❗️#อัพเดท ... สถานการณ์ Covid-19 ในฮ่องกง
(4 เม.ย. 63 เวลา 10.45 น.)
.
สรุปข่าวเมื่อวานนะคะ (3 เม.ย. 63)
ฮ่องกงพบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 43 คน รักษาหาย 19 คน
#ไฮไลท์
- 42 คน เป็นพลเมืองฮ่องกง อีก 1 คน ยังระบุไม่ได้
- อายุระหว่าง 16-60 ปี
- 11 คน ยังไม่ได้รับการแอดมิท #ปัญหาเตียงไม่พอ
- 34 คน มีประวัติเดินทางไปต่างประเทศในระยะฟักตัว
- 28 คน ถูกระบุว่า ติดเชื้อจากต่างประเทศ โดยเคยไปที่ประเทศเหล่านี้; บราซิล อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ฟิลิปปินส์ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ แคนาดา ไอร์แลนด์ ปากีสถาน
- 18 คน เรียน/ทำงาน/อาศัยอยู่ต่างประเทศ และเดินทางกลับฮ่องกง โดยกลับมาจากอังกฤษ สหรัฐ ฟิลิปปินส์ ปากีสถาน
- 28 คน อยู่ระหว่างการกักตัวเองดูอาการ, 5 คน กักตัวอยู่ที่ศูนย์ของรัฐ
- 2 คน ถูกคัดกรองที่สนามบิน
- 1 คน สูญเสียการได้กลิ่น
- 12 คน ยังไม่แสดงอาการใดๆ
- 1 คน เป็นพนักงานภาคพื้นดิน (ground) สายการบินคาเธย์ แต่ยังไม่ชัวร์ว่า ติดเชื้อจากไหน เพราะเธอเคยไปร่วมงานศพ
- 5 คน เกี่ยวกับบาร์
1 คน เคยไป All Night Long (Tsim Sha Tsui)
1 คน เป็นเพื่อนของผู้ติดเชื้อที่เคยไป Insomnia (Lan Kwai Fong)
3 คน พนักงานในบาร์
- 1 คน เคยไปเที่ยวบาร์(ไม่ระบุชื่อ)ในฮ่องกง หลังจากกลับจากเนเธอร์แลนด์ ซึ่ง สธ ระบุไม่ได้ว่า ติดเชื้อจากเที่ยวบาร์หรือจากต่างประเทศ
- สธ เตือนให้ระวังการแพร่เชื้อในเทศกาลเชงเม้งสุดสัปดาห์นี้
- นักจุลชีววิทยาคนดัง (Dr. Yuen Kwok Yung) เตือนว่า
(1) ตัวเลขผู้ติดเชื้อในฮ่องกงน่าจะแตะ 1,000 เร็วๆ นี้ และมีโอกาสถึง 2,000
(2) คนฮ่องกง อย่าชิวมาก ตอนนี้เริ่มพบประมาณ 10% ไม่ใส่หน้ากากอนามัย
(3) คนของทางการบางคน ประเมินสถานการณ์เป็นบวกเกินจริง คิดว่า ฮ่องกงคุมสถานการณ์ได้ดีกว่าประเทศอื่น - เป็นความเห็นที่ผิด
(4) มีผู้ป่วยอายุน้อย ปอดถูกทำลาย อาการรุนแรงเช่นกัน เพราะฉะนั้น คนอายุไม่เยอะก็อย่าประมาท
- (5) โรงเรียนเปิดก่อน summer holiday - ไม่น่าเป็นไปได้
.
#ที่พักของผู้ติดเชื้อ
#1 Convention Plaza (Wan Chai)
#2 Block A, Elm Tree Tower (Tai Hang)
#3 Mognolia Mansion (Tin Hau)
#4 Block 8, Hee Wong Terrance (Kennedy Town)
#5 5th Street, Section I, Fairview Park (near Shenzhen border)
#6 Seung Lai House, Wah Lai Estate (Lai Chi Kok)
#7 N/A
#8 Ming Chuen House, Shui Chuen O Estate (Sha Tin Wai)
#9 Block 1, Garden Terrace (Mid-Levels)
#10 Tower 10, Caribbean Coast (near Tung Chung)
#11 Sha Kok Mei Village (Sai Kung)
#12 Hong Wo House, Cheung Hong Estate (Tsing Yi)
#13 Block 2, Hong Sing Garden (near Tseung Kwan O)
#14 Arezzo (Mid-Levels)
#15 Escapade (near Lan Kwai Fong)
#16 Dorsett Wanchai (near Happy Valley)
#17 Ka Kit House, Ka Lung Court (Pok Fu Lam)
#18 Novotel Century Hong Kong (Wan Chai)
#19 Block 1, South Wave Court (Wong Chuk Hang)
#20 Yale Lodge (Mid-Levels)
#21 Greenpeak Villa, Wong Chuk Shan San Tsuen (near Sai Kung)
#22 Novotel Century Hong Kong (Wan Chai)
#23 Ramada Hong Kong Harbour View Hotel (Sai Ying Pun)
#24 Tower A, Chungking Mansions (Tsim Sha Tsui)
#25 Peak Garden Court (near Mong Kok East)
#26 Peak Garden Court (near Mong Kok East)
#27 Tower 5, Aria (near Choi Hung)
#28 N/A
#29 Lan Kwai Fong Hotel (Central)
#30 Block 2, Hong Kong Garden (Tsing Lung Tau)
#31 Tower 14, Hong Kong Parkview (Tai Tam)
#32 Tower 7, Bauhinia Garden (Tseung Kwan O)
#33 Resiglow (Happy Valley)
#34 Hing Ping House, Tai Hing Estate (near Tuen Mun)
#35 Hang Shun Mansions (Wan Chai)
#36 Metropark Hotel Mongkok (near Prince Edward)
#37 Ping Sin House, Ping Tin Estate (Lam Tin) #38 N/A
#39 N/A
#40 St. Moritz (near University Station)
#41 35 Station Lane (Hung Hom)
#42 38 Jordan Road (Jordan/Yau Ma Tei)
#43 Block 2, Laguna City (near Kwun Tong)
.
