สรุปประเด็นจากกองทุนบัวหลวง
เปิดสูตรเฟ้นหา หุ้นอนาคตในอเมริกาเข้าพอร์ตระยะยาว
BBLAM x ลงทุนแมน
อังคารที่ 8 กันยายน ที่ผ่านมา ลงทุนแมนได้ชวนผู้เชี่ยวชาญมากประสบการณ์ คุณมทินา วัชรวราทร CFA®, Head of Investment Strategy กองทุนบัวหลวง
มาพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นการเฟ้นหาหุ้นอนาคตในอเมริกาเข้าพอร์ตระยะยาว
โดยเริ่มตั้งแต่อัปเดตสถานการณ์ล่าสุดในสหรัฐอเมริกา ที่เริ่มเปิดเผยตัวเลขทางเศรษฐกิจในช่วงเดือน ส.ค. ที่ผ่านมา ไปจนถึงผลประกอบการของบริษัทต่าง ๆ ในไตรมาสที่ 2
ตัวเลขเหล่านี้กำลังส่งสัญญาณอะไร ?
เราจะมีวิธีการปรับพอร์ตการลงทุนอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟัง..
มาเริ่มต้นกันที่ สรุปภาพรวมเศรษฐกิจมหภาคของสหรัฐอเมริกา เกิดอะไรบ้างในช่วงที่ผ่านมา ?
ที่ผ่านมาสหรัฐอเมริกา มีการทำ QE หรือ การซื้อสินทรัพย์ เช่น พันธบัตรรัฐบาลและหุ้นกู้ เพื่อให้ระบบมีเงินหมุนเวียนมากขึ้น ทำให้ภาพรวมตลาดหุ้นสามารถดำเนินต่อไปได้
โดยประเด็นหลักที่ตลาดยังคงจับตามองในปีนี้คือ การลดขนาดการเข้าซื้อสินทรัพย์ หรือที่เรียกว่า QE Tapering ซึ่งประธาน FED ออกมาพูดว่า การทำ Tapering จะเริ่มขึ้นในปีนี้ และเป็นการตัดสินใจแยกกันกับ การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย
หมายความว่า หากเริ่มทำ Tapering ดอกเบี้ยก็ไม่จำเป็นจะต้องปรับขึ้นในทันที
นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกาจะยังใช้นโยบายการเงินที่ค่อนข้างผ่อนคลายต่อไป ทำให้ตลาดสหรัฐอเมริกา กลับมาเป็นขาขึ้น และเงินก็จะวิ่งเข้าหาสินทรัพย์เสี่ยงอีกครั้ง
ซึ่งทางกองทุนบัวหลวงคาดว่า FED จะค่อย ๆ ลดการทำ QE ลงโดยจะใช้เวลาประมาณ 8 เดือน และ FED มีแนวโน้มจะเริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ในปี 2024 แต่ก็ยังเป็นอัตราดอกเบี้ยในระดับต่ำ
ดังนั้น นโยบายโดยรวม จึงยังเอื้ออำนวยให้การลงทุนในตลาดหุ้นยังให้ผลตอบแทนได้ดีกว่าสินทรัพย์อื่น ๆ ไปอีกสักระยะ
แต่ก็ยังมีปัจจัยหลายอย่างที่อาจทำให้ FED ชะลอการทำ QE Tapering ได้ เช่น ตัวเลขการจ้างงาน ที่ต่ำกว่าตลาดคาดการณ์ไปมาก
อีกหนึ่งประเด็นที่ต้องติดตามอย่างต่อเนื่อง คือ เงินเฟ้อ ที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 5.4%
ถึงแม้ว่า ราคา สินค้าโภคภัณฑ์บางตัว ลดลงมาแล้ว เช่น ราคาไม้ ทองแดง แต่ราคาบ้านและค่าเช่าบ้านในสหรัฐอเมริกาที่ยังไม่ลดลงมา ก็อาจทำให้เงินเฟ้อยังคงสูงได้
แล้วโหมดการลงทุนช่วงนี้ต้องปรับ หรือจับสัญญาณต่ออย่างไรดี ?
