🙋วิ่งแล้วปวดน่อง ทำไงดี?
#Goodquestion คำถามนี้ดีมากๆ มาลุยกัน
🔴เบื้องต้นพักก่อน แล้วค่อยๆวิเคราะห์กันไปทีละข้อครับ
🔴 ปวดทุกครั้ง แบบ DOMS (วิ่งเสร็จก็ปวดไปวันสองวันใช่ไหม) ถ้าใช่ โอเค ผมอาจจะพอช่วยได้ เพราะอาจจะเกิดมาจาก
Muscle Weakness - กล้ามเนื้อบางมัดอ่อนแอ
Muscle Tightness - กล้ามเนื้อบางมัดตึง
Movement Deficiency - การเคลื่อนไหวอาจจะไม่ค่อยดี
เอาเป็นว่าตราบใดก็ตามที่ไม่ใช่ Accute / Chronic Injury หรืออาการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นมาก่อน
ก็ยังอยู่ใน Scope ของผมที่สามารถช่วยได้ในฐานะ Certified Corrective Exercise Specialist (เรียนมา ก็ขอใช้ความรู้หน่อย 🤓)
🔴เรายังไม่พูดถึงอาการ Shin Splinth นะ เดี๋ยวจะลึกเกินไปกว่านี้
บทความนี้ ผมเขียนตามหลักการทำงาน และความน่าจะเป็น ตามที่เรียนมา
ส่วนโค้ชท่านอื่นๆ ช่วยเสริมในส่วนที่พี่อาจจะไม่ได้พูดถึงด้วยนะครับ
เพราะส่วนตัว ผมไม่ใช่สายวิ่ง 100% อาจจะตอบได้ไม่ครบ
🔴 ปวดน่องฝั่งไหน?
ด้วยความที่บางทีเราเรียกน่อง และหน้าแข้ง รวมๆกัน เลยต้องขอแบ่ง ระบุให้ชัดเจนก่อน
ก่อนอื่นตามหลัก Anatomy เราลองแบ่งน่องเป็น 2 ฝั่ง คือหน้า และหลัง
เผื่อใครชอบเรียน เอาชื่อไป
ด้านหน้าเรียกว่า Tibialis Anterior
ด้านหลัง เรียกว่า Gastrocnemius + Soleus หรือเรียกรวมๆกันว่า Gastrocsoleus
Functions ในการทำงาน ก็น่าจะเข้าใจได้ไม่ยาก คือด้านหน้า กระดกปลายเท้าชี้หน้าเรา เรียกว่า Dorsiflexion
ส่วนด้านหลัง ก็เหยียดเท้าลง เรียกว่า Plantarflexion
🔴ด้านหน้า มักจะปวดเวลาเราวิ่งนานๆ เพราะเราต้องกระดกปลายเท้าเวลาวิ่ง
ลองนึกภาพ ถ้าเราไม่กระดกปลายเท้า ปลายเท้าเราก็จะขูดกับพื้น
ถ้าปวดด้านหน้า มักจะมาจากกล้ามเนื้อมัดนี้อ่อนแรง
อาจจะต้องฝึก กระดกเท้า และ Warm Up การกระดกเท้าก่อนออกกำลังกาย
🔴 ปวดด้านหลัง อันนี้เพราะเวลาเราวิ่ง เราต้องเหยียดเท้าเพื่อออกแรงส่งให้เราไปข้างหน้า
พอทำซ้ำๆ มันก็อาจจะล้าได้ ทีนี้ ข้อนี้ถ้าวิเคราะห์กันแบบ “เอาให้หายขาด” จะยาวมากกกกก
ไอเดียหลักๆคือต้องตั้งคำถามว่า “ทำไมถึงต้องใช้น่องเยอะขนาดนั้น” ส่วนใหญ่ๆ ก็มีข้อสันนิฐานว่า อาจจะเป็นเพราะกล้ามเนื้อก้น และ Core Muscles ทำงานได้ไ่ม่ค่อยดี
👩🏻⚕️Physiotherapist : ปอยเสริม: พี่ฟ้าอย่าลืมคำนึงถึงข้อนี้ด้วย เวลาน่องตึง จะทำให้กล้ามเนื้อหน้าแข้งทำงานหนัก (Gastrocsoleus ตึง ทำให้ Tibialis Anterior ทำงานหนักกว่าเดิม)
ถ้าในเคสนี้ แนะนำให้ยืดน่องเพิ่ม เพื่อเพิ่ม Ankle Mobility
🔴 สรุปเพื่อไม่ให้บทความนี้ยาวเกินไป
ผมลิสต์สิ่งที่ต้องทำ เป็น ACTIONS ที่อยากให้ลองมาตามนี้ครับ
✅ พักก่อน แล้วอ่านบทความนี้สัก 2 รอบ ทำความเข้าใจ
✅ เพิ่ม Warm Up น่องก่อนออกกำลังกาย เช่น กระดก เขย่งเท้า 5-10 reps x 2-3 sets
✅ เพิ่ม Hip Mobility (ทำ Greatest Stretch ก่อนวิ่ง)
✅ อย่าลืมยืดน่อง (ทั้งสองฝั่ง) หลังวิ่งด้วย 15-30 วิ x 2-3 sets
✅ ลองสังเกตุตัวเอง ว่าเจ็บ ตอนวิ่งเร็วแค่ไหน
✅ เพิ่มท่าบริหารกล้ามน่องเข้าไป
✅ จดบันทึก ACTIONS ที่เราทำ จะได้เอามาศึกษา และปรึกษาโค้ชได้ในอนาคต
ปล. นี่เป็นบทความที่ท้าทายความรู้ผมมาก เพราะผมก็ไม่ได้วิ่งเก่งขนาดนั้น
แต่ทั้งจากแหล่งที่เรียนมา และการทดลอง พบว่า Hip Mobility สำคัญมากๆครับ ช่วยได้จริงๆ
ankle anatomy 在 Ken's Yoga Life 阿肯師的瑜伽隨記 Facebook 的最佳貼文
🏄練習瑜伽時,膝蓋到底可不可以過腳尖(或腳踝)?