#สถานที่ที่ผู้ติดเชื้อเคยไป
21 มีค David House (Wan Chai)
23 มีค MW Plaza (Tsim Sha Tsui)
24 มีค All Night Long bar (Tsim Sha Tsui)
26 มีค
- Nan Fung Centre (Tsuen Wan)
- Tsuen Wan Adventist Hospital (Tsuen Wan)
- Lokville Commercial Building (Tsim Sha Tsui)
27 มีค 10 Knutsford (Tsim Sha Tsui)
31 มีค Prince’s Building (Central)
รายงาน สธ >>
https://gia.info.gov.hk/general/202004/03/P2020040300642_339223_1_1585928468335.pdf
.
#ผู้รักษาหายรายที่155
- ชาวฮ่องกง เพศหญิง วัย 83 ปี มีโรคประจำตัว ไม่มีประวัติเดินทางในช่วงระยะฟักตัว
- อาศัยอยู่กับสามีที่ Seaview Garden, Block 1 (Tuen Mun)
- ผู้ติดเชื้อในครอบครัว นอกจากตัวเธอ คือ สามี(#66) ลูกสาว(#60) และ ลูกเขย(#57) สธ คาดว่า สามีเธอเป็นพาหะ
- Timeline ครอบครัวนี้:-
17 มค สามีพบลูกสาวและลูกเขยครั้งสุดท้าย
18-19 มค สามีเดินทางไป Dongguan
25 มค สามีเดินทางไป Dongguan อีกครั้ง และเริ่มไอ หายใจติดขัด
31 มค และ 7 กพ สามีพบแพทย์
8 กพ ลูกสาวเริ่มน้ำมูกไหล
10 กพ ลูกเขยเริ่มมีไข้และไอ
14 กพ ตัวเธอเริ่มน้ำมูกไหล และในเวลา 09.00-11.00 น. ได้ไปทานอาหารที่ร้าน Hoi Tin Garden (Tuen Mun) นั่งโต๊ะอยู่ที่ชั้น 1
15 กพ ตัวเธอล้มและกระดูกร้าวที่สะโพก จึงแอดมิทที่ Tuen Mun วอร์ดรักษาด้านกระดูก
16 กพ ผ่าตัดสะโพก ขณะเดียวกัน #ลูกเขยถูกระบุว่าติดเชื้อ บุคลากรในวอร์ดกระดูกจึงส่งตัวเธอมาที่วอร์ดดูอาการโควิด และตรวจหาเชื้อ (หมายเหตุ: ส่วนบุคลากรที่รักษาด้านกระดูก ถูกกักตัว แต่ไม่มีใครพบเชื้อ)
17 กพ #ลูกสาวถูกระบุว่าติดเชื้อ
18 กพ สามีแอดมิทที่ รพ Tuen Mun ในฐานะผู้ใกล้ชิดผู้ติดเชื้อ ผลตรวจครั้งแรกเป็น negative
19 กพ ตัวเธอถูกระบุว่าติดเชื้อ#63 อาการไม่รุนแรง
20 กพ ผล CT scan ปอดของสามี พบความเป็นไปได้ว่าติดเชื้อ ถูกระบุให้เป็นผู้ติดเชื้อ#66 แบบ probable case (รายแรกของฮ่องกง) อาการไม่รุนแรง
23 กพ สามีถูกระบุให้เป็นผู้ติดเชื้อแบบ confirmed case
3 เม.ย. ตัวเธอถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้ (ส่วนสมาชิกในครอบครัว รักษาหายกันหมดแล้ว)
- รวมเวลาที่เธอรักษาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 44 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่156
- หญิงชาวฮ่องกง วัย 59 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- ไปทริปอียิปต์ร่วมกับเพื่อนและสามี ซึ่งต่อมาถูกระบุว่า ติดเชื้อ#119 และ #120 เช่นกัน
- อาศัยอยู่กับสามีที่ On Hei House, Siu Hei Court (Tuen Mun)
- Timeline:
27 กพ - 7 มีค ไปทัวร์อียิปต์
6 มีค บินจากไคโร-ฮ่องกง ผ่าน อิสตันบูล ด้วยเที่ยวบิน TK695 และ TK70
7 มีค ถึงฮ่องกง เพื่อนเธอเริ่มไอ สามีเริ่มน้ำมูกไหล ตัวเธอเริ่มมีไข้
8 มีค เพื่อนเธอไปหาหมอที่ Alice Ho Miu Ling Nethersole Hospital (Tai Po) เธอและสามีไปหาหมอที่ Melody Garden Shopping Centre (Tuen Mun)
9 มีค เธอและสามีไปที่ Richland Garden Shopping Arcade (Tuen Mun) และไปหาหมอที่ รพ Tuen Mun
10 มีค ผลตรวจน้ำลายของเธอถูกระบุว่าติดเชื้อ#121 สามีและเพื่อนของเธอก็เช่นกัน ทุกคนอาการไม่รุนแรง
3 เม.ย ตัวเธอถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้ ส่วนสามีและเพื่อนยังไม่หาย
- รวมเวลาที่เธอรักษาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 24 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่157
- หญิงชาวฮ่องกง วัย 28 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- ปกติพำนักในลอนดอน ส่วนในฮ่องกงอยู่ที่ Rose De Cosa (Clearwater Bay)
- Timeline:
10 มีค โดยสารเที่ยวบิน BA31 ชั้นบิสเนสจากลอนดอนปลายทางฮ่องกง
11 มีค ถึงฮ่องกง
12 มีค เริ่มมีไข้และไอ หาหมอที่ รพ Tseung Kwan O
14 มีค ผลตรวจน้ำลายถูกระบุว่าติดเชื้อ#141 จากต่างประเทศ ถูกส่งไปรักษาที่ รพ United Christian (Kwun Tong) อาการไม่รุนแรง
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 20 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่158
- หญิงชาวฮ่องกง วัย 42 ปี
- อาศัยอยู่ที่ 8 Hok Ling Street (Ma Tau Kok)
- Timeline:
7-14 มีค เดินทางไปอังกฤษ เยอรมัน ออสเตรีย
11 มีค อยู่ออสเตรีย เริ่มรู้สึกวิงเวียน
12 มีค เริ่มปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
13 มีค เริ่มไอ นั่งรถจากออสเตรียไปมิวนิค และโดยสารเที่ยวบิน BA953 ไปลอนดอน แล้วต่อเครื่อง BA27 กลับฮ่องกง
14 มีค ถึงฮ่องกง ไปที่ In House (To Kwa Wan)