กองทุนบัวหลวงก็เชื่อว่าในระยะสั้น เงินจะยังไหลเข้าสู่สินทรัพย์เสี่ยงอย่างต่อเนื่อง และเงินยังอยู่ในหุ้นสหรัฐอเมริกา
โดยในเดือนที่ผ่านมา ผู้จัดการกองทุนหลายรายในสหรัฐอเมริกาเข้าลงทุนกลุ่ม Healthcare มากที่สุด
จากความต้องการหาการลงทุนในเชิงคุณภาพ และหุ้นใหญ่ที่ปลอดภัย และที่ผ่านมากลุ่ม Healthcare ยังถือเป็นกลุ่มที่ Laggard หรือเติบโตได้ช้า เมื่อเทียบกับกลุ่มอื่น
แต่ถ้าหากดูกลุ่มที่ผู้จัดการกองทุนมีการถือครองมากที่สุด ก็ยังคงเป็นกลุ่มเทคโนโลยี
ถ้าเทียบระหว่างเทคโนโลยีที่เป็น Hypergrowth อย่างเช่น หุ้น Tesla, Roku, Shopify กับ ดัชนี Nasdaq ที่ เป็นหุ้นเทคโนโลยีใหญ่ ๆ เช่น Microsoft, Facebook, Amazon ก็จะเห็นว่าในภาพรวม เงินไหลออกจากกลุ่ม Hypergrowth มาเข้าฝั่ง Nasdaq
ซึ่งปริมาณเงินส่วนที่ไหลเข้ามาในตลาด Nasdaq ยังอยู่ที่ประมาณค่าเฉลี่ย ซึ่งหมายความว่า ไม่น่าเกิดฟองสบู่หุ้นเทคโนโลยี อย่างที่หลายคนกังวล
โดย Nasdaq ให้ผลตอบแทนตั้งแต่ต้นปีเพิ่มมา 18% ประกอบกับหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี ยังมีผลกำไรที่ยังเติบโตต่อเนื่อง
กองทุนบัวหลวงมองว่า หุ้นกลุ่มเทคโนโลยีน่าจะให้ผลตอบแทนที่ดีได้ต่อไป แต่อาจต้องใช้วิธี Active Management หรือการบริหารพอร์ตเชิงรุก เพื่อหาบริษัทที่มูลค่ายังไม่สูงเกินไป
นอกจากนั้น กองทุนบัวหลวงยังมองว่าในสามเดือนสุดท้ายของปีนี้ เงินจะยังอยู่ในฝั่งตลาดพัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่น เนื่องจากมีความสามารถในการบริหารจัดการโควิด 19 ได้ดี และมีอัตราการฉีดวัคซีนสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้เศรษฐกิจกลับคืนสู่ภาวะปกติได้เร็ว
สำหรับรายงานผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนสหรัฐอเมริกา ในไตรมาสที่ผ่านมา ถือว่าเติบโตได้ดีมาก
ผลกำไรภาพรวมของตลาด ออกมาสูงกว่าตลาดคาดการณ์ไว้
อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีความเสี่ยงและความกังวลเรื่องเงินเฟ้อ จากห่วงโซ่การผลิตที่มีปัญหาและค่าจ้างที่สูงขึ้น ซึ่งกองทุนบัวหลวงมองว่า เป็นเพียงระยะสั้น และจะคลี่คลายในระยะปานกลางจนกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
คำถามต่อมาคือ S&P 500 จะสามารถไปได้ต่ออีกหรือไม่ และแพงไปแล้วหรือยัง ?
ดัชนี S&P 500 ปรับตัวขึ้นมา ตามกำไรของบริษัทที่ปรับตัวดีขึ้นมาต่อเนื่อง และนักวิเคราะห์มีการปรับประมาณการเป้าหมาย S&P 500 เป็น 4,600 (ตอนนี้อยู่ที่ราว ๆ 4,500) หมายความว่า ดัชนี S&P 500 จะยังคงไปต่อได้
อีกทั้งสหรัฐอเมริกายังเป็นตลาดการเงินที่สภาพคล่องสูงที่สุดในโลก รวมไปถึงมีบริษัทที่มีคุณภาพดีมากที่สุดในโลก ทำให้ P/E ที่ 20 เท่า ก็ยังสามารถลงทุนได้
แล้วควรลงทุนเมื่อไร ดอกเบี้ยขึ้น จับจังหวะอย่างไร ?
ถ้าเราลองย้อนไปดูสถิติ 12 เดือนก่อนที่จะมีการขึ้นดอกเบี้ย จะเห็นว่าตลาดสามารถปรับตัวขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง และสามารถปรับตัวขึ้นได้อีกหลังจากที่อัตราดอกเบี้ยปรับตัวขึ้นครั้งแรก
โดยกองทุนบัวหลวง แนะนำหนึ่งเทคนิคที่น่าสนใจ คือให้เข้าสะสมแบบมีวินัย ลงทุนแบบสม่ำเสมอ หรือ DCA เนื่องจากการจับจังหวะตลาดสหรัฐอเมริกา หรือไม่ว่าตลาดไหน ๆ เป็นเรื่องที่ทำได้ยาก
ทีนี้หลายคนคงกังวลว่า เงินทุนเริ่มไหลออกจากกลุ่ม Hypergrowth แล้วเงินส่วนนี้ย้ายไปอยู่ที่ไหน ?
จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือปัจจุบัน เงินทุนไหลออกจากหุ้นในกลุ่ม Hypergrowth แต่ปรากฏว่าดัชนี Nasdaq นั้นยังคงปรับตัวสูงขึ้น ที่เป็นแบบนี้เพราะเงินกำลังไหลไปยังบริษัทเทคโนโลยีรายใหญ่ ๆ นั่นเอง
หลายคนอาจมองว่า บริษัทเหล่านี้น่าจะได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด 19 แต่กลับกลายเป็นว่า จากวิกฤตินี้ทำให้คนหันมาพึ่งเทคโนโลยีกันมากขึ้น
โดยสังเกตได้จากรายได้ของบริษัทเทครายใหญ่ ที่ยังคงปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเรื่องของแผนในอนาคตที่น่าจับตามอง ทำให้นักลงทุนยังคงให้ความสนใจ
ยกตัวอย่างเช่น บริษัท Facebook และ Microsoft
Facebook เป็นบริษัทเจ้าของแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย เช่น Facebook, Instagram, WhatsApp ที่มีรายได้หลักมาจากค่าโฆษณาออนไลน์
โดยจุดเด่นของ Facebook คือ ความสามารถในการยิงโฆษณาที่ตรงกลุ่มเป้าหมายมากกว่าคู่แข่งรายอื่น ๆ พร้อมทั้งยังมีโอกาสเติบโตไปกับอุตสาหกรรมสื่อออนไลน์อีกมาก เนื่องจากโควิด 19 ก็เป็นตัวเร่งที่ทำให้คนหันมาพึ่งเทคโนโลยีกันมากขึ้น
สำหรับแผนในอนาคตของ Facebook นั้นยังคงเป็นเรื่องของแผนการปรับตัวให้บริษัทเป็น บริษัท “Metaverse” หรือโลกแห่งการผสมผสาน ระหว่างโลกจริงและโลกเสมือน อย่างเต็มตัว
โดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก CEO ของ Facebook มองว่า โลกของ Metaverse จะกลายเป็นอนาคตของโลกอินเทอร์เน็ต โดยล่าสุดก็ได้มีการเปิดตัว Horizon Workrooms ที่ให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าไปประชุมได้แบบเสมือนจริง ผ่านตัวละคร Avatar
มาต่อกันที่บริษัทซอฟต์แวร์ที่เราคุ้นเคยกัน อย่าง “Microsoft” ซึ่งในปีที่ผ่านมายังคงได้รับความสนใจจากนักลงทุน โดยมูลค่าบริษัทยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง
ทั้งนี้ก็เนื่องมาจาก ผลประกอบการในไตรมาสที่ผ่านมา ที่ยังคงเติบโต 17% จากบริการ Intelligence Cloud ที่เติบโตได้ดี
แต่ที่น่าสนใจคือเรื่องของแผนในอนาคต อย่างการทำโลกเสมือน หรือที่ทาง Microsoft เรียกว่า Digital Twin ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับการทำ Metaverse ของ Facebook แต่จะเป็นการก๊อบปี้ของจริงมาไว้บนโลกออนไลน์แทน เช่น จำลองสถานที่ จำลองตึก เพื่อนำมาใช้ทดสอบการบินของโดรนก่อนเอาออกไปใช้งานจริง
ทั้งนี้ในส่วนของ Theme โลกเสมือนนั้น อาจมีความเสี่ยง เรื่องที่จะต้องใช้เวลาอีกไม่น้อย กว่าที่เราจะได้สัมผัสแบบเต็ม ๆ
แต่นี่เป็นเหมือนการส่งสัญญาณว่าบริษัทเทคโนโลยีหลายรายกำลังตื่นตัวกับการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ และมีการเตรียมพร้อม มองหาช่องทางการเติบโตใหม่ ๆ หรือที่เรียกว่า New S-Curve อยู่ตลอดเวลา
มาถึงตรงนี้หลายคนอาจจะเริ่มสงสัยแล้วว่า แล้วกระแสเงินลงทุนที่ดูมีการเปลี่ยนทิศเปลี่ยนทางเช่นนี้ จะมีผลกระทบกับกองทุน B-USALPHA และ B-FUTURE แค่ไหน ?
