【後疫情時代中國面對的經濟環境】
本文嘗試用一個廣角、簡略但直入重點的方式分析中國在疫情之後所面對的全球經濟環境。
國家競爭力的經濟學概念與中國縣競爭制度
根據經濟學比較優勢定理,國家之間的競爭始終被比較成本所局限。而在分析國家競爭力上,我摒棄華而不實的哈佛商學院Michael Poter的鑽石競爭理論,回歸最基本但正確的經濟學成本概念,其中尤受諾貝爾經濟學獎得主R. Coase的「The Problem of Social Costs」鴻文啓發:
國家競爭成本 = 直接生產成本 + 間接生產成本 + 制度費用
特別說明我所謂的「間接生產成本」更接近上頭成本,本身除了牽涉到整體租值外也會涉及到產業乃至於社會國家的路徑依賴。
在相同供應層面,某國是否可以用更低成本下滿足同樣的需求,以及是否可以善用比較優勢定理。後者包含了前者的同時,也是國家與國家之間的角色不單純只是競爭關係,而是有更多供需關係。後者之所以尤為重要在於「買方與賣方永遠不存在競爭關係」。因此在供應鏈上彼此依賴的買賣雙方國家,依賴程度越深入越廣泛,則敵對的成本將等比級數增加。
換個角度來說,Covid-19疫情本身帶來上述三種成本的同步增加。這也意味著在疫苗逐漸普及的後疫情時代,能夠以更快速地降低上述三種成本的國家將在新一輪全球經濟重新平衡的過程中取得更佳的競爭優勢地位。
在張五常「The Economic Structure of China」一書闡述的中國曾有的1990年代末到2010年間之縣競爭制度下,中國借此享受人類近代少有的超低制度費用與間接生產成本,佐以原本享有的人口紅利帶來的在中低階工廠流水線上較低直接生產成本,中國製造橫掃全世界九成以上的中低階工業領域。
但隨著中國中央政府出台勞動法與加強反托拉斯管制與大大小小的管制措施,上述獨有的縣競爭制度似乎已不復存在。這也為疫情後面對全世界新的經濟環境中國是否還具有經濟學謂「低制度費用」的高彈性與快速適應力埋下變數。
瞭解這個重要局限條件改變後,我們來看看疫情後中國所面對的全球經濟挑戰有哪些。
1 全球通貨膨脹可能帶給中國輸入性通膨
美國建國以來90%以上的M0貨幣發行量是在最近15年內產生,尤其疫情後Fed諸多舉措都可說是「瘋狂印鈔」,在世界多數原物料與貿易均以美元定價與結算的前提下,世界性通貨膨脹必然來到。
站在2021年5月這個時間點看,美國股市、房市、債市與全世界的大宗期貨、能源價格都受到局部性通膨影響,尤其主要農產品、金屬期貨價格多在52周以來新高。(見圖)
(美國M0通貨)
(美國股市)
(美國房市)
(美國債市)
(石油價格)
中國改革開放以來相當長一段時間貨幣匯率政策緊盯美元。2010年代以後雖然改盯一籃子貨幣,但明眼人都看得出美元的比重。故,在美元瘋狂印鈔的環境下,人民幣相應的輸入性通膨也必然發生。
這一塊我們可以預測,在貨幣學 Impossible trinity law的局限,以及中國對人民幣國際化的追求下,中國人民銀行應將在近年內逐步脫鈎對美元匯率的政策,同時部分放寬外匯管制,以得到更多貨幣主權。
同時取消或降低部分關稅,以及放寬戶口管制,都可以是中國政府提高國家競爭力可能採取的措施。
二、 全球局部地區將因疫情影響出現糧食危機
很明顯Covid-19疫情影響了糧食生產與輸布,全球局部地區的糧食危機已經開始出現。根據聯合國2020年糧食安全報告估計到2020年底全球因疫情而陷入經濟衰退與飢餓的人口數達8300萬~1.32億人。其引發的糧食價格增長將加重中國輸入性通膨下,百姓生活的負擔
中國家戶支出30%花費在食物品項,又中國國內大豆需求90%依賴進口滿足,因此可預見中國的飼料與肉品市場價格恐將上揚且吃緊。
(中國主要糧食供需狀況)
全球能源市場也會因疫情與之前負油價事件影響一段時間內失去部分供給彈性,意味著能源市場價格伴隨通膨因素影響的上揚也是可以預期,這一塊同樣也會加重中國未來將面對的輸入性通膨壓力。
因此我們會看到中國在人民幣國際化推廣上會施以更大力道,例如與更多國家簽訂貨幣清算與貨幣交換協議,嘗試在糧食/能源品項上更多地採人民幣定價結算。如此方可在不過度犧牲中國世界供應煉地位的前提下,減少輸入性通膨對人民的衝擊,尤其是輸入性通膨下中國國內資本投資的資源錯置現象將可以得到一定程度約束。當然這部分中國政府應該還會採取價格管制或其他市場管制措施相佐之,但政府干預與介入本身又會帶來更多訊息費用、交易費用,甚至政府本身就成為資源錯置的問題根本,也是極為可能。這些都是身為投資人的我們值得持續觀察與因應。
三、 中美衝突與戰爭風險提高
如前述,國家邊際競爭成本,尤其邊際間接生產成本與邊際制度費用,增加速率大過他國之速率,則一國之國力衰退,或更精准地說,國家相對競爭優勢衰退。反之則可視為國家相對競爭優勢增加。
在人民幣國際化過程將直接與美元產生競爭關係且削弱美國對全球徵收「美元稅」的能力,經濟邏輯上的效果是:2008年金融危機後的QE之所以沒有在美國發生嚴重通膨,正是因為美元在國際貿易與國際金融的霸主地位可以對全球抽取美元稅,意味著美國可以將貨幣濫發帶來的經濟成本移轉給全世界承擔,其中以世界貿易額佔比越高者承擔越多,故身為世界第一大商品出口國的中國自然也承擔大部分苦果,這也是為何我長時間以來主張美元的地位相當程度是由中國支撐。
而在人民幣競爭之下(我們假設人民幣國際化真取得成效),美國不再能輕易移轉自身國家競爭成本給全世界時,通貨膨脹將回歸隨著貨幣發行量增長而提高,這對美國而言代表聯邦政府與州政府等一系列債券、連動債務的利息支出成本將提高,未來借貸成本也將提高。在一定程度上,美國政府或州政府可能因此停擺,甚或我們會看到州政府、市政府因此破產。
