัทที่มีเป้าหมายในการสร้างเหมืองแร่ที่ดาวเคราะห์ต่างๆ นอกโลก
.
การพามนุษย์ไปยังดวงจันทร์และดาวดวงอื่นที่ไกลออกไป เป็นจุดมุ่งหมายเดียวกันของทั้ง Jeff Bezos และ Elon Musk ซึ่งนั่นสามารถลบล้างคำสบประมาทต่อ Elon Musk ที่เคยบอกว่าเขานั้นเชื่อว่าทรัพยากรต่างๆ บนดาวอังคารนั้นจะสามารถช่วยเหลือมนุษยชาติได้ แต่กลับโดนกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักว่าให้พอใจกับสิ่งที่โลกมีให้ก็พอแล้ว ในเวลานี้หลายคนที่เคยไม่เชื่อก็คงต้องค่อยๆ เปิดใจขึ้นมาบ้างแล้วเพราะเขาสามารถทำให้ภาพในหัวของเขาเห็นชัดมากขึ้นต่อสาธารณชน และในตอนนี้บริษัทของทั้งคู่ ทั้ง SpaceX และ Blue Origin กำลังวางแผนเกี่ยวกับการลงจอดบนดวงจันทร์ภายใต้สัญญาร่วมกับ NASA
.
จากเดิมที่ทุกคนมุ่งสนในไปที่อุตสาหกรรมเทคโนโลยี แต่ในตอนนี้เหล่านักธุรกิจ มหาเศรษฐีระดับโลกนั้นกำลังจะทำให้โลกธุรกิจเปลี่ยนไปด้วยการเริ่มต้นทำธุรกิจท่องเที่ยวอวกาศรวมไปถึงการผลิตเกี่ยวกับอุตสาหกรรมนี้อย่างจริงจัง ซึ่งในตอนนี้ต่างประเทศก็เริ่มมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมอวกาศมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสหรัฐอเมริกา ที่รัฐบาลก็เข้ามามีส่วนร่วมด้วย อย่างในภารกิจการนำนักอวกาศหญิงคนแรกเดินทางไปยังดวงจันทร์ภายในปี 2567 (ตั้งแต่สมัยของโดนัลด์ ทรัมป์และส่งไม้ต่อให้ โจ ไบเดน)
.
อย่างไรก็ตามก็ต้องยอมรับกันว่าธุรกิจนี้ยังมีความเสี่ยงอยู่มาก สำหรับกรณีอุบัติเหตุของ SpaceX รวมถึงบริษัทอื่นๆ แสดงให้เห็นว่าเส้นทางการไปยังอวกาศนั้นเป็นอะไรที่ไม่สามารถคาดเดาได้และก็เป็นอันตราอีกด้วย แต่ถึงอย่างนั้นมันก็คือราคาที่ต้องจ่าย เพื่อเรียนรู้ แก้ไขปัญหา และสามารถที่จะผลักดันขีดจำกัดของเทคโนโลยีและความสามารถของมนุษยชาติ
.
มีการคาดการณ์ว่าอุตสาหกรรมอวกาศจะสามารถเติบโตได้ถึง ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในทศวรรษหน้า นี่ถือจุดเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุงเทคโนโลยีและการรวมทุนเข้าด้วยกันจะทำให้ธุรกิจการท่องเที่ยวและการผลิตเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอวกาศนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงนักลงทุนกระเป๋าหนักนั้นก็มีบทบาทคล้ายกับนักลงทุนรุ่นก่อนๆ ที่จะเข้ามาช่วยทำให้อุตสาหกรรมอวกาศนี้เติบโตได้ในระดับโลก เอ๊ะ หรือต้องเรียกว่าเติบโตระดับจักรวาลกันแน่นะ...
.
สุดท้ายนี้การไปยังอวกาศนั้นอาจไม่เชื่อเรื่องไกลตัวอีกต่อไป จากอะไรที่ไม่เคยคิดว่าจะเกิดขึ้นได้ก็สามารถเกิดขึ้นจริงได้แล้ว ในโลกของธุรกิจนั้นทุกสิ่งทุกอย่างย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ ขอแค่ต้องผ่านการวางแผนมาแล้วอย่างดีรวมถึงต้องมีการปรับตัวเพื่อรับความเปลี่ยน และพัฒนาอยู่ตลอดเวลาให้ทันยุคสมัยพร้อมฟังผลตอบรับจากผู้บริโภคเพื่อให้กิจการสามารถเติบโตได้อย่างต่อเนื่องนั่นเอง
.
ที่มา : https://www.theguardian.com/business/2021/feb/06/us-billionaires-vie-to-make-space-the-next-business-frontier
.