15 มีค แอดมิทที่ รพ Queen Elizabeth (Yau Ma Tei)
16 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#154 โดยน่าจะติดเชื้อในฮ่องกง
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 18 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่159
- ชายชาวฮ่องกง วัย 34 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- ที่พัก: Hyatt Centric Victoria Harbour (North Point)
- Timeline:
4-29 กพ ไปเยอรมัน
29 กพ - 1 มีค ไปสเปน
1-12 มีค กลับเยอรมัน และกลับฮ่องกง
16 มีค เริ่มมีไข้
18 มีค ถูกระบุว่าติดเชื้อ#169 โดยน่าจะติดเชื้อในฮ่องกง รักษาที่ รพ Ruttonjee (Wan Chai) อาการไม่รุนแรง
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 16 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่160
- พลเมืองฮ่องกง เพศชาย วัย 34 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- อยู่ใน cluster ปาร์ตี้ที่ Wong Chuk Hang
- ที่พัก: Hyatt Centric Victoria Harbour (North Point)
- Timeline:
4-29 กพ ไปเยอรมัน
29 กพ - 1 มีค ไปสเปน
1-12 มีค กลับเยอรมัน และกลับฮ่องกง
16 มีค เริ่มมีไข้
18 มีค ถูกระบุว่าติดเชื้อ#169 โดยน่าจะติดเชื้อในฮ่องกง รักษาที่ รพ Ruttonjee (Wan Chai) อาการไม่รุนแรง
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 16 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่161
- พลเมืองฮ่องกง เพศหญิง วัย 36 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- พำนักที่ รร Dorsett Kwun Tong
- อาการ: ไอ น้ำมูกไหล
- Timeline:
29 กพ -18 มีค อยู่ที่อังกฤษและอาฟริกาใต้
18 มีค เริ่มมีอาการ
21 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#274 จากต่างประเทศ รักษาอยู่ที่ รพ United Christian (Kwun Tong)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 13 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่162
- พลเมืองฮ่องกง เพศหญิง วัย 27 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง ไม่มีประวัติเดินทางในระยะฟักตัว
- อยู่ใน cluster ปาร์ตี้ที่ Wong Chuk Hang
- อาศัยอยู่ที่ 307 Jaffe Road (Wan Chai)
- Timeline:
15 มีค เริ่มไอ
22 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#277 โดยเป็นผู้ใกล้ชิดผู้ที่น่าจะติดเชื้อในฮ่องกง รักษาอยู่ที่ รพ Prince of Wales (Sha Tin)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 12 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่163
- พลเมืองฮ่องกง เพศหญิง วัย 18 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- กำลังศึกษาอยู่ที่อังกฤษ
- เข้าพักที่ รร Ramada Grand View (North Point)
- Timeline:
12 มีค เริ่มไอ
20 มีค กลับถึงฮ่องกง
22 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#297 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ United Christian (Kwun Tong)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 12 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่164
- พลเมืองฮ่องกง เพศหญิง วัย 26 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- อาศัยอยู่ที่อังกฤษ
- Timeline:
15 มีค เริ่มไอ
20 มีค กลับถึงฮ่องกง ถูกคัดกรองที่สนาม และส่งตัวไปที่ศูนย์ Asia World Expo
22 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#305 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ Alice Ho Miu Ling Nethersole (Tai Po)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 12 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่165
- พลเมืองฮ่องกง เพศหญิง วัย 20 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- กำลังศึกษาอยู่ที่อังกฤษ
- อาศัยอยู่ที่ Block 6, Parc Palais (Yau Ma Tei)
- Timeline:
18 มีค กลับถึงฮ่องกง
20 มีค เริ่มมีไข้
23 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#323 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ Queen Elizabeth (Yau Ma Tei)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 11 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่166
- พลเมืองฮ่องกง เพศหญิง วัย 27 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- ทำงานอยู่ในลอนดอน
- อาศัยอยู่ที่ Happy Valley 88
- Timeline:
18 มีค เริ่มสูญเสียการได้กลิ่นและรับรส
22 มีค กลับถึงฮ่องกง