因此美國必然會嘗試在各方面阻止之。
提高上述中國的國家邊際競爭成本也無可避免會是美國未來數十年的整體戰略目標。
所以我們看到美國從President Trump任期開始,嘗試尋找各種可以提高中國國家邊際競爭成本的手段。
然而在當今真實世界供應煉、服務煉、金流、資訊流高度分工交雜的局限條件下,我推斷任何一任美國政府、智庫都難以清楚釐清自身採取的任何競爭戰略是否會帶來意料之外的後果(unintentional consequences)。
a 舉例來說,比如美國政客錯誤判斷關稅手段制裁中國會有效,於是我們看到Trump任期貿易戰初期就是違背WTO規範,片面無理對中國出口商品加重關稅或其他非關稅貿易手段。
然而真正懂經濟學邏輯者看法多如我當時寫下的預判一樣 — 如果美國以關稅手段要抑制中國出口經濟,但關稅提高幅度不夠大不夠全面的話,則中美之間的貿易逆差狀況不但不會縮減,反而在某些不同彈性系數之下會增加。(見圖)
(中國出口美國統計圖)
反之,美國經濟將因自身對中國的片面關稅障礙而受創。
更進一步,若美國政客傻到真的將制裁關稅提到夠高,足以發生抑制中國出口額的效果,則美國經濟將必須付出重大代價,其中包括美元地位將大幅動搖。如前述貨幣政策問題,不但聯邦政府利息支出將壓垮政府財政,州政府乃至市政府破產潮亦不遠。故,我們看到即便是Trump也被迫停止更瘋狂的關稅壁壘措施。
b 再以半導體產業的光刻機為例,美國施壓荷蘭ASML禁止出貨中國廠商已經付費採購的光刻機,其結果反而是給中國光刻機或EDA廠商創造市場,協助排除了原本ASML強力的競爭。從經濟學角度來看這是一件很諷刺事情。
這是因為全球光刻機市場是一個高度技術集成的天然寡頭壟斷市場,除非有類似當年ASML與日本佳能之間的技術彎道超車(浸潤式UV光刻技術)特殊情況發生,否則後來者都會因為技術認證與攻克的巨大前期投資成本而被排除於競爭之外。
然而,從經濟學競爭的角度看,美國禁止ASML對中國出口,結果反而是讓中國半導體製造廠被迫轉向投資與採購其他中國光刻機供應商,使得原本在市場上幾乎無競爭力的後者,因美國的禁令創造的「競爭真空」環境而有了成長空間。
因此我們放大時間尺度來看,20年、30年後如果中國半導體設備商有了長足的進展,肯定要回過頭感謝美國政府政府的錯誤干預所創造的商機。
說到商機身為投資人的我們可以注意,在上述政客的錯誤決策中,一些轉瞬即逝的投資機會也會因政府干預而起。例如下一點。
c. Super Micro 間諜晶片事件,2018年10月美國知名商業性雜誌Bloomberg刊登新聞「The Big Hack: How China Used a Tiny Chip to Infiltrate U.S. Companies」聲稱Super Micro這家公司利用一顆米粒大小的間諜晶片替中國政府竊取資訊。
姑且不提一顆米粒大小,本身毫無無線射頻天線的晶片在當時技術上幾乎不可能竊取什麼資訊,2年多後海潮退去,不但美國政府或Bloomberg都未提出更進一步有力證據,整件事甚至根本就被遺忘。
當年我不但寫了幾篇文章駁斥這種謬論栽贓。還親自動手買入這家粉紅單公司,短短三天就賺了台轎車。
香港2019年暴動事件、2021年新疆奴隸棉花事件、最近新冠病毒向中國求償事件...等,我們都可以看到美國政客在試圖提高中國競爭成本的過程,會創造大大小小系統性或個體性的災難風險,例如前述Super Micro因栽贓性假消息股價從$20.61美元在一兩日內崩跌至$13左右,但隨著栽贓者無力提供更多證據,市場回歸均衡的過程,截至2021年5月28日,Super Micro股價已經來到$35。
這是說,某些因政治干預造成的個體性或系統性風險,雖然屬於不可預測的風落(windfall),但其中不乏類似Super Micro的例子,在隨後回到正常的價值位置。如W. Buffett所言:市場短期是投票機,但長期是磅秤。
d. 美國知名橋水基金創辦人Ray Dalio在其將於2021年11月初版的書籍」The Changing World Order」 已提前公開的第七章」US-China Relations and Wars」提出綜合國力歷史計算與國力表(見圖)
提出美國正處於信用擴張後期的大國階段,而歷史上處於此階段與新興國力上生階段的國家一旦發生國力曲線交叉時,多半發生大規模戰爭以重新均衡雙方與整體國際關係。
依其推論,中美兩國發生戰爭的風險來到史上最高點。
但這部分我持較保留態度,特別是新任President Biden政府的高達$6 triilion美元的聯邦預算案出台,我們注意到一者,美國聯邦政府支出繼續維持二次世界大戰以來的GDP高佔比--達25%,二者,預算增幅最大均在健康醫療(成長23.1%)、商務(27.7%)與環保(21.3%),然在國防(1.6%)與國家安全(0.2%)幾乎未有成長,甚至計入通貨膨脹因素,後二部門的預算是實質減少的。因此可推估此任政府對發生大型戰爭的預期心理。
四、 變種病毒的不確定性
這是最後最難評估的風險,在現階段的資產配置決策中不可忽略卻又幾乎難以估計。拔高到國家決策層面來看,這也是中國面對的最棘手風險之一。
結論:
以上是我從經濟學角度出發,非常簡略地預測中國在疫情後將面對的國內外經濟環境與挑戰。其中任何一項單獨提出要深入探討都會是長篇大論。還有一些我認為相對重要性較低的現象與局限條件轉變,本文也尚未涵蓋。