昨天芯瑜伽基礎的課後Q&A有同學問到,這篇之前寫過的文章也可以讓大家再複習哦。
#anatomy
#膝蓋不要超過腳踝的迷思❓
練習瑜伽夠久,一定會常聽到類似的口令。例如膝蓋不要超過腳尖,膝蓋不要超過腳踝,但你有想過為什麼嗎?
從David Keli的文章拋磚引玉,我也跟大家簡單分享一下這個口令的討論跟一些補充。完整版的可以參考原文。
⭕當然有任何狀況或問題,還是當場請教你的老師最準喔,這邊只是單純就解剖學來討論分享。
✅#膝蓋的解剖學簡單版
一般大家講的膝關節,就是由股骨跟脛骨形成的關節,它基本上有彎曲的功能,但另一點要補充的是,其實在膝蓋彎曲的狀態下,它還有旋轉的功能。
而它本身在很多動作中需要負責承重,而尤其在彎曲時候的剪力對它的負擔相對是大的(相對膝蓋伸直的狀態)。
✅#為什麼不要超過腳踝
基於以上解剖學跟力學的關係,當然膝蓋不要超過腳踝是比較安全的,但事實上在我們生活中有很多動作膝蓋是超過腳踝的(例如爬樓梯或是走路等等),所以這個其實是人體本來就應該可以做的動作。
所以回到瑜伽練習,如果一個人的關節肌肉是健康的,基本上他在可控制的範圍內做任何動作是不會受傷的。
不過事情當然不會那麼簡單,所以在每個人都有不同身體狀態的情況下,安全第一是必要的,但除了”膝蓋不要超過腳踝”,我覺得另一個也很重要的口令是”膝蓋對齊腳尖”(這個是原文沒特別寫的口令)。
因為很多人在瑜伽站姿的時候,由於大腿股四頭肌張力不平衡,常會出現膝蓋內扣的狀況,在這種情況下長久的練習,會開始對單邊膝蓋關節的韌帶施以額外的壓力,久而久之就會傷害膝蓋的穩定(還記得膝蓋在彎曲時候也有旋轉的功能嗎),所以除了關心膝蓋有沒有超過腳踝,同時也要注意膝蓋有沒有對齊腳尖才是比較全面的。
✅#如果還是痛或不舒服
當然,如果都做到了以上但還是不舒服怎麼辦,有可能是從髖到大腿甚至腳趾的活動度或肌耐力不夠造成的,這時候最好的辦法就是退一步到你覺得舒服跟可以穩定的地方開始練習。
✔正位的口令背後一定會有一些原因,但永遠別忘記了在墊子上的學生或自己都有著不同的身體結構,專注聆聽身體的回應選擇適當的位置才是最重要的。
而老師也必須給學生一些彈性讓學生有方向去調整,而不是單純千篇一律的背口令而已。
㊙#確實知道每個口令背後的目的跟做出適合的調整才是重點
(Original post)
Should The Knee Go In Front Of The Ankle In Yoga?
https://www.yoganatomy.com/knee-in-front-of-the-ankle/…
If there is one thing that I want you to take away from this series of posts, it’s that every single person who is doing yoga asana practice is experiencing what is true for their body. While some general guidelines are useful for teaching yoga, a better question to ask is: what is the most appropriate option for this student in front of me right now (or for yourself if you are reading this with respect to your own practice)? Better than memorizing some arbitrary “alignment rules”, which won’t apply to everyone, is learning more about how the body moves or resists movement, so you can make informed decisions about your own practice and/or offer informed direction to your students for each of their individual practices.