26 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#420 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ Queen Mary (Pok Fu Lam)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 8 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่167
- พลเมืองฮ่องกง เพศชาย วัย 20 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- เรียนอยู่ที่นอร์เวย์
- อาศัยอยู่ที่ Ching Chak House, Ching Ho Estate (Sheung Shui)
- อาการ: หายใจติดขัด เจ็บหน้าอก
- Timeline:
31 ธค - 17 มีค อยู่ที่นอร์เวย์และในเมืองไทย กลับถึงฮ่องกง (ไม่ทราบวันที่แน่นอน) กักตัวเองตามคำสั่งของทางการ
23 มีค เริ่มมีอาการ
26 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#431 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ North District (Sheung Shui)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 8 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่168
- พลเมืองฮ่องกง เพศชาย วัย 25 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- อาศัยอยู่ที่ 8 Mercer Street (Sheung Wan)
- Timeline:
23 มค - 18 มีค อยู่ที่อังกฤษและสิงคโปร์
14 มีค เริ่มมีไข้
26 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#452 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ Queen Mary (Pok Fu Lam)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 8 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่169
- พลเมืองฮ่องกง เพศชาย วัย 24 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- อาศัยอยู่ที่ รร OZO Wesley (Wan Chai)
- Timeline:
12 -22 มีค อยู่ที่อังกฤษ เมื่อกลับถึงฮ่องกง (ไม่ทราบวัน) ถูกกักตัวดูอาการตามคำสั่งทางการ และเข้าพักที่ รร. OZO
27 มีค แม้ยังไม่มีอาการใดๆ แต่ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#469 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ United Christian (Kwun Tong)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 7 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่170
- พลเมืองฮ่องกง เพศชาย วัย 23 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- กำลังศึกษาอยู่ที่อังกฤษ
- อาการ: เจ็บคอ และไอ
- Timeline:
12 มีค เริ่มมีอาการ
26 มีค กลับถึงฮ่องกง ถูกคัดกรองที่สนาม และส่งตัวไปที่ศูนย์ Asia World Expo
27 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#505 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ United Christian (Kwun Tong)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 7 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่171
- พลเมืองฮ่องกง เพศชาย วัย 24 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- ที่อยู่: Fok Cheong Building (Quarry Bay)
- Timeline:
21 กพ - 11 มีค อยู่สหรัฐอเมริกา
21 มีค เริ่มสูญเสียการได้กลิ่น
28 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#534 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ United Christian (Kwun Tong)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 6 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่172
- พลเมืองฮ่องกง เพศหญิง วัย 20 ปี พื้นฐานสุขภาพแข็งแรง
- กำลังศึกษาอยู่ที่อังกฤษ
- ที่พัก: Grand City Hotel (Sai Ying Pun)
- Timeline:
16 มีค เริ่มสูญเสียการได้กลิ่น
24 มีค กลับถึงฮ่องกง เข้าโปรแกรมกักตัวเองตามมาตรการของทางการ
28 มีค ถูกระบุว่า ติดเชื้อ#556 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ North District (Sheung Shui)
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 6 วัน
.
#ผู้รักษาหายรายที่173
- พลเมืองฮ่องกง เพศชาย วัย 46 ปี มีโรคประจำตัว
- ที่พัก: Tower 2, Anglers' Bay (Sham Tseng)
- Timeline:
27 มีค กลับถึงฮ่องกงหลังจากเดินทางไปสหรัฐอเมริกา
29 มีค ยังไม่มีอาการใดๆ แต่ผลตรวจพบเชื้อ ถูกระบุว่าติดเชื้อ#607 จากต่างประเทศ รักษาที่ รพ Tuen Mun
3 เม.ย ถูกระบุว่า ออกจาก รพ ได้
- รวมเวลาใน รพ ตั้งแต่ถูกระบุว่าติดเชื้อ: 5 วัน
.
=================
#ภาพรวมฮ่องกง
=================
- ผู้ติดเชื้อคอนเฟิร์มแล้วแบบสะสม 845 คน
- แบบไม่คอนเฟิร์ม (probable) 1 คน (คนนี้ ออกจาก รพ แล้ว)
- เสียชีวิต 4 คน
- รักษาหาย 173 คน
.
==================
#สถิติ
=================
แล้วจะมาอัพเดทต่อไปค่ะ
.