BTW,最後多提一句台灣獨有的風險:後疫情時代是否接種過疫苗有可能在相當時間內成為國際旅遊的必要條件。然如果台灣政府真的壓寶在台灣國產疫苗上,則在現今環境下有沒有可能不被世界多數國家組織承認?會是一個額外的成本。
參考文獻:
* The Wall Street Journal, 「Biden is the $6 Trillion Man」 (May 28, 2021), https://www.wsj.com/articles/biden-is-the-6-trillion-man-11622241749
* The Financial Times, 「The summer of inflation: will central banks and investors hold their nerve?」 (May 15, 2021), https://www.ft.com/content/414e8e47-e904-42ac-80ea-5d6c38282cac
* Ronald Coase, 「The Problems of Social Cost」 (1960)
* Ray Dalio, 「The Changing World Order: Why Nations Succeed and Fail」 (2021)
* Irving Fisher, 「The Money Illusion」 (1928)
* Mundell, Robert A. (1963). "Capital mobility and stabilization policy under fixed and flexible exchange rates". Canadian Journal of Economics and Political Science. 29 (4)
* Milton Friedman and Anna Schwartz, 「A Monetary History of the US, 1867-1960」 (1963)
* Milton Friedman, 「Money and the Stock Market」 The Journal of Political Economy, Vol. 96, No. 2 (Apr., 1988), pp. 221-245 「
* Allan Meltzer, 「Learning about Policy from Federal Reserve History」 (Spring 2010)
* Armen A. Alchian, 「Effects of Inflation Upon Stock Prices" (1965)
* 張五常, 「Will China Go Capitalist?」 (1982)
* 張五常, 「The Economic Structure of China」 (2007)
* Ronald Coase and Ning Wang, 「How China Became Capitalist」 (2012)
* Alfred Marshall, 「Principles of Economics (8th ed.)」 (1920)
文章連結:
https://bit.ly/3vD1B2o
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過4萬的網紅李根興 Edwin商舖創業及投資分享,也在其Youtube影片中提到,史丹福大學知識分享: 做生意的九大元素 - 《Business Model Canvas 商業摸式圖》 如何定立及優化你的 Business Model Canvas 商業摸式圖? 做生意,你要認識你嘅 Business Model Canvas 商業模式圖,有九格。 肺炎第四波開始有減退嘅...
fixed costs 在 Facebook 的最讚貼文
Every diner gets their own hotpot at Yuu Shabu Shabu Cafe 勝火锅小品餐厅, a new hotpot joint at Hutton Lane (a stone's throw distance away from New World Park)... so there will be no fighting over which soup bases to order or any fuss over the toppings. The brand is not new in Malaysia and has presence in other states; this is their first outlet in Penang though. With 7 types of Japanese-inspired soup bases available- whether spicy or non-spicy, everyone gets to choose their own desired soup bases. The Shabu-Shabu set is fixed but add-ons are available at additional costs. The Lunch Express Set is more wallet-friendly though the usual Shabu-Shabu Set offers better variety.
