ภาษา เป็นตัวกำหนดความคิด ของคนประเทศนั้น /โดย ลงทุนแมน
หลายศตวรรษที่ผ่านมา หลายคนมักคิดว่าภาษาเป็นเพียงแค่การใช้คำศัพท์
หรือการเรียงประโยคที่ไม่เหมือนกันเท่านั้น
แต่รู้หรือไม่ว่า จริง ๆ แล้ว กรอบความคิดและทักษะส่วนหนึ่งของเราเอง
อาจจะถูกครอบงำจากภาษา โดยที่เราก็ไม่ทันรู้ตัว
ทำไม คนจีนถึงมีความชำนาญด้านตัวเลข
ทำไม คนอังกฤษกับสเปนอาจมีมุมมองต่อเรื่องเดียวกัน ไม่เหมือนกัน
รวมถึงว่าทำไม ประเทศไทยถึงมีการปลูกฝังเรื่องความอาวุโสตั้งแต่ยังเล็ก
ทุกอย่างนี้สามารถอธิบายได้ โดยสิ่งที่เรียกว่า “ภาษา”
แล้วภาษา มีอิทธิพลต่อเราขนาดไหน ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
บนโลกนี้มีภาษาที่ใช้สื่อสารถึงกว่า 7,000 ภาษาด้วยกัน
ซึ่งแต่ละภาษามีความแตกต่างในหลายแง่มุม
ทั้งจากการออกเสียง คำศัพท์ และโครงสร้างที่ไม่เหมือนกัน
นอกจากนี้ สังเกตได้ว่าคนในแต่ละประเทศ
มีทั้งวัฒนธรรมและความคิดแตกต่างกันไป
นั่นจึงเป็นที่มาให้บรรดานักภาษาศาสตร์ศึกษาว่า
ภาษานั้นส่งผลต่อความคิดและการกระทำหรือไม่
เหล่าผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์
จึงได้ทำการวิจัยและทดลองคนแต่ละประเทศ
แล้วพบว่าภาษาไม่ได้เพียงแค่ส่งผลต่อความคิดและทักษะเท่านั้น
แต่มันอาจจะเป็น “ตัวกำหนดความคิดของเรา” เลยด้วยซ้ำ
จึงเกิดเป็นทฤษฎี Linguistic Relativity หรือ ทฤษฎีสัมพันธภาพทางภาษา
ถูกคิดโดยเอ็ดเวิร์ด ซาเพียร์ และเบนจามิน วอร์ฟ
ซึ่งแบ่งย่อยได้อีก 2 แนวคิดคือ
1. Linguistic Determinism ภาษาเป็นตัวกำหนดความคิดของเรา
2. Linguistic Relativity คนที่ใช้ภาษาต่างกัน จะมีมุมมองและวิธีคิดที่ไม่เหมือนกัน
แล้วทฤษฎีนี้ มีเหตุผลสนับสนุนอะไรบ้าง ?
เรามาดูตัวอย่างงานวิจัยและทดลองที่ผ่านมา
เบนจามิน วอร์ฟ ได้ยกตัวอย่างโดยการเทียบ
ระหว่างภาษายุโรปกับภาษาอเมริกันอินเดียนหรือ Hopi
ทั้งนี้ เพื่อให้เห็นภาพว่า ภาษาที่มีไวยากรณ์ที่แตกต่างกันนั้นส่งผลต่อความคิดของเรา
โดยภาษายุโรป จะมองว่าเวลานั้นมีตัวตนเหมือนสิ่งของทั่วไป
สามารถนับเป็นหน่วยได้ เช่นเดียวกับสิ่งของที่นับเป็นชิ้น
แต่เวลาจะนับเป็นหน่วยวินาทีหรือชั่วโมงแทน
ซึ่งการมองว่าเวลาเป็นสิ่งที่มีตัวตนนี้เอง ส่งผลให้เกิดสิ่งที่ตามมา
เช่น การให้ความสำคัญกับเวลา ซึ่งนำมาสู่สิ่งประดิษฐ์อย่าง ปฏิทินและนาฬิกา
หรือกระทั่งความสนใจในอดีต อย่างการบันทึกเหตุการณ์ประวัติศาสตร์
หรือแม้กระทั่งหลักไวยากรณ์ในหลายภาษา เช่น ภาษาอังกฤษก็จะมีรูปประโยคที่แสดงถึง อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ในขณะที่ Hopi เองนั้นมองเวลาเป็นเพียงแค่สิ่งที่ไม่มีตัวตน เป็นเพียงแค่สิ่งที่วนเวียนเหมือนเดิม
จึงไม่แปลกที่จะไม่มีการจดบันทึกเหตุการณ์ด้วยภาษา Hopi และก็สะท้อนมายังสังคมของชาว Hopi ที่ให้ความสำคัญกับการกระทำปัจจุบันให้ดีที่สุด
ตรงนี้แสดงให้เห็นว่า แม้จะพูดถึงสิ่งเดียวกัน
แต่ความคิดและมุมมองจะแตกต่างกันไปตามแต่ละภาษา
นอกจากความคิดแล้ว
ภาษายังส่งผลต่อทักษะอีกด้วย
สะท้อนมาจากงานวิจัยของเลรา โบโรดิตสกี
ศาสตราจารย์ด้านภาษาศาสตร์