#eatlike852 #covid19hongkong
同時也有9部Youtube影片,追蹤數超過36萬的網紅Club gig,也在其Youtube影片中提到,ความระแวง กับความยึดติดในความรัก คลิปพิเศษของ clubgig นะครับ กับอาจารย์หมอ ดร แพน สุ่นสวัสดิ์ (อ. สอนเรื่อง Neuron Anatomy สมองและประสาท) ที่จะมาไขค...
「asia university hospital」的推薦目錄:
- 關於asia university hospital 在 Eat with Pal Li - พี่แป๋วพากินเที่ยวสิงคโปร์ฮ่องกง Facebook 的精選貼文
- 關於asia university hospital 在 葉漢浩 Alex Ip Facebook 的最佳貼文
- 關於asia university hospital 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 的最讚貼文
- 關於asia university hospital 在 Club gig Youtube 的最佳貼文
- 關於asia university hospital 在 Club gig Youtube 的最佳貼文
- 關於asia university hospital 在 Club gig Youtube 的最佳貼文
- 關於asia university hospital 在 Asia University, Taiwan - Home - x Facebook 的評價
- 關於asia university hospital 在 AT 711 STORE OF ASIA UNIVERSITY HOSPITAL TAICHUNG ... 的評價
asia university hospital 在 葉漢浩 Alex Ip Facebook 的最佳貼文
被撤回的文章,英文版如下,please Share to your network.
The English version of Prof Yuen and Prof Lung's article is already available: 👇🏻
18 Mar 2020: David Christopher Lung, Yuen Kwok-yung: Pandemic Originated from Wuhan; Lesson from 17 Years Ago Forsaken
Winter of Jihai (2019), a virus began in Wuhan. Comes spring of Gengzi (2020), an epidemic broke out in Hubei. Within China, there were 80,000 confirmed cases, and 3,000 deaths. People were confined in their homes and the epidemic only began slowing down towards the end of the month, yet the virus had leaked to the world outside before it could be stopped. In March, it was a pandemic, only it was announced too late by the World Health Organization (WHO). Countries lacked measures and reserves, and the pandemic swept across the globe. Singapore, Hong Kong, Macau, and Taiwan were spared from the pandemic with continuous sprinkles of overseas imported cases and small groups, but have not yet fallen.
This pandemic came from a virus, shaped like a corona, hence named Coronavirus. Since 2015, WHO has avoided using names of people, places, animals, food, culture, occupation, etc., to name illnesses. For this one, the “year” was used for differentiation, COVID-19. In the naming of viruses, International Committee on Taxonomy of Viruses (ICTV) analyses only the genome sequencing meticulously and disregards the other aspects. Since the genome sequence of this Coronavirus was “not novel enough”, it belongs in the same sisterhood with the SARS Coronavirus, also known as SARS 2.0 (SARS-CoV-2). Local and international media call it the Wuhan Coronavirus or Wuhan Pneumonia, simple and straight-forward, which is not incorrect.
Much controversy has resulted in society regarding the name of this pandemic. In fact, the illness was named by WHO, while the virus was named by ICTV. Nicknames are conventional, as long as they are clear and understood. In scientific discussions or academic exchanges, COVID-19 or SARS-CoV-2 must be used. In daily public communications or media wordings, Wuhan Coronavirus or Wuhan Pneumonia are both conventional, easy to understand, and great for communication purposes.
The Pandemic of Gengzi, an Origin in Wuhan
Around 75% of the newly discovered infectious diseases originated from wild animals. Among the few that could infect mammals is the Coronavirus, whose ancestral virus originated from bats or avians. Both have the ability to fly thousands of miles to the place the virus was first discovered, therefore the naming of a virus would also include its place of origin. To investigate the origin of a virus, the correct and objective way is to isolate the virus from the animal host. Unfortunately, since Huanan Seafood Wholesale Market was eradicated early on, the wild animals in the market were already gone by the time researchers had arrived to collect samples. The identities of the natural host and the intermediate host became a mystery. According to the locals, the wild animals sold within the Market came from all over China, Southeast Asia, and Africa (smuggled) to be distributed from there. The ancestral virus of the Wuhan Coronavirus cannot be determined.
Using genome sequencing to determine its origin, a bat Coronavirus stand (RaTG13) was found to be extremely similar to the Wuhan Coronavirus, with a sequencing similarity of 96%, therefore it is believed to be the ancestral virus stand of this Wuhan Coronavirus. This particular virus strand was obtained and isolated from Yunnan bats (Rhinolophus sinicus), and bats are believed to be the natural host of this Wuhan Coronavirus. Epidemiology clearly indicated Huanan Seafood Wholesale Market as the amplification epicenter, where there was a huge possibility that the virus had cross-infected between the natural host and the intermediate host, and then mutated within the intermediate host to adapt to the human body, followed by human-to-human infections.
The identity of the intermediate host remains unknown, but genome sequencing indicated that the Spike Receptor-binding domain of the Wuhan Coronavirus has a 90% similarity to that of the pangolin Coronavirus strand. Although the pangolin could not be confirmed as the intermediate host, it is highly possible that this pangolin Coronavirus strand donated Spike Receptor-binding domain DNA (or even the entire sequence) to the bat Coronavirus strand. Though gene shuffling recombination, the novel Coronavirus was born.