Beef Shabu Shabu Express Set (Rm 24.90) with Miso Soup Base
Pork Shabu Shabu Express Set (Rm 19.90) With Spicy Japanese Pork Bone Soup Base
Chicken Gyoza (Rm 7.50/ Add On)
Tori Karaage (Rm 12.90)
Almond Ice Cream Apple Pie (Rm 11.90)
Subject to 6% Service Charge
Address: 162 and 164, Jalan Hutton, 10050, Georgetown, Penang.
Business Hours: 12 pm to 11 pm. Closed on Tuesdays.
Contact Number: 6014- 941 1162
More details to be shared on Ken Hunts Food real soon!
fixed costs 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
ธุรกิจร้านนวดและสปาไทย เป็นอย่างไร ในปีที่มีโรคระบาด ? /โดย ลงทุนแมน
ถ้าพูดถึงอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทย
นอกจากเดินทางไปยังสถานที่ทางธรรมชาติและวัฒนธรรมอันสวยงามแล้ว
การท่องเที่ยวอีกประเภทหนึ่ง ที่มีชื่อเสียงโด่งดังไม่แพ้กัน
คือ การท่องเที่ยวในเชิงสุขภาพ (Wellness Tourism)
ซึ่งกิจกรรมหลักที่ต้องทำ เมื่อมาเที่ยวเพื่อฟื้นฟูสุขภาพในเมืองไทย
คงจะหนีไม่พ้น การใช้บริการ “ร้านนวดและสปา”
อย่างไรก็ตาม การแพร่ระบาดของโควิด 19 ในปีที่ผ่านมา
ทำให้ชาวต่างชาติ ไม่สามารถเดินทางเข้าประเทศได้
หรือแม้แต่คนไทยเอง ก็คงไม่อยากอยู่ใกล้ผู้อื่นเป็นเวลานาน
แล้วตอนนี้ ธุรกิจร้านนวดและสปา ได้รับผลกระทบอย่างไรบ้าง ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ย้อนกลับไปก่อนเกิดโรคระบาด
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในไทย เป็นอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโตอย่างต่อเนื่อง
จากรายงานของ Global Wellness Institute
ประเทศไทย เป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูสุขภาพกว่า 12.5 ล้านครั้งต่อปี
ซึ่งสร้างรายได้ไม่ต่ำกว่า 409,000 ล้านบาท สูงเป็นอันดับที่ 13 ของโลก
โดยเอกลักษณ์สำคัญที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว
ก็คือ การนวดแผนไทย ที่สืบทอดองค์ความรู้กันมาตั้งแต่อดีต และต้องอาศัยความชำนาญในการให้บริการยากที่ใครจะลอกเลียนแบบได้
ด้วยเหตุนี้ ภาครัฐจึงมีนโยบายส่งเสริมให้ไทย พัฒนาไปสู่การเป็น Spa Capital of Asia มาโดยตลอด
ทำให้มีผู้ประกอบการจำนวนมาก สนใจทำธุรกิจร้านนวดและสปา
โดยปัจจุบัน มีสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ที่ได้รับใบอนุญาตจากหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุข อยู่มากกว่า 8,600 แห่ง ทั่วประเทศ
รวมทั้งมีบริษัทร้านนวด ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai)
นั่นคือ สยามเวลเนสกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) หรือชื่อย่อว่า “SPA”
SPA เปิดให้บริการร้านนวดสปา หลากหลายแบรนด์
โดยเมื่อสิ้นปี 2563 มีสาขาภายในประเทศ อยู่ 65 สาขา ยกตัวอย่างเช่น
- ระรินจินดา เวลเนส สปา ซึ่งเป็นร้านระดับ 5 ดาว ตั้งอยู่ในโรงแรมหรือรีสอร์ต
- Let’s Relax ซึ่งเป็นร้านระดับ 4 ดาว ตั้งอยู่ในโรงแรมหรือห้าง เพื่อให้นักท่องเที่ยวเข้าถึงง่าย
- บ้านสวนมาสสาจ ซึ่งเป็นร้านระดับ 3 ดาว ตั้งอยู่ในย่านที่พักอาศัย เพื่อเจาะตลาดคนไทย
นอกจากนั้น ยังประกอบธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ เช่น สตูดิโอยืดกล้ามเนื้อ, ร้านนวดบำรุงผิวหน้า, จำหน่ายผลิตภัณฑ์สปา, โรงเรียนสอนนวดแผนไทย
แต่คงไม่มีใครคาดคิดว่า..