ที่ได้ไปเจอกับชุมชนชาวอะบอริจินในออสเตรเลีย
ซึ่งผู้คนในชุมชนนี้ไม่รู้จักคำว่าซ้ายหรือขวาเลย
แต่จะบอกทิศทางโดยการใช้ศัพท์ตามเข็มทิศ
ตัวอย่างรูปประโยคแปลเป็นภาษาไทย
เช่น “มีมดเกาะอยู่บนขาข้างตะวันตกเฉียงใต้”
นอกจากนี้ พวกเขามักจะทักทายด้วยคำว่าสวัสดี
แล้วต่อด้วยการถามเส้นทางของคู่สนทนา
เช่น “สวัสดี คุณกำลังไปทางไหน”
ซึ่งจากการใช้ภาษาแบบนี้ ทำให้ชาวอะบอริจินมีความเชี่ยวชาญในการระบุทิศทางได้ดี
นี่ถือเป็นตัวอย่างแรกที่ชี้ให้เห็นว่าภาษาส่งผลต่อทักษะเช่นกัน
ตัวอย่างถัดไปก็คือ การแยกเฉดสีของชาวรัสเซีย
ปกติแล้ว ผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษมักจะเรียกสีฟ้าเข้มและอ่อนว่า Blue ทั้งหมด
แต่ชาวรัสเซียกลับต้องจำแนกเฉดสี
ระหว่างสีฟ้าอ่อน ที่เรียกว่า “โกลูบอย” กับสีฟ้าเข้ม ที่เรียกว่า “ซีนีย์”
นั่นจึงทำให้พวกเขามีความสามารถในการแยกแยะสีได้เร็วกว่าชาติอื่น
และตัวอย่างสุดท้ายคือ ทักษะด้านตัวเลขของชาวจีน
ชาวจีนเก่งการนับเลขมากกว่าผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษ
นั่นก็เพราะว่าตัวเลขมีการสื่อสารที่เรียบง่าย
ในขณะที่เลข 11 ภาษาอังกฤษ คือ Eleven
หรือ 12 คือ Twelve ซึ่งจะเป็นการสร้างคำพูดใหม่ขึ้นมา
แต่สำหรับเลขจีน กลับเป็นคำพูดที่เรียบง่าย เช่น เลข 11 หรือ 十一
อ่านว่า สืออี ซึ่งเป็นการนำคำศัพท์เลข 10 กับเลข 1 มาผสมกัน เท่านั้น
ทีนี้ เรามาดูอีกผลวิจัยที่พิสูจน์ว่าแต่ละภาษาส่งผลต่อการเล่าเรื่องที่แตกต่างกันด้วย
ซึ่งเป็นการทดลองโดยการฉายภาพเหตุการณ์หนึ่งขึ้นมา
ในรูปแบบคลิปวิดีโอเกี่ยวกับแจกันแตก
เพราะมีคนบังเอิญเดินมาชนอย่างไม่ตั้งใจ
และมีผู้เข้าร่วมทดสอบ 2 ประเภท คือผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษ และผู้ที่ใช้ภาษาสเปน
ผลทดลองพบว่า สิ่งที่คนอังกฤษสรุปออกมาได้ก็คือ แจกันแตกเพราะมีคนชนมันตกลง
ในขณะที่คนสเปนจะจดจำได้เพียงแค่ว่า มีแจกันแตกเท่านั้น
หลายคนอาจสงสัยว่า ทำไมคนสเปนถึงจำได้แค่นั้น
นั่นก็เพราะว่าภาษาสเปนจะคำนึงถึงเจตนาด้วย
หากเป็นอุบัติเหตุ ชาวสเปนจะตัดเรื่องราวส่วนผู้กระทำออกไป
โดยไม่ให้ความสำคัญกับส่วนนั้นและมองว่าไม่มีความจำเป็นที่ต้องจดจำ
ซึ่งเรื่องนี้มีความสำคัญอย่างมาก เพราะมันสะท้อนให้เห็นว่า
แม้เราจะเผชิญเหตุการณ์เดียวกัน แต่เรากลับมีมุมมองที่แตกต่างกันออกไป
ซึ่งมันก็จะนำไปสู่วิธีคิดและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ต่างกัน
เรื่องดังกล่าวยังส่งผลกระทบไปถึงการพิพากษาคดี หรือแม้แต่การตัดสินใจร่วมกันของคนต่างชาติ ต่างภาษา อีกด้วย
นอกจากนี้ ภาษาก็ส่งผลต่อความเชื่อและค่านิยมอีกเช่นกัน
เช่น ประเทศไทย เป็นหนึ่งประเทศที่ให้ความสำคัญกับเรื่องลำดับขั้นหรือความอาวุโส
ซึ่งก็สะท้อนมาจากการใช้คำว่า ครับ หรือ ค่ะ ท้ายประโยคแทนความเคารพ
แตกต่างจากประเทศฝั่งตะวันตก
ในขณะเดียวกัน เราก็มีคำสรรพนามที่ใช้เรียกผู้อื่นหรือตัวเองที่มีอยู่มากมาย
ตั้งแต่ เรา ผม หนู ฉัน ดิฉัน กระผม ข้า ข้าพเจ้า หม่อมฉัน
ซึ่งแต่ละสรรพนามก็ใช้แตกต่างกันตามสถานะของอีกฝ่าย