Wild Animal Market, the Origin of Innumerable Viruses
The 2003 SARS virus originated from Heyuan, became an epidemic in Guangdong, and passed to Hong Kong. The SARS Coronavirus was found in civets, and China clearly banned the trading of wild animals afterward. 17 years on, the wild animal market has run amuck. The Chinese have outright forgotten the lessons from SARS and have allowed a live wild animal market to exist within the centre of a highly developed city, with wild animals being cooked and eaten in brought daylight – simply astonishing. The feces of the animals within a live wild animal market contain a large amount of germs and viruses. With a crowded environment, vile hygiene, and a mix of wild animal species, gene shuffling and mutation could easily occur in viruses, therefore these markets must be banned.
Reform of the wet markets should be a focus of epidemic prevention. The mainland Chinese and Hong Kong governments must quickly improve these environments by enhancing ventilation and pest control. Before the complete elimination of live-animal markets, animal feces must be well handled to minimise the chances of gene shuffling in viruses.
The online rumour that the virus originated from USA was absolutely groundless, delusional. Stop spreading the falsity before we expose ourselves to ridicule. To remain calm before a pandemic, informational transparency is of the utmost importance. With calm and objective analysis, refrain from parroting others and spreading hearsay. Not strictly enforcing the closure of all wild animal markets after SARS was a grave mistake. In order to defeat an illness, one must own up to the mistakes and face the truths. Stop committing the same mistakes and putting the blame onto others. The Wuhan Coronavirus was a product of the inferior culture of the Chinese people: excessive hunting and ingesting wild animals, inhumane treatment of animals, disrespecting lives. Continuing to devour wild animals for human desires, the deep-rooted bad habits of the Chinese people are the real origin of the virus. With this attitude, in a dozen years, SARS 3.0 is bound to happen.
(Dr Lung graduated in 2004 from the University of Hong Kong, Faculty of Medicine with distinction in Medicine. He currently works in the Hong Kong Children’s Hospital, where he built up the microbiology team and lab. Yuen Kwok-yung is a Professor and Chair of Infectious Diseases of the Department of Microbiology of the University of Hong Kong)
(Original image by Ming Pao)
https://news.mingpao.com/pns/%e8%a7%80%e9%bb%9e/article/20200318/s00012/1584470310596/%e9%be%8d%e6%8c%af%e9%82%a6-%e8%a2%81%e5%9c%8b%e5%8b%87-%e5%a4%a7%e6%b5%81%e8%a1%8c%e7%b7%a3%e8%b5%b7%e6%ad%a6%e6%bc%a2-%e5%8d%81%e4%b8%83%e5%b9%b4%e6%95%99%e8%a8%93%e7%9b%a1%e5%bf%98
asia university hospital 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 的最讚貼文
【國際肌少症研究診斷標準彙整】
近年來,關於肌少症(sarcopenia)的研究陸續在各個專科期刊發表。然而,國際間對於肌少症的診斷標準仍莫衷一是,造成臨床使用上的困惑。目前常見的肌少症研究小組包括歐盟肌少症小組 [1] (European Working Group on Sarcopenia in Older People, EWGSOP),國際肌少症小組[2] (International Working Group on Sarcopenia, IWGS)和美國國衛院生物標誌聯盟肌少症研究[3] (The Foundation for the National Institutes of Health Biomarkers Consortium Sarcopenia Project, FNIH)。
肌少症對年長者的健康影響甚鉅,顯著影響其行動能力和生活品質,並且增加失能及死亡風險。了解肌少症診斷的研究現況讓我們能發展出更精準的篩檢與介入方案,給予適當的飲食與運動建議,以促進長者的身體機能與心智健康,達到成功老化的願景。
有鑑於亞洲人在身體組成上和歐洲人有顯著的差異,「台北榮民總醫院高齡醫學中心陳亮恭主任」於2013年號召亞洲各國老人醫學領域的翹楚,組成了亞洲肌少症專家小組(Asian Working Group for Sarcopenia, AWGS),召開多次專家會議後提出適合亞洲人之肌少症診斷標準 [4]。
【國際肌少症研究診斷標準彙整】(臺灣老年醫學暨老年學雜誌 2016;11(4):213-224)彙整了肌少症重要研究以及診斷準則,以供醫師先進們參考比較,完整全文,詳: http://bit.ly/2lvGU9y
【Reference】
>>圖1 歐盟肌少症小組(EWGSOP)和亞洲肌少症小組(AWG)肌少症篩檢流程比較
>>表 1 國際常用的肌少症診斷標準
>>表 2 IWGS 初步評估肌少症的高風險因子
>>表 3 亞洲肌少症小組(AWGS)建議肌少症篩檢對象
[1] Cruz-Jentoft AJ, Baeyens JP, Bauer JM,et al: Sarcopenia: European consensus on definition and diagnosis Report of the European Working Group on Sarcopenia in Older People. Age and ageing 2010; 39: 412-23.
[2] Fielding RA, Vellas B, Evans WJ, et al: Sarcopenia: an undiagnosed condition in older adults. Current consensus definition: prevalence, etiology, and consequences. International working group on sarcopenia. J Am Med Dir Assoc 2011; 12: 249-56.
[3] Studenski SA, Peters KW, Alley DE, et al: The FNIH sarcopenia project: rationale, study description, conference recommendations, and final estimates. J Gerontol A Biol Sci Med Sci 2014; 69: 547-58.
