วิจัยเผย ขวดนมพลาสติกปล่อยไมโครพลาสติกสู่ร่างกายเด็กล้านชิ้นต่อวัน! วอนเปลี่ยนวิธีล้าง-ชงนมผง พัฒนาการเคลือบภาชนะให้ปลอดภัย เร่งศึกษาผลกระทบสุขภาพ
วิจัยเผยเด็กทารกกลืนกินไมโครพลาสติกกว่า 1 ล้านอนุภาคต่อวัน ชี้เป็นส่วนสำคัญในการศึกษาและทำความเข้าใจการปนเปื้อนของพลาสติกขนาดเล็กในร่างกายมนุษย์
นักวิทยาศาสตร์พบว่าขบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนสูงตามคำแนะนำ (Sterilize) และการเตรียมชงนมผง (formula milk preparation) ทำให้ขวดพลาสติกนั้นปล่อยไมโครพลาสติกกว่าล้านชิ้น และนาโนพลาสติกหลายล้านล้านอนุภาค
ขวดนมทั่วโลกนั้นส่วนใหญ่นั้นเป็นประเภทพลาสติกพอลิโพรไพลีน Polypropylene (PP) 82% และขวดยมแบบแก้วนั้นเป็นอีกทางเลือกหลัก โดยพลาสติกพอลิโพรไพลีนถูกใช้อย่างแพร่หลายมาก
ซึ่งจากการทดสอบขั้นต้นโดยนักวิทยาศาสตร์เผยว่ากาน้ำ และภาชนะอาหารก็ปล่อยไมโครพลาสติกหลายล้านชิ้นต่อลิตรของของเหลว (Per litre of liquid)
ไมโครพลาสติกนั้นเป็นที่ทราบกันดีว่าตกค้างในสิ่งแวดล้อม ปนเปื้อนในอาหาร และน้ำดื่มของมนุษย์ แต่การศึกษานี้เผยให้เห็นว่าการเตรียมอาหารในภาชนะพลาสติกนั้นจะนำไปสู่การปนเปื้อนของพลาสติกที่มากกว่าหลายพันเท่า
แม้ผลกระทบทางสุขภาพยังไม่เป็นที่แน่ชัด แต่นักวิจัยเผยว่ามันมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะต้องแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเฉพาะสำหรับทารก นอกจากนี้ทีมวิจัยยังได้สร้างคู่มือการฆ่าเชื้อเพื่อลดการปล่อยไมโครพลาสติก
Prof John Boland จาก Trinity College Dublin เผยว่าตัวเลขไมโครพลาสติกในขวดนมนั้นเป็นสิ่งที่น่าตกใจอย่างมาก การศึกษาปีที่แล้วโดย WHO ประเมินว่าผู้ใหญ่บริโภคกว่า 300-600 ไมโครพลาสติกต่อวัน แต่การประเมินของเขาคาดว่าตัวเลขไมโครพลาสติกนั้นเป็นนับล้าน หรือหลายล้านชิ้น เขาเผยว่าเราต้องศึกษาด้านสุขภาพเพื่อทำความเข้าใจผลกระทบ
เขาชี้ว่าอนุภาคส่วนใหญ่จะถูกขับถ่ายออกมา แต่การศึกษาเพิ่มเติมว่ามีไมโครพลาสติกที่ถูกซึมซับเข้าไปสู่กระแสเลือด และในอวัยวะต่างๆของร่างกายเท่าไหร่นั้นเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาก "ฉันเลิกใช้ภาชนะเหล่านั้นหมดแล้ว และหากฉันมีลูกฉันจะเปลี่ยนแปลงวิธีการเตรียมชงนมผง"
Philipp Schwabl จาก the Medical University of Vienna ผู้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานวิจัยนี้เผยว่าการค้นพบนี้เป็น Milestone สำคัญ ซึ่ง Scale ของการปนเปื้อนไมโครพลาสติกที่พบในวิจัยนี้ทำให้เห็นภัยคุกคาม แต่การศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพนั้นจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม
อย่างไรก็ตาม Prof Oliver Jones จาก RMIT University ใน Melbourne เผยว่าการปนเปื้อนของไมโครพลาสติกนั้นเป็นเพียงการคาดการณ์ ไม่ใช่การชี้วัด ดังนั้นผู้ปกครองไม่ควรรู้สึกแย่ในการใช้ขวดพลาสติก แต่การศึกษานี้ก็เผยให้เห็นว่าปัญหาไมโครพลาสติกนั้นอาจใหญ่กว่าที่เราคิด และเป็นสิ่งที่ทำให้เราคิดว่าควรทำอะไรบางอย่าง