จะเกิดวิกฤติโรคระบาด ที่ทำให้อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพต้องตกที่นั่งลำบาก
ไม่เว้นแม้แต่ บริษัทเจ้าของร้านนวดรายใหญ่ของประเทศไทย
เรามาลองดูผลประกอบการของ สยามเวลเนสกรุ๊ป
ปี 2561 รายได้ 1,152 ล้านบาท กำไร 206 ล้านบาท
ปี 2562 รายได้ 1,450 ล้านบาท กำไร 245 ล้านบาท
ปี 2563 รายได้ 433 ล้านบาท ขาดทุน 209 ล้านบาท
จากที่เติบโตจนมีรายได้สูงเกินกว่าพันล้านบาท แต่ปีล่าสุดรายได้กลับลดลงถึง 70%
จากที่ทำกำไรได้หลักร้อยล้านบาท ก็พลิกมาขาดทุนหนัก
สาเหตุเนื่องจาก การระบาดของโควิด 19 ทำให้นักท่องเที่ยวต่างชาติ ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าหลัก หายไปทั้งหมดตั้งแต่ไตรมาสที่ 2 ปี 2563 และยังไม่มีใครรู้ว่า จำนวนนักท่องเที่ยวจะฟื้นตัวมาเหมือนเดิมได้เมื่อไร
ประกอบกับ รัฐบาลได้มีคำสั่งให้ปิดร้านนวดและสปาทั่วประเทศ ในเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2563 และปิดบางพื้นที่อีกครั้ง ในช่วงเดือนมกราคม 2564 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาด
ซึ่งในขณะที่ปิดร้านนั้น บริษัทยังต้องแบกรับค่าใช้จ่ายบางประเภทอยู่ เช่น ค่าเช่าพื้นที่, ค่าพนักงาน และค่าเสื่อมราคาของอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งเหล่านี้เป็นต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) ที่อย่างไรบริษัทก็ต้องจ่าย แม้จะไม่มีรายได้เข้ามาก็ตาม
นอกจากนั้น ถึงแม้ต่อมา ร้านจะกลับมาเปิดให้บริการลูกค้าคนไทยได้ตามปกติ
แต่เอาเข้าจริง ก็คงมีบางกลุ่มที่ยังไม่กล้าไปนวดหรือทำสปา
เพราะเปรียบเทียบกับกิจกรรมอื่น ๆ
ที่หากไปเที่ยวสถานที่ภายนอก เราอาจพอเว้นระยะห่างจากคนอื่น
หรือหากต้องการซื้อสินค้า ก็เปลี่ยนไปสั่งผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ ให้ดิลิเวอรีมาแทนได้
แต่สำหรับการไปนวดสปา
มันจำเป็นต้องให้บริการด้วยมือพนักงาน และอยู่ใกล้ชิดกันเป็นเวลานาน ซึ่งอาจทำให้ลูกค้าหลายคนยังไม่ค่อยสบายใจสักเท่าไรนัก
ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ ส่งผลให้ธุรกิจร้านนวดสปา ประสบปัญหาอย่างหนักในปีที่ผ่านมา
ซึ่งในกรณีของ สยามเวลเนสกรุ๊ป ที่เป็นบริษัทมหาชน ยังพอมีวิธีเอาตัวรอดจากวิกฤติได้
โดยบริษัทได้ออกหุ้นเพิ่มทุนมูลค่า 71 ล้านบาท เพื่อเพิ่มสภาพคล่อง
แต่นี่อาจไม่ใช่ทางเลือกสำหรับรายย่อย ที่มีแหล่งเงินทุนจำกัดและสายป่านสั้น
โดยนายกสมาคมสปาไทย เปิดเผยข้อมูลว่า
ปัจจุบัน ผู้ประกอบการร้านนวดสปากว่า 80% ต้องหยุดดำเนินกิจการ ซึ่งทำให้บุคลากรในอุตสาหกรรม ตกงานไปแล้วประมาณ 240,000 ราย
รวมทั้ง ยังเริ่มได้เห็นความเคลื่อนไหวของกลุ่มทุนจากประเทศจีน ที่มองหาโอกาสซื้อกิจการร้านนวดสปาไทยที่มีปัญหาการเงิน และฝึกสอนคนจีนให้เรียนรู้การนวดแผนไทยอีกด้วย
ซึ่งบางร้านที่รับภาระต้นทุนไม่ไหว ก็อาจตัดสินใจปิดกิจการไปถาวร หรือต้องขายกิจการให้รายใหญ่ ๆ ที่มีความพร้อมเรื่องเงินทุนกว่าในที่สุด
จากเรื่องราวที่เกิดขึ้นนี้
ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง คงต้องช่วยกันประคับประคองธุรกิจร้านนวดและสปา ให้รอดพ้นช่วงเวลาวิกฤติไปได้
เพราะพวกเขาจะเป็นกำลังสำคัญที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว ให้กลับมาเยือนเมืองไทยอีกครั้ง หลังจากเหตุการณ์โรคระบาดคลี่คลายลง
ซึ่งถึงเวลานั้น ไม่ใช่แค่กลุ่มท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ที่จะฟื้นตัวขึ้น
แต่นั่นหมายถึง อุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่พึ่งพานักท่องเที่ยว
ไม่ว่าจะเป็น สายการบิน โรงแรม ร้านค้า และเศรษฐกิจไทยในภาพรวม
ก็จะพลอยได้รับผลประโยชน์ ตามไปด้วย..