[4] Chen L-K, Liu L-K, Woo J, et al: Sarcopenia in Asia: consensus report of the Asian Working Group for Sarcopenia. J Am Med Dir Assoc 2014; 15: 95-101.
【國衛院論壇2019年度議題「人口高齡化與社會福利-社會投資的反思」簡介】
➤➤議題召集人:施世駿 教授
➤➤自從政治民主化以後,台灣走上福利擴張的道路,具備媲美西方福利國家的所有特質;不但在給付上大幅提高,制度上也涵蓋所有人口群體,成為東亞新興福利國家的代表。在經歷制度完善的階段同時,東亞福利國家卻也開始面臨新的挑戰,主要是內在人口結構的老化、外在全球化所帶來的勞動市場結構轉型,以及伴隨而來的新社會風險議題,從而出現制度調適的壓力。人口老化直接帶來三個問題,第一是勞動力的不足;第二是社會安全體系難以為繼;第三是長期照顧工作的能量不足。人口高齡化反映舊有的台灣社會結構已經無法面對新的社會情勢,必須在制度面及社會價值面進行根本改變,將社會政策思維從傳統的待遇給付轉移到人力資本投資,並且顧慮到不同性別、家庭形態、世代之間的負擔平衡,以因應此一本質的變化。
➤➤http://bit.ly/2YXEXSz
1.來源:
➤➤資料/圖片
∎【國際肌少症研究診斷標準彙整】
臺灣老年醫學暨老年學雜誌 2016;11(4):213-224
鄭丁靚1 黃安君1,2 彭莉甯1
1. 台北榮民總醫院高齡醫學中心
2. 國立陽明大學高齡與健康研究中心
>>http://bit.ly/2lvGU9y
2. 【國衛院論壇出版品】
∎國家衛生研究院論壇出版品-電子書(PDF)-線上閱覽: http://forum.nhri.org.tw/forum/book/
3. 【購買資訊】
∎ 財團法人國家衛生研究院 (http://book.nhri.org.tw )
∎ 國家書店(https://goo.gl/jweQNK )
∎ 五南圖書 教育/傳播網 (https://goo.gl/NCt2n5 )
(更多論壇出版品詳-- http://book.nhri.org.tw/ )
#國家衛生研究院 #國衛院 #國家衛生研究院論壇 #國衛院論壇 #衛生福利部 #國民健康署 #健保署 #中央健康保險署 #五南圖書 #國家書店 #五南網路書店
#肌少症 #國際肌少症研究診斷標準彙整 #sarcopenia #歐盟肌少症小組 #國際肌少症小組 #美國國衛院生物標誌聯盟 #失能 #死亡 #適當的飲食與運動建議 #促進長者的身體機能與心智健康 #成功老化的願景 #陳亮恭 #老人醫學 #亞洲肌少症專家小組
衛生福利部
國民健康署
衛生福利部社會及家庭署
財團法人國家衛生研究院
國家衛生研究院 / 國家衛生研究院 / 國家衛生研究院
國家衛生研究院-論壇
台北榮民總醫院Taipei Veterans General Hospital高齡醫學中心
國立陽明大學 National Yang-Ming University高齡與健康研究中心
#臺灣老年醫學暨老年學雜誌
European Working Group on Sarcopenia in Older People, EWGSOP
International Working Group on Sarcopenia, IWGS
The Foundation for the National Institutes of Health
Biomarkers Consortium Sarcopenia Project, FNIH
Asian Working Group for Sarcopenia, AWGS
asia university hospital 在 Club gig Youtube 的最佳貼文
ความระแวง กับความยึดติดในความรัก
คลิปพิเศษของ clubgig นะครับ
กับอาจารย์หมอ ดร แพน สุ่นสวัสดิ์ (อ. สอนเรื่อง Neuron Anatomy สมองและประสาท) ที่จะมาไขความลับให้เราเข้าใจในเรื่องการทำงานของสมองที่ส่งผลต่อความรัก และที่มาของปัญหาต่างๆในความรักพร้อมแนะนำวิธีแก้ไข
ปรึกษาปัญหาความรัก กับโค้ชกิ๊กผ่านไลน์ฟรี หรือสอบถามคอร์สเรียนเพื่อพัฒนาตนเอง ที่ตอบโจทย์ปัญหาความสัมพันธ์ในทุกๆด้าน คลิกที่นี่เลยครับ
https://line.me/R/ti/p/%40clubgig
- - - - - -
คลิปนี้ต้องขอบคุณ อ.ดร.ทพญ. แพน สุ่นสวัสดิ์ เป็นอย่างสูง
สำหรับประวัติและผลงานของอาจารย์หมอแพนนะครับ
อ. ดร. ทพญ. แพน สุ่นสวัสดิ์
- อาจารย์ประจำภาควิชากายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) คณะทันตแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประวัติและผลงาน
2014-Present Lecturer at Anatomy Department, Faculty of Dentistry, Mahidol University
Advisory board of Asia Pacific Microscopy (APMC) 2020
2011-2013 Specialist at Cryoelectrontomography at Okinawa Institute of Technology
Postdoc Associate in Animal Behavior (Mouse Biology and immunohistochemistry)
2010-2011 Postdoc Associate in Molecular and cellular Biology, University of California, Davis
2008-2010 Postdoc, Clinical Microbiology, Karolinska Institute, Stockholm, Sweden
2003-2008 Ph.D. in Molecular and Cellular Biology at University of California, Davis and Anatomy at Mahidol University
2002 Head of Dental Department at Khong Hospital, Nakornrachasrima, Thailand
2001 Maxillofacial surgery Trainee; Maharaj Hospital in Nakornrachasrima province, Thailand
1995-2001 Doctor of Dental Surgery, Chulalongkorn University, Thailand
asia university hospital 在 Club gig Youtube 的最佳貼文
ความทุกข์ของแม่ ที่ส่งผลให้เกิดบาดแผลในใจของลูก
คลิปพิเศษของ clubgig นะครับ