หลายการศึกษาเผยให้เห็นว่าผู้คนบริโภคไมโครพลาสติกผ่านอาหาร และน้ำ รวมถึงอากาศที่หายใจ อาทิ ถุงชาที่มีส่วนวัสดุทำจากพลาสติก และขวดน้ำดื่มพลาสติก ได้รับการค้นพบว่ามีไมโครพลาสติกอยู่ นักวิจัยมีความกังวลว่าไมโครพลาสติกจะปนเปื้อนเชื้อโรค และสารเคมีพิษเข้าสู่ร่างกาย
ไมโครพลาสติกยังตกค้างเป็นมลพิษไปทั่วโลกทั้งในหิมะอาร์กติก ดินในเทือกเขาแอลป์ จนกระทั่งจุดลึกสุดของมหาสมุทร แต่ Prof Liwen Xiao จาก Trinity College เผยว่าการศึกษาของเราชี้ว่าผลิตภัณฑ์พลาสติกนั้นเป็นแหล่งสำคัญของไมโครพลาสติก หมายความว่าเส้นทางการปนเปื้อนในร่างกายนั้นใกล้ตัวมากกว่าที่เราคิด
การศึกษานี้ตีพิมพ์ในวารสาร Nature Food พวกเขาได้ทำการทดสอบขวดนม 10 ประเภท และทำการฆ่าเชื้อตามขั้นตอนคำแนะนำสากล โดยการล้างฆ่าเชื้อในน้ำร้อน 95 องศา และเขย่าผสมนมผงในขวดด้วยน้ำ 70 องศา
ซึ่งผลพบว่าทั้งในการล้างฆ่าเชื้อด้วยน้ำร้อน และการเขย่าผสมนมผงนั้นสร้างไมโครพลาสติกมหาศาล โดยไมโครพลาสติกนั้นมีความกว้างที่เล็กกว่าผมมนุษย์ และนาโนพลาสติกนั้นเล็กมากเกินกว่าที่จะนับ โดยนักวิทยาศาสตรืได้คาดการณ์ว่ามันจะมีจำนวนมากกว่าล้านล้านชิ้นต่อลิตรของของเหลวเลยทีเดียว
นักวิจัยได้ประกอบข้อมูลที่ทดสอบเข้ากับขวดนม และนมผงใน 48 พื้นที่ ที่ครอบคลุม 3 ใน 4 ของประชากรโลก โดยเฉลี่ยแล้วเขาพบว่าเด็กทารกได้รับพลาสติก 1.6 ล้านอนุภาคต่อวันจากการดื่มนมจากขวดพลาสติก โดยสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และยุโรป เป็นกลุ่มประเทศที่พบว่ามีระดับไมโครพลาสติกสูงที่สุด ซึ่งมากกว่า 2 ล้านอนุภาคต่อวัน
นักวิจัยได้แนะนำวิธีเพิ่มเติมในการลดไมโครพลาสติกที่เกิดขึ้นระหว่างการเตรียมชงนมผง โดยการต้มน้ำฆ่าเชื้อในภาชนะที่ไม่ใช่พลาสติก และล้างในน้ำเย็น 3 ครั้งหลังล้างฆ่าเชื้อ และให้ชงนมผงในภาชนะที่ไม่ใช่พลาสติก หลังจากนั้นปล่อยให้เย็นลง แล้วค่อยรินลงในขวดสะอาด
Boland เผยว่าขั้นตอนนี้จะช่วยลดจำนวนไมโครพลาสติกได้มาก และอยากให้ผู้กำหนดนโยบายออกคำแนะนำใหม่เกี่ยวกับขั้นตอนการเตรียมชงนมผงในขณะการใช้ขวดนมพลาสติก
นอกจากนี้วิธีอื่นที่สามารถทำได้คือการเปลี่ยนมาใช้ขวดนมแบบแก้ว แต่มันจะหนักกว่าสำหรับเด็กๆในการถือ และสามารถแตกได้ หรือการพัฒนาการเคลือบพื้นผิวเพื่อป้องกันไม่ให้พลาสติกหลุดออกมาจากขวด
Boland ชี้ว่าพลาสติกนั้นเป็นวัสดุที่ดีและมีประโยชน์มากมาย แต่สิ่งสำคัญในปัจจุบันคือเราต้องทำให้มันปลอดภัยมากขึ้น
ที่มา
https://www.nature.com/articles/s43016-020-00171-y
https://www.theguardian.com/environment/2020/oct/19/bottle-fed-babies-swallow-millions-microplastics-day-study
https://phys.org/news/2020-10-high-microplastics-infant-bottles-formula.html
ร่มธรรม ขำนุรักษ์
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過83萬的網紅serpentza,也在其Youtube影片中提到,Why is it that you cannot find medical or N95 masks in your local pharmacy or hardware store? Why is it that hospitals and medical professionals are s...