หมายเหตุ: บทความนี้ไม่ได้ชี้นำให้ซื้อหรือขายหุ้นที่กล่าวถึง การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลให้รอบคอบก่อนตัดสินใจลงทุนทุกครั้ง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่านและนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2020/20200715-07Travel.pdf
-https://globalwellnessinstitute.org/wp-content/uploads/2018/11/GWI_GlobalWellnessTourismEconomyReport.pdf
-https://www.siamwellnessgroup.com/ir/files/annual_report_2019_th.pdf
-https://www.set.or.th/dat/news/202102/21018060.pdf
-https://www.set.or.th/dat/news/202003/20024489.pdf
-http://spa.hss.moph.go.th/report_spa/report_shop.php
-https://www.thairath.co.th/news/business/market-business/2028124
fixed costs 在 李根興 Edwin商舖創業及投資分享 Youtube 的精選貼文
史丹福大學知識分享: 做生意的九大元素 - 《Business Model Canvas 商業摸式圖》
如何定立及優化你的 Business Model Canvas 商業摸式圖?
做生意,你要認識你嘅 Business Model Canvas 商業模式圖,有九格。
肺炎第四波開始有減退嘅跡象, 等佢過咗之後,一連幾場星期六,我會在 Paragon Co-work Space 搞下做生意分享早餐會,大家交個朋友???? 互相俾下意見睇下盤生意有乜可以做好啲。
地點是觀塘 Paragon Co-Work Space。約3小時。
對象: 管理層/生意經營者/創業者,每場限4位。
有興趣參加的話,請 whatsapp 你的名片給 Suki (我助手) 5566 1335。肺炎第四尾聲後,她會再聯絡你。
免費 (我不是靠這行搵食?)。我請食早餐 ? Be friends ..... 多謝! 李根興 Edwin
www.edwinlee.com.hk
www.paragonasia.hk,
https://www.facebook.com/paragoninasia/
#paragonasia #做生意的九大元素
全文內容:
做生意,你要認識你嘅 Business Model Canvas 商業模式圖,有九格, 逐個逐個同你講。
肺炎第四波開始有減退嘅跡象, 等佢過咗之後,一連幾場星期六,我會在 Paragon Co-work Space 搞下做生意分享早餐會, 其中一場會講 Business Model Canvas,人少少,4位,大家交個朋友。講下你盤生意點善用 Business Model Canvas 嘅九格。
我2016及17, 連續兩年代表Cyberport 帶團去 Stanford Business School 有個創業 bootcamp ,教授 Baba Shiv and Sarah Soule 話創業做生意,你要了解自己嘅 Business Model Canvas.
(1) Value Propositions 價值主張
做生意,你先要知道你幫到人啲乜? 你有乜樣好過人? 點解人哋要揀你? 新啲? 快啲? 平啲? 靚啲? 型啲? Why you?
我做商舖基金,就係幫人哋用少啲嘅資金, 分散風險, 買舖唔使煩,提升回報。
Paragon Co-Work Space 就希望係東九龍集中火力,以幾個center 發揮協同效,提供畀創業者最優越嘅營商空間。
記住,想租 Co-Work Space 可聯絡 Samuel Szeto Tel: (+852) 6215 0550
www.paragonasia.hk,[email protected]
你呢? 你嘅 Value Propositions 價值主張係乜呢?
(2) Key Activities 關鍵活動
要帶出以上嘅價值主張,你每日應該做緊啲乜? 生產? 研究? 客戶服務? 解決問題? 建立平台聯繫客戶, 由佢哋自己交易? Whatever...
記住喎,你做嘅嘢,應該係帶到價值主張 key value preposition 畀你嘅客人。而唔係講一套做另一套, 花咗啲時間係無聊,人客都唔care嘅活動上。
Now you know why 我日日拍商舖片,已經拍咗二千幾條, 因為我最重要就係日日要睇舖。
(3) Customer Segment 目標客群
邊個係你班客呢? 大眾市場? Niche market? 男人/女人/成年人/學生哥?
個個都可以係你嘅客,but who is your primary customer? who is your most important customer? 主要及最重要客戶? 你要搞得好清楚,when in conflict,邊個利益行先?
我成日都話如果你係揸住港幣八百萬以上流動資產(非物業),能夠投資最少三百萬以上喺商舖基金,你就係我 primary customer 你嘅利益行先。
你盤生意呢? Who are your customers? Who is your primary and most important customer?