กับอาจารย์หมอ ดร แพน สุ่นสวัสดิ์ (อ. สอนเรื่อง Neuron Anatomy สมองและประสาท) ที่จะมาไขความลับให้เราเข้าใจในเรื่องการทำงานของสมองที่ส่งผลต่อความรัก และที่มาของปัญหาต่างๆในความรักพร้อมแนะนำวิธีแก้ไข
ปรึกษาปัญหาความรัก กับโค้ชกิ๊กผ่านไลน์ฟรี หรือสอบถามคอร์สเรียนเพื่อพัฒนาตนเอง ที่ตอบโจทย์ปัญหาความสัมพันธ์ในทุกๆด้าน คลิกที่นี่เลยครับ
https://line.me/R/ti/p/%40clubgig
- - - - - -
คลิปนี้ต้องขอบคุณ อ.ดร.ทพญ. แพน สุ่นสวัสดิ์ เป็นอย่างสูง
สำหรับประวัติและผลงานของอาจารย์หมอแพนนะครับ
อ. ดร. ทพญ. แพน สุ่นสวัสดิ์
- อาจารย์ประจำภาควิชากายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) คณะทันตแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประวัติและผลงาน
2014-Present Lecturer at Anatomy Department, Faculty of Dentistry, Mahidol University
Advisory board of Asia Pacific Microscopy (APMC) 2020
2011-2013 Specialist at Cryoelectrontomography at Okinawa Institute of Technology
Postdoc Associate in Animal Behavior (Mouse Biology and immunohistochemistry)
2010-2011 Postdoc Associate in Molecular and cellular Biology, University of California, Davis
2008-2010 Postdoc, Clinical Microbiology, Karolinska Institute, Stockholm, Sweden
2003-2008 Ph.D. in Molecular and Cellular Biology at University of California, Davis and Anatomy at Mahidol University
2002 Head of Dental Department at Khong Hospital, Nakornrachasrima, Thailand
2001 Maxillofacial surgery Trainee; Maharaj Hospital in Nakornrachasrima province, Thailand
1995-2001 Doctor of Dental Surgery, Chulalongkorn University, Thailand
asia university hospital 在 Club gig Youtube 的最佳貼文
คลิปพิเศษของ clubgig นะครับ
กับอาจารย์หมอ ดร แพน สุ่นสวัสดิ์ (อ. สอนเรื่อง Neuron Anatomy สมองและประสาท) ที่จะมาไขความลับให้เราเข้าใจในเรื่องการทำงานของสมองที่ส่งผลต่อความรัก และที่มาของปัญหาต่างๆในความรักพร้อมแนะนำวิธีแก้ไข
ปรึกษาปัญหาความรัก กับโค้ชกิ๊กผ่านไลน์ฟรี หรือสอบถามคอร์สเรียนเพื่อพัฒนาตนเอง ที่ตอบโจทย์ปัญหาความสัมพันธ์ในทุกๆด้าน คลิกที่นี่เลยครับ
https://line.me/R/ti/p/%40clubgig
- - - - - -
คลิปนี้ต้องขอบคุณ อ.ดร.ทพญ. แพน สุ่นสวัสดิ์ เป็นอย่างสูง
สำหรับประวัติและผลงานของอาจารย์หมอแพนนะครับ
อ. ดร. ทพญ. แพน สุ่นสวัสดิ์
- อาจารย์ประจำภาควิชากายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) คณะทันตแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประวัติและผลงาน
2014-Present Lecturer at Anatomy Department, Faculty of Dentistry, Mahidol University
Advisory board of Asia Pacific Microscopy (APMC) 2020
2011-2013 Specialist at Cryoelectrontomography at Okinawa Institute of Technology
Postdoc Associate in Animal Behavior (Mouse Biology and immunohistochemistry)
2010-2011 Postdoc Associate in Molecular and cellular Biology, University of California, Davis
2008-2010 Postdoc, Clinical Microbiology, Karolinska Institute, Stockholm, Sweden
2003-2008 Ph.D. in Molecular and Cellular Biology at University of California, Davis and Anatomy at Mahidol University
2002 Head of Dental Department at Khong Hospital, Nakornrachasrima, Thailand
2001 Maxillofacial surgery Trainee; Maharaj Hospital in Nakornrachasrima province, Thailand
1995-2001 Doctor of Dental Surgery, Chulalongkorn University, Thailand
asia university hospital 在 Asia University, Taiwan - Home - x Facebook 的美食出口停車場
Asia University is a visionary, forward-looking, and fast-growing school. www.asia.edu.tw 500, Lioufeng Rd., ... China Medical University Hospital, Taiwan. ... <看更多>