#anatomy #knowyourbody
ankle anatomy 在 Fit Junctions Facebook 的最讚貼文
หลังวิ่งห้ามนั่ง!...เดี๋ยวก้นใหญ่? จริงมั้ย
น้องปัท นักกายภาพบำบัด จากฟิตจังชั่น จะชี้แจงให้เราเข้าใจกันค่ะ ♥
หลายคนอาจเคยได้ยินว่า หลังวิ่ง ห้ามนั่งนะ เดี๋ยวก้นจะใหญ่ มันเป็นเช่นนั้นได้จริงมั้ย? มาดูกันตามหลักวิทยาศาสตร์กันค่ะ
ก้นของคนเรานั้น มีทั้งกล้ามเนื้อและเซลล์ไขมัน การที่ก้นจะใหญ่ขึ้นได้นั้น แบ่งง่ายๆ 2 อย่างค่ะ
1.จากมวลกล้ามเนื้อที่มากขึ้น
มาได้จากการออกกำลังกายด้วยแรงต้าน เพิ่มโหลดต่อกล้ามเนื้อ อย่าง weight training และสารอาหารที่เรารับประทาน
2.ก้นใหญ่จากไขมัน
พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่ได้มีกิจกรรมทางกายมากพอกับปริมาณอาหารที่ทานเข้าไป นั่งนานๆ บ่อยๆ ไม่ได้ออกกำลังกาย
มีงานวิจัยของ Professor Amit Grefen, Tel Aviv University , American Journal of Physiology เซลล์ไขมันสามารถสะสมได้มากขึ้น
เนื่องจากตอบสนองต่อการลงน้ำหนักที่คงที่ (Static mechanical loading) ที่มีระยะเวลานาน อย่างการนั่งนานๆ
ต่อมา ตามหลักกายวิภาคศาสตร์ Gluteus muscle หรือกลุ่มกล้ามเนื้อมัดใหญ่ของร่างกายที่อยู่บริเวณสะโพก กล้ามเนื้อกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มสำคัญของร่างกายที่ใช้ในการเคลื่อนไหว ประกอบไปด้วย 3 มัด เรียงจากขนาด และการวางตัวชั้นนอกไปชั้นใน คือ Gluteus maximus ขนาดใหญ่สุด มองเห็นได้จากภายนอก (Surface anatomy) , Gluteus medius และ Gluteus minimus ซึ่งกล้ามเนื้อ 3 มัดนี้ทำงานร่วมกันในการให้ความแข็งแรงและเสริมความมั่นคงของข้อต่อเชิงกราน (Pelvic) สะโพก (Hip) รวมถึงกระดูกสันหลังส่วนล่าง (Lumbar spine) นอกจากนี้ยังช่วยควบคุมแนวเข่าเวลาเคลื่อนไหว หากกล้ามเนื้อกลุ่มนี้เกิดปัญหาในการทำงาน อ่อนแรง สามารถส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บในข้อต่ออื่นๆ อย่างกระดูกสันหลัง (Spine) ข้อเข่า (Knee) หรือข้อเท้า (Ankle)
มาดูเรื่องการวิ่งค่ะ วิ่งเป็นการออกกำลังกายที่มีการเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้นหัวใจ (Heart Rate) ความดันเลือด (Blood pressure ) มีการสะสมของ Lactate ในกล้ามเนื้อ ถ้าเราวิ่งเสร็จแล้วนั่งลงทันที จะเกิดอะไรขึ้นได้บ้าง?
- อัตราการเต้นหัวใจตกเร็ว
- ความดันเลือดเปลี่ยนแปลงทันที
- กล้ามเนื้ออาจหดเกร็ง เป็นตะคริว
- เลือดไหลเวียนไม่ดี
หากเมื่อนั่งทันที เลือดไหลเวียนกลับสู่หัวใจทางเส้นเลือดดำ (Veins) ได้ช้า เนื่องจากกล้ามเนื้อไม่ได้ทำงานหดตัวหรือไม่ได้ cool down ทำให้การ pump เลือดสู่หัวใจไม่พอ ความดันเลือดจะตก เสี่ยงต่อการเกิดการเป็นลมได้ ไม่ใช่เฉพาะการวิ่งแล้วนั่ง การออกกำลังกายหนักๆก็เช่นกันค่ะ
เพราะฉะนั้น จากคำกล่าวที่ว่าถ้าวิ่งแล้วนั่ง จะทำให้ก้นใหญ่ ไม่เป็นความจริงค่ะ
และไม่มีความเป็นไปได้ แต่เหมือนเป็นอุบายที่ควรมีการ Cool down การผ่อนคลาย ยืดกล้ามเนื้อ ให้อัตราการเต้นหัวใจค่อยๆกลับเป็นปกติ การมี Active recovery เช่น การออกกำลังกายเบาๆ การว่ายน้ำ โยคะ ก็จะช่วยร่างกายผ่อนคลายและ Lactate ในกล้ามเนื้อลดลงปกติค่ะ
ankle anatomy 在 7 Best Anatomy of Ankle ideas - Pinterest 的美食出口停車場
Jun 26, 2013 - Explore Michelle Picarella's board "Anatomy of Ankle", followed by 281 people on Pinterest. See more ideas about anatomy, ankle anatomy, ... ... <看更多>