เกาหลีใต้และญี่ปุ่นเอง ก็เป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับความอาวุโสเช่นกัน
จึงเห็นได้ว่าทั้ง 2 ประเทศมีคำที่ใช้สื่อสารต่อผู้คนที่แตกต่างกัน
เช่น เกาหลีใต้ คำว่า 요 หรือ -습니다
จะถูกใช้ท้ายประโยคเหมือนคำว่า ครับ หรือ ค่ะ ของคนไทย
และเหล่าคำกริยาก็สามารถผันเป็นรูปอื่น
เพื่อแสดงความเคารพต่อคนที่อาวุโสกว่า
ภาษาญี่ปุ่น はい แปลว่า ครับ หรือ ค่ะ เป็นการตอบแบบสุภาพ ใช้ได้กับทุกสถานการณ์
ในขณะที่ ええ แปลว่า ครับ หรือ ค่ะ เช่นกัน แต่ใช้ได้แค่คนระดับเดียวกันหรือรองลงมา
ในทางกลับกัน ชาวเกาหลีใต้และญี่ปุ่น เป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับเรื่องเวลาอย่างมาก
แต่ประเทศไทยกลับไม่เป็นเช่นนั้น ก็เพราะว่าคำศัพท์ของไทยไม่มีการผันตามเวลา
ซึ่งต่างจาก 2 ประเทศข้างต้น ที่มีการผันคำศัพท์ที่แตกต่างตามช่วงเวลา
จากตัวอย่างทั้งหมดนี้ จะเห็นได้ว่าภาษาคือสิ่งที่สะท้อนถึงวัฒนธรรมและความคิดของผู้คนแต่ละพื้นที่ จึงไม่แปลกใจที่คนพูดได้หลายภาษาจะสามารถมองโลกได้กว้างกว่า
และนี่จึงอาจจะเป็นเหตุผลที่ว่า
ทำไมบางธุรกิจที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงในประเทศหนึ่ง
อาจจะไม่ได้เป็นที่นิยมมากนักในบางประเทศ
จากเรื่องนี้ก็ทำให้เห็นความสำคัญว่า ทำไมเราจึงควรเรียนรู้ภาษาของประเทศอื่น
เพราะสิ่งที่เราได้รับ นอกจากจะได้ภาษาใหม่แล้ว ยังเป็นการสร้างมุมมองใหม่อีกด้วย
ซึ่งการมีมุมมองที่รอบด้าน ก็จะกลายเป็นโอกาสทางธุรกิจที่มากขึ้นตามไปด้วย
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.psychologytoday.com/us/blog/the-biolinguistic-turn/201702/how-the-language-we-speak-affects-the-way-we-think
-https://www.ted.com/talks/lera_boroditsky_how_language_shapes_the_way_we_think?language=th
-https://so04.tci-thaijo.org/index.php/abc/article/view/60825/50088
-https://itdev.win/14215/13.pdf
同時也有7部Youtube影片,追蹤數超過5,140的網紅Ghost Island Media 鬼島之音,也在其Youtube影片中提到,#InTraining #Accent #AsianAmerican You hear what I’m saying, but what’s my accent telling you? Alice and Catherine are two anthropologists whose “job...
「linguistic language」的推薦目錄:
- 關於linguistic language 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於linguistic language 在 IELTS Nguyễn Huyền Facebook 的最佳貼文
- 關於linguistic language 在 范疇文集 Facebook 的最佳貼文
- 關於linguistic language 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最讚貼文
- 關於linguistic language 在 Xiaomanyc 小马在纽约 Youtube 的最佳解答
- 關於linguistic language 在 Riha Jamil Youtube 的最佳解答
linguistic language 在 IELTS Nguyễn Huyền Facebook 的最佳貼文
TỪ VỰNG IELTS CHỦ ĐỀ LANGUAGES
☄️PHẦN TỪ VỰNG
▪️minority languages: những ngôn ngữ thiểu số, được ít người nói
▪️commonly spoken languages: những ngôn ngữ được nói phổ biến
▪️the most widely spoken language: ngôn ngữ được nói rộng rãi nhất
▪️to speak the same language: nói cùng một thứ tiếng