#อายุน้อยร้อยล้าน #ryounoi100lan
#อายุน้อยร้อยล้านNEWS
#JeffBezos #ElonMusk #SirRichardBranson #MarkZuckerberg #MarcBenioff #LarryPage #BlueOrigin #SpaceX #VirginGalacti #Google #เที่ยวอวกาศ #ธุรกิจอวกาศ #business
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「marcbenioff」的推薦目錄:
- 關於marcbenioff 在 อายุน้อยร้อยล้าน Facebook 的最佳貼文
- 關於marcbenioff 在 讀書e誌 Facebook 的最讚貼文
- 關於marcbenioff 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於marcbenioff 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於marcbenioff 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
- 關於marcbenioff 在 Salesforce CEO Marc Benioff Responds to ... - YouTube 的評價
- 關於marcbenioff 在 Billionaire Marc Benioff hits 'hyperspace button' - YouTube 的評價
- 關於marcbenioff 在 #marcbenioff - YouTube 的評價
- 關於marcbenioff 在 Salesforce - Pinterest 的評價
marcbenioff 在 讀書e誌 Facebook 的最讚貼文
The power of an open mind and a blank sheet of paper (一個開放的心胸與一張空白紙的力量) -- Marc Benioff, Salesforce創辦人
全球最大CRM (客戶關係管理系統)Salesforce 創辦人Marc Benioff 自傳以及管理哲學 (話說,一直找不到他們公司的中文名字,應該要翻譯成“業力”嗎?😂),我選這本書是因為一般B2B 公司能成功打響品牌,比起消費性產品,有一定的難度,希望從這個全球成長最快的企業型軟體公司借鏡。
整本書的雙關語在於他的副標題 "The power of business as the greatest platform for change" (企業的力量是改變世界最好的平台),巧妙的雙關語,帶到 Salesforce的平台商務模式,也說出他認為現代的企業不該只是創造就業機會以及為投資人賺錢,而是有責任為社會公義發聲。
裡面有稍微講到他成長的故事,以及創業的契機與初衷。身為創辦人的故事免不了要分享一些特殊(辛苦)或是失敗的經歷。整體來說我覺得他提到的所謂失敗經歷,描述起來好像沒有講到真的太血淚感。但其中一個經歷我倒覺得他還蠻誠懇的分享,就是在2016年有一陣子美國社會中的 Black Lives Matter 運動中(BLM, 黑人的命也是命),他在推特上表示支持。但沒有多久她和推特的執行長都被踢爆,自己的公司所僱用的員工不到2 %是黑人,被說是一種虛偽和矯情。老實說因著網路文化,這類事情越來越常發生,但至少他願意承認自己不自覺的偽善,並且如何道歉和檢討自己公司是否言行一致,還是很值得佩服的。
另外他分享一個在多年打拼後,發現不得不休息時,才認真思考到底自己在乎的是什麼,並且用什麼方式來檢視?在一個完全刻意 “歸零” 的機會,他發現自己心胸頓時開闊,思緒更加清晰,然後開始在一張白紙上面寫下想法。這後來成為他檢視自己的方式 “V2MOM” ,也推廣在公司裡。雖然聽起來是老生常談,可是我還滿常做類似的思考,也很愛白紙一張開始寫字,真的會讓自己想清楚自己到底在乎什麼?有時忙碌或是焦慮,需要的是在安靜中重新對焦。Pick your battles 很重要啊!
Vision- What do you want
願景 -- 你心中所要的是什麼
Values - what's important to you
價值 --哪些事情對你是重要的
Methods - how do you get it
方法聊如何達成你的目的
Obstacles -what is preventing you from being successful
障礙是什麼阻礙了你達成目的
Measures -how do you know you have it
衡量--你要如何知道你做到了?
我一直都認為,所謂”企業存在最重要是極大化投資人利益“,是一個有點可怕的偏執,也有點可惜,因為它的力量還能產生許多不同的正面價值。現在有許多的討論,包括企業社會責任的評量,社會企業永續經營的可能,以及企業對社會議題的態度,這在美國一些大公司當中更加的明顯。從某個角度來說,就算不想發聲,企業需要針對議題表態的壓力會越來越大,如果不想流於表面和偽善,還真的會蠻需要智慧的。這本書講到的團隊文化,不見得是什麼新的概念,但講到企業的社會責任和推動社會改革,的確是發人深省的。
剛剛發現中文版9月30號出版喔!
“開拓者”企業的力量是改變世界最好的平台”
全文與中文版鏈結在部落格中
https://dushuyizhi.net/trailblazer-開拓者/
#trailblazer #marcbenioff #salesforce #開拓者
marcbenioff 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
marcbenioff 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
marcbenioff 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
marcbenioff 在 Billionaire Marc Benioff hits 'hyperspace button' - YouTube 的美食出口停車場
Salesforce # MarcBenioff #youtube #yahoofinance Salesforce (CRM) shares jumped Thursday after the company delivered better than expected Q4 ... ... <看更多>
marcbenioff 在 #marcbenioff - YouTube 的美食出口停車場
Salesforce CEO Marc Benioff discusses how the pandemic has changed 'fundamentally' changed work · Marc Benioff: Co-Founder of $142 Billing Cloud Computing ... ... <看更多>
marcbenioff 在 Salesforce CEO Marc Benioff Responds to ... - YouTube 的美食出口停車場
Salesforce # marcbenioff #youtube #yahoofinance In an interview with Yahoo Finance's Executive Editor Brian Sozzi, Salesforce Co-Founder, ... ... <看更多>