(4) Channels 通路
你點樣搵到、掂到你班客呢? 班客又點識你、點搵你、點俾錢到你呢? 分五個階段: (1) 認知 Awareness (佢先要識你),(2) 評估 Evaluation (再諗過計過), (3) 購買 Purchase (俾錢), (4)傳遞 Delivery (你提供產品或服務),(5) 最後,售後服務 Aftersale Service,希望滿意回頭再幫襯。
你盤生意嘅掂到個客嘅Channel 係乜呢?
(5) Customer Relationships 客戶關係。
你點樣同你個客戶保持關係呢? One-on-One? 或 ATM 咁, 機械式,用電腦? 建立個客戶 Community 社群 , 或者大家一齊俾 idea 共同創造 co-creation?
好似我咁,做咗我嘅商舖投資者,全部都會同我one-on-one有個whatsapp group,任何問題,我都即時回答。任何商舖最新發展, 內幕消息,同埋我哋買咗乜舖沽咗乜舖,我都會即時同佢溝通。 唔單止舖,佢哋好多個人投資同生意,得嘅話我都會提供我嘅意見及幫助。 佢畀得錢我使,我梗係第一時間幫佢。 Paragon co-work space 老闆都係我投資者之一, 佢幫我,我幫佢,當然我都想幫佢宣傳下Paragon Co-Work Space ?
你同你班客嘅關係又係乜呢? 會唔會幫襯咗你,其實你都唔知佢係邊個,大家根本冇溝通過呢?
(6) Key Partners 關鍵合作夥伴
你點叻都好,你自己做唔曬所有嘢。 你日常要同邊個多合作,改善關係,先能夠做到更好呢? 有效同供應商夾得好啲,生意會唔會易做好多?
我成日講笑咁講,我「真正」老闆其實係全港各大小地產經紀, 我日日都要擦佢哋鞋, 因為如果經紀唔畀荀盤我,我這行馬上唔駛做。Fit 馬都變跛馬。同經紀夾得好? Fit 馬變飛馬。
你呢? 你同 key partners 又夾成點?
(7) Key Resources 關鍵資源。
做你以上咁多樣嘢,你需要咩資源呢? 錢? 人? 知識? 廠房?
知道要乜,咁喺邊度搵呢? 點樣提高營運效率? 盡量用少啲資源,做多啲、做快啲呢?
如果我只是一個普通炒家, 大部分炒家都只係需要一個司機(揸佢周圍睇舖),一個秘書(安排日常工作雜務),一個會計(管理好盤帳,交少啲稅),3個人就搞惦,炒幾十億貨都係三個就夠。
但一商舖基金嘅話, 受證監會監管, Responsible Officers 持牌人起碼要有兩個,Compliance Officer 又加多個,再加財務/會計監管,再加 License Representatives 又要考牌,年年續牌, 成立基今日要開曼群島 Cayman Islands 註冊, 律師/會計/基金行政費用一大堆,成本馬上大升。 咁你做生意就要自己計,值唔值得呢?
你呢? What are your key resources? 點搵? 無又點呢?
(8) Cost Structure 成本結構
你做生意嘅成本架構係乜呢? 你最貴嘅成本喺邊度? 大部係 Fixed Costs 固定成本? 或大部分係會隨着你嘅生意額上落 Variable Costs 呢 ?
老實說, 我公司同事們嘅老底(底薪)唔算高, 但佢哋嘅收入會隨著我哋嘅基金每季嘅表現 ,來分花紅。 因為我要班同事們及我哋嘅投資者大家利益一致。 基金賺錢,大家分多啲。基金蝕本,大家都無花紅。This is our cost structure! 你呢?
(9) 以上所有嘢都係支出,最後當然是收錢啦 - Revenue Stream 收益流。
你點收錢呢? 每件收? 每月收? 每次使用收?月費、年費? 版權費、 顧問費 、廣告費、利息、佣金? 係預繳、現金交收、或做完先收數? 會唔會有難尾? 送貨如送米,收數如乞米? 收入係唔係個個月都要有? 重複性購買? 或餐搵餐食餐餐清? 你係做緊農夫定獵人?
我自己嘅商舖基金會收首次認購費, 每個月會收管理費, 同埋間舖賣咗出街之後賺錢,會收表現分紅 performance fee. 賺就收,唔賺就唔收。 之前嗰兩項叫做「維皮」, 表現分紅先至係我哋嘅肥豬肉。你呢? 錢從邊道嚟,點嚟呢?