▪️foreign/second languages: ngôn ngữ ngước ngoài/thứ hai
▪️mother tongue: tiếng mẹ đẻ
▪️local dialects: tiếng địa phương
▪️the world’s linguistic heritage: di sản ngôn ngữ thế giới
▪️a common means of communication: một cách thức giao tiếp phổ biến
▪️to have a high level of proficiency in….: thành thạo ngôn ngữ nào đó
▪️to be able to hold a conversation in…: có khả năng giao tiếp bằng ngôn ngữ nào đó
▪️to adopt the dominant language: nói ngôn ngữ chiếm ưu thế
▪️to be a vital part of…: là một phần thiết yếu của …
▪️to be in danger of extinction: đứng trước sự tuyệt chủng
▪️to allow a language to disappear: cho phép một ngôn ngữ biến mất
▪️to encounter language barriers: gặp phải những rào cản ngôn ngữ
▪️misunderstanding and miscommunication: sự hiểu lầm và nhầm lẫn
▪️to lead to tension and conflicts: dẫn đến căng thẳng và mâu thuẫn
▪️expensive language programmes: những chương trình ngôn ngữ đắt tiền
▪️language preservation: sự bảo tồn ngôn ngữ
▪️to make every possible effort to protect/ save …: nỗ nực hết sức để bảo vệ/ cứu …
▪️the traditional and cultural values attached to…: những giá trị văn hóa truyền thống gắn với …
▪️to contribute to cultural diversity: góp phần vào sự đa dạng văn hóa
▪️linguistic diversity: sự đa dạng ngôn ngữ
▪️to maintain the identity and heritage of a community: duy trì bản sắc và di sản của một cộng đồng
▪️to get deeper insights into different ways of thinking and living of different cultures and peoples across the globe: có cái nhìn sâu sắc hơn về cách nghĩ, cách sống của các dân tộc và nền văn khóa khác nhau trên toàn cầu
▪️language education policy: chính sách giáo dục ngôn ngữ
▪️to support language learning: hỗ trợ việc học ngôn ngữ
▪️machine translation: việc dịch ngôn ngữ bằng máy
▪️to be a waste of time: tốn thời gian
▪️translation apps: các ứng dụng dịch ngôn ngữ
▪️to witness a decline in linguistic diversity: chứng kiến sự suy giảm trong đa dạng ngôn ngữ
▪️heritage language: ngôn ngữ được kế thừa từ đời này sang đời khác
☄️PHẦN VÍ DỤ: https://ielts-nguyenhuyen.com/tu-vung-ielts-chu-de-languages/
☄️PHẦN BÀI MẪU: https://ielts-nguyenhuyen.com/bai-mau-ielts-writing-task-2-languages/
Chúc page mình học tốt nhé 🥰
#ieltsnguyenhuyen
linguistic language 在 范疇文集 Facebook 的最佳貼文
Taiwan Can Achieve More,
But It Takes Bilingualism
台灣可成就更高 但需要「雙語國力」
《作者從事與雙語教育相關的工作已斷斷續續30餘年。雙語已成國策,那就身體力行,開始用雙語發表意見吧。歡迎讀者對此形式提供您的意見及指教》