สำหรับกองทุน B-USALPHA นั้น หลายคนอาจจะคิดว่ากองนี้มีแต่ หุ้นกลุ่มเทคโนโลยีอย่างเดียว
แต่ถ้ามาดูสัดส่วนของหุ้นในพอร์ตการลงทุนนั้นจะพบว่า กองทุนพยายามให้ความสมดุลระหว่างหุ้นกลุ่มเทคโนโลยี กับกลุ่มวัฏจักรในสหรัฐอเมริกา โดยกองทุนนี้มีแบ่งส่วนการลงทุนด้วยกันหลัก ๆ 3 อย่าง คือ
1. กลุ่ม Digital Advertising เช่น Facebook, Pinterest, Snap
2. กลุ่ม สถาบันการเงิน เช่น Morgan Stanley, PayPal, Square
3. กลุ่ม Technology Enabled หรือก็คือ ธุรกิจที่ใช้เทคโนโลยีสร้างนวัตกรรม เช่น Deere & Company, Freeport-McMoRan, Zillow Group
ทั้งกลุ่ม Digital Advertising และ Technology Enabled นั้นยังมีโอกาสเติบโตไปพร้อมกับการเปิดเมือง
ส่วนการลงทุนในกลุ่มสถาบันการเงิน จะช่วยสร้างสมดุล และลดความเสี่ยงของพอร์ตในเรื่องของอัตราเงินเฟ้อที่อาจปรับตัวสูงขึ้น ที่ทำให้กลุ่มของธุรกิจสถาบันการเงินนั้นได้รับประโยชน์ไปด้วย จากอัตราดอกเบี้ยที่จะปรับสูงขึ้น
ส่วนกองทุน B-FUTURE นั้น มีการกระจายลงทุนในธุรกิจ 3 กลุ่มคือ เทคโนโลยี Hypergrowth, อุตสาหกรรม และกลุ่มธุรกิจ Theme เปิดเมือง
โดยในส่วนของกลุ่ม Hypergrowth นั้น ทางผู้จัดการของกองทุน ก็ได้เน้นอย่างมาก กับการลงทุนในหุ้นที่ยังมี Valuation ไม่สูงจนเกินไป
นอกจากนี้ ทางกองทุนยังเน้นการลงทุนใน Theme อนาคต ไม่ได้เจาะจงในประเทศใดประเทศหนึ่ง โดยมีผู้จัดการกองทุนที่คอยปรับพอร์ตตามสถานการณ์การลงทุนต่าง ๆ
ด้วยนโยบายการบริหารแบบ Active Management ทำให้ B-FUTURE สามารถปรับเปลี่ยนพอร์ตให้เข้ากับสถานการณ์เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปได้ตลอดเวลา
เช่น หากมองว่าในระยะยาว หุ้นกลุ่มเอเชียหรือจีน ยังมีโอกาสเติบโตมาก ความกดดันของรัฐบาลจีนคลี่คลายลง แล้วยังมี Valuation ที่ไม่สูงเกินไป ทางกองทุนก็สามารถปรับน้ำหนักพอร์ตมาลงในหุ้นเอเชียหรือจีนเพิ่มขึ้นได้
ทำให้เห็นว่า B-FUTURE นั้นเป็นกองทุนที่สามารถทยอยสะสมเข้าได้เรื่อย ๆ และเหมาะสำหรับคนที่ไม่มีเวลามาก แต่อยากลงทุนในหุ้นแห่งอนาคต
สำหรับใครที่กำลังมองหาโอกาสในการลงทุน จากหุ้นในสหรัฐอเมริกา หรือหุ้นใน Theme อนาคต
ทั้งกองทุน B-USALPHA และ B-FUTURE ก็ยังเป็นอีกตัวเลือกที่น่าสนใจ ที่ช่วยให้นักลงทุนสามารถสร้างผลตอบแทน ได้โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยดูแล พร้อมคอยปรับพอร์ตการลงทุนให้ในระยะยาว ซึ่งการใช้กลยุทธ์ DCA ทยอยลงทุนทุกเดือนก็เป็นวิธีการที่น่าสนใจ
คำเตือน
การลงทุนมิใช่การฝากเงินและมีความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับเงินลงทุนคืนเต็มจำนวนเมื่อไถ่ถอน (ไม่คุ้มครองเงินต้น) / ผู้ลงทุนต้องศึกษาและทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยง ก่อนตัดสินใจลงทุน / กองทุนที่มีการลงทุนในต่างประเทศมิได้มีนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมด ทั้งนี้อยู่ในดุลยพินิจของผู้จัดการกองทุน ดังนั้นผู้ลงทุนอาจขาดทุนหรือได้กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการลงทุนในกองทุนดังกล่าว หรืออาจได้รับเงินคืนต่ำกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกได้
同時也有72部Youtube影片,追蹤數超過2,030的網紅數位時代Official,也在其Youtube影片中提到,公司簡介 QT Medical為2013年成立於美國的醫療科技公司,核心業務為醫療級12導程心電圖(ECG)系統和AI即時判讀服務。本公司專注於遠距醫療和居家照護的創新,為醫護人員和心臟病患提供革命性解決方案,可隨時隨地管理心臟健康。本公司旗艦產品QT ECG™已獲得美國FDA及歐盟CE認證,成功應...
cloud company 在 矽谷牛的耕田筆記 Facebook 的最讚貼文
ref: https://www.infoworld.com/article/3632142/how-docker-broke-in-half.html
這篇文章是作者訪談多位前任/現任的 Docker 員工,Docker 社群貢獻者, Docker 消費者以及市場分析師的相關心得文,目的是想要探討 Docker 商業模式的成功與失敗,到底目前 Docker 商業模式的進展是否有跡可循,以及我們可以從這些歷史決策中學到什麼?