記住做以上12345678一啲都唔難, 免費嘅話,十萬個人搵你做。 最難嘅係第九,收錢。 但其實收錢都唔難。 你可以支出100蚊,收得廿蚊。蝕80蚊,咁你要繼續的話可能要不斷地「籌錢」, 吹水吹到以後個餅好大, 希望有投資者畀你錢繼續燒。咁下期你可能支出200蚊,收入80蚊, 感覺收入大升,但其實可能仲蝕多咗。 今時今日,好多初創企業就係咁。 收入係多咗,但蝕得更多。
無話對與錯,大有大做細有細做,做生意你可以專注「籌錢」,亦都可以專注「賺錢」。我選擇「先賺錢、再籌錢」,因為賺到嘅錢係自己嘅,籌錢嘅錢係欠人嘅, 感覺真係好唔同! 我自己做商舖基金,就係exactly 「先賺錢、再籌錢」, 如果憑我自己能力都未能夠賺錢,我邊有資格去籌錢,幫客人搵更多錢呢?
記住,最好嘅生意應該係收入多過支出, 而且多過好多,持續地多, 咁你就本事! I like this business.
有興趣以上九個做生意嘅元素,Business Model Canvas 的:
(1) Value Propositions 價值主張
(2) Key Activities 關鍵活動
(3) Customer Segment 目標客群
(4) Channels 通路
(5) Customer Relationships 客戶關係
(6) Key Partners 關鍵合作夥伴
(7) Key Resources 關鍵資源
(8) Cost Structure 成本結構
(9) Revenue Stream 收益流
肺炎第四波後嘅星期六,我一齊同你小組分享下, 度下你們生意點做好啲。有興趣 send 卡片畀 Suki, 喺 Paragon Co-Work Space 呢度見啦!
Business Model Canvas Download https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/1/10/Business_Model_Canvas.png
fixed costs 在 李根興 Edwin商舖創業及投資分享 Youtube 的最佳解答
《點做生意系列 - 肉丸舖》 肉丸舖點做生意? 多謝50年老字號振興肉丸負責人 Pius Chan 陳岳成分享營商心得。(2019年2月12日)
Based on Stanford Design Thinking (史丹福大學設計思維), 今次同你從九方面分析如何創業營商。
(1) 如何定位及搵客? 成本效應如何計算?
(2) 自己最大價值在哪裏? 如何突圍而出?
(3) 資源,合作夥伴及日常活動如何配合?
他們最暢銷是牛肉丸、豬肉丸及墨魚丸,有機會幫襯下。
老店地址: 大埔墟鄉事會街47號地舖 (大埔墟站A2出口)
營業時間 8am - 7pm Tel: 29470047
尚德分店: 將軍澳尚德街市82號檔(港鐵將軍澳站A出口)
蝴蝶分店: 屯門蝴蝶街市M123號舖(輕鐵美樂站)
及各大超市及街市有售。
www.beefball.com.hk
https://www.facebook.com/TaiPoChunHing/
當然,買舖及租舖也歡迎搵我。
#振興肉丸,#肉丸點做生意,#stanforddesignthinking,#businessmodelgeneration,#李根興,#創業,#商舖, #李根興, #盛滙, #bridgeway,
Business Model Generation 商業模式的構建 by Alexander Osterwalder and Yves Pigneur
(1) Customer Segments 目標顧客群
. Mass vs Niche Market (大眾化 vs 某單一市場)
(2) Value Preposition 價值主張
. Newness, Performance, Customization, vs Price ( 新,表現,個人化,價錢)
(3) Channels 渠道
. Direct vs Indirect (間接 vs 直接)
. Awareness, Evaluation, Purchase, Delivery, After-Sales (知道,評估,購買,送貨,售後服務)
(4) Customer Relationship 顧客關係
. Self-Service, Automated Service, Assistance, Communities, Co-Creation
(自助服務,自動服務,協助,社群,共同創造)
(5) Revenue Streams 收益流
. Asset Sale, Usage Fee, Subscription Fee, Renting/Leasing, Licensing, Brokerage, Advertising (賣資產,使用費, 預訂費,租賃,專利費,中介費,廣告費)
(6) Key Resources 關鍵資源
. Physical, Intellectual, Human, Financial (有型資產,智慧資本,人力資源,財政)
(7) Key Activities 關鍵活動
. Production, Problem Solving, Network/Platform ( 生產,解決問題, 網絡/平台)
(8) Key Partnerships 關鍵合作夥伴
. Optimization/Economy of Scale, Reduction of Risk, Acquire Resources (經濟效益,減低風險,取得資源)
(9) Cost Structure 成本結構
. Cost-Driven vs Value-Driven (按成本 vs 按價值)
. Fixed Costs vs Variable Costs (固定成本 vs 浮動成本)
fixed costs 在 Fixed cost - Wikipedia 的相關結果
In accounting and economics, fixed costs, also known as indirect costs or overhead costs, are business expenses that are not dependent on the level of goods ... ... <看更多>
fixed costs 在 Examples of fixed costs - AccountingTools 的相關結果
A fixed cost is a cost that does not change over the short-term, even if a business experiences changes in its sales volume or other ... ... <看更多>
fixed costs 在 Understanding Variable Cost vs. Fixed Cost - Investopedia 的相關結果
Unlike variable costs, a company's fixed costs do not vary with the volume of production. Fixed costs remain the same regardless of whether goods or services ... ... <看更多>