Among all sustaining forces, what Taiwan lacks most is the force of language. When people talk about a country’s competitiveness, most likely the main benchmarks are the military force, wealth force, technology force or even cultural force. The concept of“Force of Language”rarely came into mind. But in fact, linguistic capability is one of the key factors that can make or break a country in the long run , if not in the short.
在所有的可持續力量中,台灣最缺的就是語言的力量。當人們談論國家的競爭力時,通常主要的標竿都是軍事力量、財富力量、技術力量,甚至文化力量,而想都想不到「語言力量」這回事。但事實上,語言表達的能力,遲早也將是國家成敗的關鍵要素之一。
Examples are plenty. Take the tiny country of Singapore as a sample. Its existence and survival rests upon its capacity in applying and managing multi-lingual resources. Without that force of language, it can’t possibly thrive in a geographical setting as complex as this – with Malaysia on the north, Indonesia on the South-West, India to the West, and, particularly, the landmass of China up north. Geography is both a blessing and a curse to the country of Singapore, but its multi-linguistic capacity is a pure blessing. Without it, Singapore would still have been a trading center in that region and there is no way for it to have become one of the worldwide financial centers as today.
例子不勝枚舉,小小的新加坡就是一個樣本。它的生存,基於它運用、管理多重語言資源的氣度和能力。若缺少了這種「語言國力」,新加坡不可能在如此複雜的地理環境下茁壯 – 北有馬來西亞,西南有印度尼西亞,西有印度,尤其遠遠的北方還有中國這樣一塊大陸。地緣對新加坡這個國家既是祝福也是詛咒,但其多語能量則是百分之百的祝福。若非掌握語言國力,新加坡或許還能成為區域的貿易中心,但沒有可能變成今日的世界金融中心之一。
Hong Kong, in the past tense, also benefited tremendously from its bilingualism. By comparison, the mighty city of Shanghai in China will never replace the economic role Hong Kong used to play for China. I remember a sharp comment made by the past Premier of Singapore, Mr. Lee Kuan Yew. Many years ago when visiting Taiwan, he was asked this question by a reporter : “Can you foresee Shanghai replacing Hong Kong one day“? “Never!”was Lee’s reply. “Why?” Here comes the issue of the force of language, “Because I simply can’t see that the Shanghainese can speak better English than the Hong Kong people”. End of discussion.
香港在過去,也大大得利於它的雙語能力。相較之下,中國上海這個巨型城市,永遠也無法取代過去香港對中國的經濟角色。我猶記得新加坡前總理李光耀的一針見血評論。多年前在造訪台灣時,記者問他:「你能預見上海有一天取代香港嗎」?「絕不可能!」李光耀回答。「為什麼呢」?這裡就看出語言的力量了,「因為我根本看不到上海人的英文能力有超過香港人的一天」。討論就此結束。
Taiwan is good at technology as well as in many other aspects. It produces over 50% of the high-end semiconductor chips for the world’s high-end industrial and military uses, and it also designs at least 25% of the chips for world’s daily electronic devices. Which means, should Taiwan’s economic activities be disrupted by a hostile party , or even worse, should the island country fall under a hostile party’s control, as a consequence, the entire world would be affected severely, even to the point of functionally inoperative.