Docker 不是輕量級虛擬化技術的開創者,但是卻是個將 Container 這個技術給推向所有開發者的重要推手,Docker 簡化整體的操作使得每個開發者都可以輕鬆的享受到 Container 的好處,但是從結果論來說, Docker 還是於 2019 年 11 月給 Mirantis 給收購了
到底 Docker 的商業模式哪一步走錯了,接下來就跟者作者一起去訪談與思考。
[Docker 的誕生之路]
Solomon Hykes(文章很多該人看法) 於 2008 年創辦一間專注提供 Platform as a Serivce 的公司, DotCloud,該公司希望讓開發者可以更簡易的去建置與部署開發的應用程式,該公司的底層技術後來也由 Docker 繼續沿用,當然創辦 Docker 的依然是 Solomon Hykes。
Docker 開源專案誕生之後吸引了全球目光,除了來自各地的使用與開發者外,大型公司如 Microsfot,AWS,IBM 等都也加入,但是就跟其他基於開源專案的軟體公司一樣, Docker 也面臨的商業模式的問題,這種類型的軟體公司到底要如何穩定獲利?
從 2021 往回看,一個很簡短的說法可以說是 Docker 的企業化管理工具 Docker Swarm 還沒有站穩腳步之時就遇到 Kubernetes 這個龐然怪獸,然後 Kubernetes 橫掃時間把所有 Docker Swarm 的市場全面清空,
當然真實版本一定更加複雜得多,絕對不是一句 Kubernetes 就可以概括的
[開源專案的商業化之路總是困難]
Docker 於 2014 年開始認真探討其商業策略,如何將其作為 Container 領頭羊的角色轉變成為一個可以帶來收入的策略,VC 創投的資金讓其有能力收購 Koality 與 Tutum,同年 Docker 也正式宣布第一個商業版本的支援計劃。
這一連串的計算誕生出了許多產品,譬如 Docker Hub 及 Docker Enterprise.
不過可惜的是上述的產品並沒有辦法從企業用戶手中帶來穩定的獲利,大部分的客戶相對於直接購買 Docker 解決方案,更傾向跟已經合作的系統整合商一起合作。
Solomon Hykes 今天夏天跟 infoworld 的一次訪談中提到,Docker 從來沒有推出一套真正的好的商業產品,原因是因為 Docker 並沒有很專注地去處理這塊需求。
Docker 嘗試每個領域都碰一小塊,但是卻發現想要同時維護一個開發者社群又要同時打造一個良好的商業產品是極度困難的, Dockre 花費大量的時間與金錢想要魚與熊掌兼得,但是最後才體會到這件事情幾乎不太可行,Hykes 也認為 Docker 應該要花更多時間去聆聽用戶的需求,而不是自己埋頭苦幹的去打造一個沒有滿足使用者需求的企業產品。
來自 Google 的開發推廣大使 Kelsev Hightower 於今年的訪談中提到,Docker 成功地解決問題,但是卻遇到了瓶頸,舉例來說,Docker 提供工具讓開發者可以 產生 Image, 提供地方儲存 Image,運行 Image 除了這些之外, Docker 還有可以發展的空間嗎?