「who infant formula」的推薦目錄:
- 關於who infant formula 在 LG and Friends Facebook 的最佳貼文
- 關於who infant formula 在 CheckCheckCin Facebook 的最讚貼文
- 關於who infant formula 在 營養師 Annie Lee 李杏榆 Facebook 的最佳貼文
- 關於who infant formula 在 serpentza Youtube 的最佳貼文
- 關於who infant formula 在 The dirty truth about the infant formula industry (27 min, Eng ... 的評價
who infant formula 在 CheckCheckCin Facebook 的最讚貼文
【育兒常識】嬰兒腹瀉不用慌
#開始吃手手就容易吃到細菌
#記得不時給寶寶清潔雙手
#星期三CheckCheckMail
BB出牙引致腹瀉?
豬年媽媽:「我囝囝5個月大開始四圍找東西咬,這兩天便便次數增多,變成黃色帶粒粒,長輩說這是『吽牙屎』,BB出牙會這樣嗎?」
CheckCheckCin:坊間流傳嬰兒準備出牙會有腹瀉情況,老一輩稱之為「吽牙屎/牙仔屎」,然而中醫並沒有這種說法,導致嬰兒腹瀉的原因多為風寒、濕熱、傷食或脾虛。嬰兒大約在四至六個月大期間長出第一隻牙,這段時期的嬰兒抓到甚麼東西都往嘴裡塞,難免會把細菌吃進肚裡去,亦有可能因此引致腹瀉。
至於嬰兒大便的顏色,黃色至綠色都屬於正常,如果呈灰白色、紅色或黑色就代表身體出現問題,要盡快就醫。而大便中的顆粒,多數是因為寶寶消化系統未成熟或消化不良,未能完全消化的凝乳塊,不用過份擔心。
如果嬰兒腹瀉情況輕微,可如常餵哺母乳,而吃奶粉的話就把奶粉比例調得淡一點,或者暫時轉飲無乳糖奶粉或豆奶粉,確保吸收足夠水份,觀察一兩天看看情況有沒有改善,因為只要把病邪排清就可以了。如果腹瀉情況持續,建議就醫檢查。
Does teething cause diarrhea for babies?
“My baby has been putting everything in his mouth since 5 months old to bite. He is passing stool more often last two days and the dyool is yellow and lumpy. Older generations say baby teething causes diarrhea. It is true?”
CheckCheckCin: Some say diarrhea may occur in babies who are teething. However, Chinese medicine does not this concept. The causes of infant diarrhea are mostly due to cold-wind, damp heat, poor eating habits or weak spleen. Babies develop their first teeth at about 4 to 6 months of age. During this period, babies put everything into their mouths. It is inevitable that they will eat bacteria and may cause diarrhea.
As for the colour of the baby's stool, it is normal to be yellow or green. If it is grayish white, red, or black, it means that there is a problem in the body, and you should seek medical treatment as soon as possible. And lumpy stool occurs because the baby's digestive system is immature, and the breastmilk is not completely digested, so do not worry too much.
If the baby's diarrhea is mild, you can breastfeed as usual. For babies who are still drinking formula, you can dilute the milk more, or try lactose free or soy based formula to see if the condition improves. Be sure to keep your babies hydrated with water and you can try observing for 1 to 2 days. If diarrhea persists, it is recommended to seek medical attention.