台灣在科技上很行,其他方面也不錯。在世界的高端工業及軍事應用中,台灣生產的高端半導體晶片佔比超過50%。在日常生活的電子設備上,台灣設計的晶片也至少佔比25%。這意味著,若台灣的經濟活動被某個敵意方擾亂,或在更糟情況下台灣這個島嶼國家落入敵意方的控制,後果將嚴重波及整個世界,甚至導致世界在功能上無法運作。
On top of that, Taiwan is ingenious in meeting unconventional demands for outlandish components. The most apparent case would be that of the birth of Tesla. When Elon Musk couldn’t get designers and factories from other parts of the world to risk making his non-heard-of components, he came to Taiwan and found willing and capable suppliers. Without the ingenuity of Taiwan’s able engineers, Tesla’s EV could have been delayed for many more years and might even have missed its first-to-market timing.
此外,台灣在非傳統、奇思妙想的零組件領域也很高明。最顯著的例子就是特斯拉的誕生。當伊隆馬斯克在世界其他地方碰壁、沒有工廠和設計師願意為他冒險製造那些聽都沒聽過的零組件的時候,他來到台灣找到了出路和供應商。沒有台灣的這份高明和工程師,特斯拉的電動車可能延誤多年,甚至失去市場首發的時機。
In the political arena, Taiwan has been firmly placed in the first tier among countries of democracy. To be fair, Taiwanese citizens still stand eager for eliminating the residual, inherited authoritarian elements in its political system; however, from a global standpoint, the mere presence of this remaining endeavor, by itself, proves that Taiwan has already passed the point of no return of an evolving democratic country.
在政治競技場,台灣已經被牢牢放在了民主國家的前列。但還是得公平地說,台灣公民還在熱切得期待把自己政治體制中那些殘留的、繼承來的威權成份加以剷除。然而從全球眼光來看,這種熱切現象的本身,就足以證明台灣作為一個民主還在演化的國家,在道路上已經沒有回頭餘地了。
In any aspect, Taiwan should have received a much higher level of acknowledgement from the international community than what it gets now. It makes people wonder why it didn’t.
無論哪個角度,台灣都應該得到比現在更高的國際認可和關注。這讓人感到奇怪,為什麼不是這樣呢?
Sure, one can blame the “Cut-Taiwan-off-the-World” program that the neighboring CCP (Chinese Communist Party) exercised. But blaming is not productive, not in everyday life nor in politics. We need self-assertive solutions much more than airing complaints.
當然,我們可以歸咎於中共的「切斷台灣的世界聯繫」招數。但是,歸咎往往是不起積極作用的,在生活中如此,在政治上也一樣。自我斷然提出解決方案,遠比時時抱怨要重要的多。
Citizens in Taiwan need to be able to speak out for Taiwan, not waiting for others to speak for it. To speak out to the world, you need languages! Presently, over 90% of the citizens on this island write and speak in just one language : the written Mandarin Character and the spoken Mandarin plus dialects.
台灣公民有必要自己為台灣發聲,而不是只等待第三方替台灣發聲。既然要自己對世界發聲,那就需要語言(國力)!當前,90%的台灣公民只會用單一的語種書寫和表達:書面的華文系方塊字,和華語加上數種方言。
This causes consequences in two-folds. On the political side, when Taiwan citizens shout in Mandarin, only people who understand Mandarin in other parts of the world can know what Taiwan is shouting for. Sadly, 96% of those who understand are under the firewall enclosure in China. Furthermore, Taiwanese messages are being censored, twisted and manipulated by the CCP in order to prevent its subjects from hearing it.
這造成了雙重後果。在政治面,當台灣公民用華語呼喊時,世界上只有聽得懂華語的人知道台灣在呼喊什麼。遺憾的是,96%聽得懂華語的人被鎖在中國的防火牆內。更糟的是,中共為了防止其控制的人民聽懂,持續不斷得堵絕、扭曲、操弄來自台灣的訊息。
On the economy side, although the top-layer of the academics, businessmen and technical elites are all quite proficient with a second language, mostly English or Japanese, the majority of the able engineers and middle managers in Taiwan cannot communicate efficiently enough to bring out their personal or organizational potentials.