Hykes 不贊同這個說法,譬如 RedHat 與 Pivotal 都很成功的將 Docker 整合到彼此的 PaaS 產品(OpenShift, Cloud Foundry),也成功從中獲利,所以 Docker 實際上有很多方式可以去獲利的,只是沒有成功而已。
從結果論來看, Docker 早期的商業夥伴,一家專注於 Travel 的科技公司, Amadeus 於 2015 年正式跟 Docker 分手改而投向 RedHat 的懷抱。
畢竟 RedHat 有提供更多關於 Container 相關的技術支援,畢竟對於一個想要踏入 Container 世界的企業,如何將應用程式容器化是第一步,而接下來則是更為重要的 Container Orchestration 解決方案,很明顯的 Docker 這個戰場上是完全被 Kubernetes 打趴的。
[Kubernetes 的決策]
Docker 拒絕擁抱 Kubernetes 被認為是一個致命的錯誤策略,Jérôme Petazzoni, Docker 第一位也是目前在位最久的員工提到, Docker 內部曾經針對 Kubernetes 的生態去探討過,當時內部的共識是 Kubernetes 架構過於複雜,而 Docker Swarm 的架構相對簡單,比較之下 Docker Swarm 應該更容易獲得商業上的成功。
從其他的訪談可以得知, Docker 曾經是有機會可以跟 Google 內的 Kubernetes 團隊一起合作發展 Kubernetes,並且有機會去掌握整個 Container 生態系的發展。如果這些合作可以順利發展,那 Docker GitHub 底下的第一個專案可能就會是 Kubernetes,而 Docker Swarm 可能根本就不會產生了。
Hykes 承認的說,那個時空背景(2014,2015)下, Docker 公司很難找到一個很好的 Container Orchestration 解決方案來滿足各種各戶的需求,而那時候的 Kubernetes 也很難斬釘截鐵的說就是那個解決方案, 畢竟那時候 Kubernetes 還非常早期,同時期還有很多開源專案,很難料想到
Kubernetes 最後會主宰整個 Container Orchestration 世界。
文章後半段還有非常多的討論,非常推薦大家去看全文,雖然沒有辦法改變歷史,但是從歷史中可以學到非常有趣的東西,特別是當被客戶問到 Docker/Kubernetes 的一些生態問題時,有這些歷史資料的可以讓你講起來更有迷之自信
cloud company 在 經濟部中小企業處 Facebook 的最佳解答
【創業大冒險】化工材料界的未來之星就是你🔥「2021 超越化學邊界,探索未來之星計畫」徵件說明會報名開始🎉🎉
來自德國的贏創工業(Evonik),這次與 #林口新創園AWS聯合創新中心 聯手合作❤️ 徵集臺灣化工材料界的新創團隊,提供Evonik企業資源、林口新創園及AWS雲端技術等,希望與新創共同打造 #新材料 #AI解決方案 #永續創新解決方案 ‼️
📌想知道更多嗎?請手刀速速報名!
👉https://reurl.cc/Mkvzov
📌活動時間:9/22(三)13:00-14:15
#贏創工業Evonik是誰
來自德國,擁有170多年歷史、全球領先的特種化工企業,1979年,與臺灣的國聯矽業化學股份有限公司簽署生產協定後,在臺灣在地深耕特種化工產品生產超過40年‼️
#林口新創園AWS聯合創新中心簡介
ST-AWS 聯合創新中心(JIC) Open Innovation Program與產業合作夥伴共同合作,提供進駐林口新創園之新創企業包含AWS雲端服務、政府、產業合作夥伴投入之各種支持💪
【Startup Adventure】Evonik & ST-AWS JIC “Building Future Stars to Lead Beyond Chemistry” is now calling for submissions!🎉🎉
Evonik Group, a Germany-based company with an over 170-year history, is one of the leading specialty chemicals companies.
Evonik has worked with ST-AWS JIC to launch a startup accelerator program. The program provides the industry expertise from Evonik, as well as cloud computing resources in Startup Terrace AWS JIC for startups to build innovative new solutions and products for the world. 💪
📌Online Orientation
➡️ https://reurl.cc/Mkvzov
📌Date: Wednesday, September 22, 13:00-14:15
cloud company 在 數位時代Official Youtube 的最佳解答
公司簡介
QT Medical為2013年成立於美國的醫療科技公司,核心業務為醫療級12導程心電圖(ECG)系統和AI即時判讀服務。本公司專注於遠距醫療和居家照護的創新,為醫護人員和心臟病患提供革命性解決方案,可隨時隨地管理心臟健康。本公司旗艦產品QT ECG™已獲得美國FDA及歐盟CE認證,成功應用於醫院、診所、安養院、居家照護、商用航空、以及許多遠距心血管疾病照護等市場。我們的願景是成為新世紀ECG技術的領導者,我們的使命是透過ECG和AI技術,守護所有人心臟健康。
QT Medical is a medtech company with a focus on high quality 12-lead diagnostic electrocardiogram (ECG) for use by healthcare professionals and patients. Cleared by the FDA in 2018 and CE marked in 2020, QT ECG™ is the world’s most compact 12-lead ECG system. With its simplicity, ease of use, mobile technology and cloud management, QT ECG™ brings hospital-grade ECG to homes, and enables doctors to make informed decisions anywhere, anytime. Powered by computer diagnostics and advanced machine learning, QT Medical will revolutionize cardiac care in the 21st century for millions of patients.
公司網站
https://www.qtmedical.com/zh-tw
cloud company 在 展榮展瑞 K.R Bros Youtube 的精選貼文
「渴」,是日常生活中的你我會常遇到的情景,不論是真實的口渴或靈感的乾渴,都需要我們用不同的方式與力量去突破問題。
很榮幸我們兄弟倆這次能被雪碧邀請重新詮釋「無渴不爽」這首歌曲,擔任「渴釋放音樂人」,我們將展現另一種對渴的演繹,並肩的展望,互補的力量,請跟著我們來一場「渴」的釋放吧。
快跟我們分享這個夏天你要怎麼釋放自己的「渴」?一邊分享,一邊來口雪碧,享受暢爽透心涼!