#男 #女 #嬰兒 #腹瀉
who infant formula 在 營養師 Annie Lee 李杏榆 Facebook 的最佳貼文
【乳清蛋白和酪蛋白 – 對BB的消化和營養吸收的影響】
常說母乳是最適合BB的珍貴食物,因為母乳中的營養和成份比例,可以因應BB不同成長階段而作出調節* ,令BB可以攝取到最優質又易消化的營養。
母乳含有主要的營養成份包括蛋白質、脂肪、乳糖,以及多種微量營養素如維他命,礦物質和益生菌等。當中蛋白質有多種重要作用,包括促進身體所有器官、細胞和肌肉發展;幫助製造免疫球蛋白、消化酵素、生長荷爾蒙等。*
而蛋白質,主要由乳清蛋白 (Whey) 和酪蛋白 (Casein) 合成。 乳清蛋白為水溶性,所以較易吸收;而酪蛋白除了有助延長飽肚感外,亦有助製造免疫球蛋白,提升腸胃抗菌和消化能力,是較大嬰幼兒不可或缺的營養。** 初嬰母乳中的乳清 / 酪蛋白的比例約 80/20,所以初嬰較易吸收消化;但隨著BB成長,消化力提升,母乳中的乳清 / 酪蛋白比例會降至約50/50***,需要較長時間消化,同時亦增加幼兒飽肚感。
至於配方奶粉,其乳清/酪蛋白的比例亦會因應不同階段的BB而作出調節。雖然不同品牌可能配方略有不同,但一般初生配方比例約60/40,至較大嬰兒配方下降至20/80,甚至更低****,有機會令腸胃較敏感的BB出現嘔奶或消化不良的情況,影響營養吸收和BB成長。
不過,有些配方奶粉中的蛋白結構較天然,例如是只經一次適溫處理, 將鮮奶單次加熱提煉製成奶粉,減少多次加熱後對天然蛋白質造成的破壞,能更有效保存鮮奶的天然營養,以及細小的牛奶蛋白份子,讓BB容易消化吸收。
* Pediatr Clin North Am. 2013 Feb; 60(1): 49–74.
** Saudi J Biol Sci. 2016 Sep; 23(5): 577–583.
***Nutrients. 2016 May; 8(5): 279**** UNICEF - A guide to infant formula for parents who are bottle feeding. 2014
#乳清蛋白 #酪蛋白 #蛋白小份子 #天然營養易消化 #美素佳兒金裝 #荷蘭皇家菲仕蘭
who infant formula 在 serpentza Youtube 的最佳貼文
Why is it that you cannot find medical or N95 masks in your local pharmacy or hardware store? Why is it that hospitals and medical professionals are short on these very important PPE items? Join me for a discussion.
If you need back-story, please watch our talkshow that goes more in-depth on this story: https://youtu.be/R7VE7-dn8MY
Also a massive thank you to everyone who support Sasha and myself on Patreon: https://patreon.com/serpentza
For a deeper dive into China's Propaganda influence and soft power, watch our liveshow ADVPodcasts: https://www.youtube.com/advpodcasts
DOCUMENTARY LINKS:
Conquering Southern China:
https://vimeo.com/ondemand/conqueringsouthernchina
Conquering Northern China:
https://vimeo.com/ondemand/conqueringnorthernchina
Stay Awesome China (my new documentary): https://vimeo.com/ondemand/stayawesomechina
For Motorcycle adventures around the world, and a talk-show on two wheels go to ADVChina every Monday 1pm EST
https://www.youtube.com/advchina
For a realistic perspective on China and world travel from an American father and a Chinese mother with two half-Chinese daughters go to Laowhy86 every Wednesday 1pm EST
https://youtu.be/mErixa-YIJE
For a no-nonsense on the street look at Chinese culture and beyond from China's original YouTuber, join SerpentZA on Friday at 1pm EST
https://www.youtube.com/serpentza
Support Sasha and I on Patreon: http://www.patreon.com/serpentza
Join me on Facebook: http://www.facebook.com/winstoninchina
Twitter: @serpentza
Instagram: serpent_za
who infant formula 在 The dirty truth about the infant formula industry (27 min, Eng ... 的美食出口停車場
... <看更多>