在經濟面,雖然頂端的學術工作者、企業家、技術精英都有不錯的外語能力,例如英文或日文,但是大多數的能幹工程師和中層管理者,還無法有效的通過外語溝通以展示他們自身或組織的真實潛力。
It’s such an obvious yet ignored national issue : Taiwan needs bilingualism for its political sustainability and economic prosperity. A thriving bilingualism in Taiwan can be achieved by flipping its mentality towards education, or by changing its attitudes towards “outsiders” and installing a more open-minded immigration policy.
如此明顯的國家級議題卻遭到忽視:台灣的政治可持續及經濟的繁榮,非需要「雙語國力」不可。若想如火如荼的推動雙語國力,有兩條路可走,一是翻轉其對教育之心態,或改變對「外來者」的態度、建立一套更開放的移民政策。
Either way, Taiwan must implement a bold and innovative approach to this “force of language” challenge. And that approach can start today. Are you ready? Yes, I meant YOU!
不論採哪一種方式,台灣對這「語言國力」的挑戰,必須實施一種既大膽又創新的路數。今天就可以開始,你準備好了嗎?沒錯,說的就是你!
* 更多有關台灣之未來,請往 《范疇 前哨預策網》InsightFan.com
* 註冊為免費會員,瀏覽部份熱點議題電子書、觀點及預先的對策
* 註冊為追蹤會員,支持一個永遠獨立、終身不受任何政治體制管
束、推動台灣世界地位、思考人類文明未來的園地
linguistic language 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最讚貼文
#InTraining #Accent #AsianAmerican
You hear what I’m saying, but what’s my accent telling you? Alice and Catherine are two anthropologists whose “job” is to write about other people-types…but they can’t stop obsessing over their own sociocultural categories – working-class or elite, Chinese American or Taiwanese American – and whether or not you can hear it in the way(s) they talk.
---
A Ghost Island Media production
Facebook:https://www.facebook.com/ghostislandme/
Instagram:https://www.instagram.com/ghostislandme/
Twitter:https://twitter.com/ghostislandme
More Shows:https://ghostisland.media/#intern
Written, narrated, and produced by Alice Yeh
Production Coordination by Trevor Liu
Executive Produced by Ghost Island Media
Special thanks to Catherine for participating in the interview
MB01MKWHO4LLFBY
linguistic language 在 Xiaomanyc 小马在纽约 Youtube 的最佳解答
Go to https://www.grammarly.com/xiaomanyc for 20% off Grammarly Premium today! Today we’re talking about the most difficult languages to learn on planet earth. This isn’t your standard, Mandarin Chinese, Japanese, Korean, Cantonese, Arabic list — we’re talking today about languages that break linguistic paradigms in all sorts of bizarre ways. I don’t want to give it away, but the list includes a rare dialect of Chinese, a *very* strange register of Spanish, a language from Sub-Saharan Africa with some extremely unusual sounds, an Amazonian language that completely blows linguists’ minds, and a constructed language that’s so impossibly different that no one is known to actually be able to speak it. Hope you enjoy!
Thanks for the sponsorship, #Grammarly!
Subscribe to my channel: https://www.youtube.com/channel/UCLNoXf8gq6vhwsrYp-l0J-Q?sub_confirmation=1
Follow me on Instagram: https://www.instagram.com/xiaomanyc/
Follow me on Facebook: https://www.facebook.com/xiaomanyc/
If you guys like the music in my videos, you can check out all the AMAZING music Epidemic Sound has at my affiliate link here: http://share.epidemicsound.com/xiaomanyc
linguistic language 在 Riha Jamil Youtube 的最佳解答
thank you to talktomeinkorean.com and duolingo, i really and truly learned a lot for such a short amount of time - i might really dive deep into learning this language properly and try to be fluent in it! check out the website if you are keen to learn korean :)
this video is not sponsored by anyone. i genuinely, truly appreciate TTMIK.
apologies for any pronunciation / grammar / linguistic mistakes!