#透心涼渴釋放 #雪碧 #展榮展瑞
_
無渴不爽
堅定眼光 對準的方向
乘著我所有的倔強 去遠方破浪
我由我主張 渴自由釋放
活只此一場 不懂退讓
想被看見 我們都一樣
青澀後成長展望力量 自信的模樣
我由我主張 渴自由釋放
活自己之上 無反顧去闖
與其奢望誰 給我的獎賞
倒不如自己來犒賞全場
不會隨遇而安 不忘繼續瘋狂
人生片場 會是怎樣 聽我主張
只要我們想 白天也能見星光
我有的擔當 改變點步伐 活得更漂亮
我由我主張 渴自由釋放
盡情去釋放 活自己之上 驕傲地飛翔
把所有嚮往 注入我的信仰
當仁不讓 去無限暢想 迸發我的光芒
透心涼的爽 讓渴全部釋放
敢拚敢當 勇敢去闖 一場渴的釋放
_
監製 Executive Producer|飛碟娛樂有限公司 UFO Entertainment Co., Ltd.
_
製作人 Producer|黃少雍 Huang Shao Yong
詞 Lyricist|焦東
曲 Composer|Walter Marks
改編詞 Adapted lyrics|展榮
編曲 Arrangement|黃少雍 Huang Shao Yong
配唱製作 Vocal Producer|陳思函 Seehan Chen
和聲編寫 Background Vocal Arranger|陳思函 Seehan Chen
和聲 Background Vocal|陳思函 Seehan Chen、廖文強WenChiang Liao
錄音師 Recording Engineer|林志龍 Lin Linz
錄音室 Recording Studio| Coop Studio
混音師 Mix Engineer|黃少雍 Huang Shao Yong
混音錄音室 Mixing Studio|Coop Studio母帶後期處理工程師 Mastering Engineer|
戴建宇 Jungle K
母帶後期處理錄音室 Mastering Studio|FUEL Records Studio
_
製作公司 Production|子時制作 First Hour Studio
導演 Director|黃子然 Zen Huang
導演助理 Director's Assistant | 鄧婷予 Tingyu Deng
監製 Executive Producer|張語嫣 Yu Yen Chang
製片 Producer|魏佑丞 Yu Chen Wei
攝影師 D.O.P.|洪建凱 Chien Kai Hung 黃子然 Zen Huang
攝影組 AC|吳啟禎 Chi Chen Wu 吳啟瑞 Cloud Wu
美術 Production Designer|費筱雲 Hsiao Yun Fei
燈光師 Gaffer|楊景浩 Ching Hao Yang
燈光組 Best Boy|蘇志豪 Zhi-Hao Su 呂佑凱 Yukai Lu 楊朝翔 Chao Hsiang Yang
場務 Grip|葉鑑濤 Chien Tao Yeh 范子薺 Tea
防疫組 Covid team|張雅晴 Ya Ching Chang
九巴 Transportation|王志偉 Zhi-Wei Wang
燈光器材車 Van|林瑋 Wei Ling
攝影器材 Camera Equipment|品器有限公司 PIN-CHI Co.,Ltd
燈光器材 Light Equipment|貞寶企業有限公司 ZBTS Film Studio
剪接 Editor|王怡婷 Yi Ting Wang
後期 Post-Production|子時制作 First Hour Studio 沃野影像創作有限公司 Wildmotion
_
造型 Stylist|周筱筑 Judy Chou
助理 assistant|黃伃婕 Jemmy Huang
化妝 Make up|張鈺旻 Yumi Chang
髮型Hair Stylist|黃一峯 WlND
助理 assistant|許茲婷 Aluna
_
特別感謝 Special Thanks |Daniel Wong.
_
藝人經紀公司Artist Management Company:
藝人經紀Artist Management|飛碟娛樂有限公司 UFO Entertainment Co., Ltd.
_
本片拍攝期間均遵循中央疫情指揮中心發布之三級警戒的九大防疫規範
(工作人員實名制、工作人員全程配戴口罩、落實量體溫與酒精消毒)
■ 更多 展榮展瑞 相關消息:
展榮展瑞 官方 Facebook:https://fb.watch/6-BWvXldmq/
展榮 官方 Instagram:https://www.instagram.com/keelongxu/
展瑞 官方 Instagram:https://www.instagram.com/monday_rays/
展榮 官方 Tiktok:https://vt.tiktok.com/ZSJdxwHuj/
展瑞 官方 Tiktok:https://vt.tiktok.com/ZSJdQL9hf/
cloud company 在 Julia Wu Youtube 的精選貼文
加入我的私人通訊群組
Join my private message group: http://bit.ly/2skoNaf
數位聆聽:https://www.soundscape.net/a/16745
沒有你,我更好過
(此MV不是在疫情期間拍攝,請大家注意身體健康,回歸久違日常)
Written by Julia Wu / E.SO瘦子 / terrytyelee / Elin Lee
Keyboard by Elin Lee
Guitar by Tower da Funkmasta 陶逸群
Produced, Arranged and Recorded by terrytyelee
Recorded at Safehouse at Strawberry Park
Mixed and Mastered by Brian Paturalski
瘦子E.SO appears courtesy of (本色 and Rock Records Co., Ltd.)
影像製作公司 Video Production Company | 沙西米 RawnFresh
導演 Director | 一盞 EthanYIJAN
副導演 Assistant Director | 林鈺瑄 EML
導演助理 Assistant to Director | 范振寗 J.FAN
監製 Executive Producer | 馬瑞廷 Martin Ma
製片 Producer | 許雅淳 Sheyalips
執行製片 Line Producer | 蔡孟潔 Jessie Tsai、 小婉 Winn Du
製片助理 Production Assistant | 蔡長庭 Tsai Chang Ting
美術 Art Designer | 許雅淳 Sheyalips
執行美術 Set Decorator | 蔡孟潔 Jessie Tsai、 沁沁 Chin Fu
美術助理 Art Assistant | 小婉 Winn Du
攝影師 DoP | 莊竣瑋 Kevin Chuang
跟焦師 Focus Puller | 余書豪 Fishbook
攝影助理 Assistant Camera | 吳宗憲 WU ZONG XIAN、 邱宗哲 QIU ZONG ZHE
平面側拍師 Still Photographer | LOGRAPHY_TONY
燈光師 Gaffer | 曾鈺展 Zeng Yu Chan
燈光助理 Best Boy | 曾皓 Andrew Tseng、 朱家葆 BryanChu、 陳陽 Chen Yang、 張寧恩 N
剪接 Editor | 一盞 EthanYIJAN
調光 Colorist | 一盞 EthanYIJAN
ESO 化妝 ESO’s Make up | 化妝Lyraxie @so easy studio
ESO 髮型 ESO’s Hair | Johnson @Motivate hair salon
ESO 造型 ESO’s Artist Styling | Serena Chung
ESO 服裝協力 ESO’s Necessity Sense | Fendi, Levi’s, Puma KlassiC
ESO 經紀人 Artist Manager | Ham Lai
特別感謝 Special Thanks | 本色音樂
Julia 化妝 Julia’s Make up | 平平 Naomi
Julia 髮型 Julia’s Hair | 平平 Naomi
Julia 造型 Julia’s Artist Styling | 卓別林 Cloud
Julia 造型助理 Julia’s Stylist Assistant | 綸 Lulu
Julia 經紀 Artist Manager | ChynaHouse 華風數位 ChynaHouse
派對好友 Party People | 宋秉勤 Sunkis、 陳育蕾 Lei、 高爾賢 Alex Kao、 楊里唯 li wei、 賈皓鈞 DANIELCHIA、 Shiny Huang、 陳家信 Timothy Chen、 Andy Jhuang
Ju幫 The Ju Gang | Elin、 Ava
特別感謝 Special Thanks | 宜蘭法國小古堡 Chateau de France、 伴二手雜貨店 @ban_secondhand_goods、 Senseman、 C.Y.C手工提琴工作室、 百聲國際實業有限公司
#betteroffwithoutyou #JuliaWu #ESO
---------------
Julia 吳卓源 Facebook:https://www.facebook.com/JuliaWuMusic/
Julia 吳卓源 Instagram:https://www.instagram.com/juliawu94/
瘦子E.SO Facebook:https://www.facebook.com/MJ116Eso-239403772746744
瘦子E.SO Instagram:https://www.instagram.com/mjfceo/
ChynaHouse Facebook:https://www.facebook.com/ChynaHouseDigital/
ChynaHouse Instagram:https://www.instagram.com/chynahousedigital/
cloud company 在 15 Top Cloud Computing Service Provider Companies 的相關結果
Top Cloud Computing Companies · #1) Kamatera · #2) Serverspace · #3) phoenixNAP · #4) Indium Software · #5) pCloud · #6) Amazon Web Service (AWS) · #7) ... ... <看更多>
cloud company 在 Google Cloud: Cloud Computing Services 的相關結果
Meet your business challenges head on with cloud computing services from Google, including data management, hybrid & multi-cloud, and AI & ML. ... <看更多>
cloud company 在 Top 25 Cloud Computing Service Provider Companies (2021) 的相關結果
Cloud Service providers are vendors which provide Information Technology (IT) as a service over the Internet. Cloud computing is a term ... ... <看更多>