[The Evolution of Religions in India]
In the early days, India had a great civilization. From 3000-2000 BC, Harappa and Mohenjodaro were the great civilizations there. The actual occupants of India who lived there were the Dravidia race. The Dravidia were the indigenous people who have lived in Harrapa which was located in Punjab and North Karachi around 3000-2000 BC [1].
Dravidia was known to believe in politheist that is believing in multiple Gods. This can be segregated into many for instance, God in fertility and God in prosperity [2]. According to Ernest Mackay in his book titled Early Indus Civilizations, most of the Indus worshipped animals such as crocodiles and elephants and trees like peepal [3]. Moreover, rituals such as slaughtering animals were held to be presented in front oftheir Gods. Apart from that, they found a man-made pool where a ritual called “Great Bath” was performed. The “Great Bath” was the holy bath ritual and this was found in Mohenjodaro. The purpose of this worship and ritual was to show their gratitude towards the Gods to receive blessing and prosperity upon them [4].
There is a famous theory interpreted as the change of the India social life structure in those days. This theory relates to Arya entering India. Around 1800-1000 BC, the Arya which was originated from Iran entered India. The word Arya means noble and they were noble race. Their facial features were fair skin with pointed nose and were famous for their art of war. The Dravidia were not good in war and therefore they were defeated by the Arya. Hence, the Dravidia people migrated to the South part of India [5]. The evidence of this war was proven by the archaeologist who performed the excavation in Harappa. They found lots of dead human skeleton which proves that the war happened between Arya and Dravidia and Arya defeated Dravidia. Apart from that, the Harappa city was demolished [6].
Introduction of Monotheism By Arya to India
In India, the structure of the religion was influenced by the Arya until Brahma was introduced or also known as Hindu today. Way before Arya entered India, they had their own belief and it was called Arya Dharma [7]. Dharma means ‘Way of Life’ and therefore Arya Dharma means ‘Arya Way of Life’[8]. The concept of Arya Dharma is that they believe in one God and this is referring to the monotheism [9]. Most of the westerner researchers claimed that Arya Dharma was influenced by the Zoroaster religion which was originated from Iran. This is because there are similarities in the Book of Veda and the Holy Book of Zoroaster that is the Gathas according to Mary Boyce in her research from the Zoroastrians: Their Religious Beliefs and Practices.
Another source claims that Arya Dharma was influenced by the Abraham or Ibrahim from Mesopotamia. Prof Uthaya Naidu mentioned in his book titled “Bible of Aryan Invasions: Aryan Invasions & Genocide of Negroes, Semites & Mongols The Bible of Aryan Invasions” that in between 1500 BC and 800 BC there were 4 attacks following by the Aryan entering India. The 4 attacks were called:
1. Arya Rigvedic (1500 BC)
2. Aryan II (1400 BC)
3. Ras Arya Krishnaite (1200 BC)
4. Ras Arya Mahabharata (900-800 BC)
The first invasion which is known as Arya Rigvedic was the major attack caused by Arya to India and fought with Dravidia which was the first people to attack the civilization in Indus river. It resulted in Dravidia was defeated and were expelled to South India. In the following century which was known as the second entry of Arya to India it was known as Indo-Arya civilization. The Arya conquered two main parts in India: Punjab and Doab [10]. After the entrance of Aryan II to India, the Book of Veda was written in Sanskrit as the main language. This is because the Aryan II spread their belief and religion to India. The belief and religion that was brought to India by Arya was influenced by monotheism.
They worshipped a God named Brahman. Apart from that, they also believed in multiple Gods that represents world such as Pretivi as the God of Earth, Surya as the God of Sun, Vayu as the God of Wind, Varuna as the God of Ocean and Agni as the God of Fire [11]. Although the names of the Gods had only existed after the writing of Book of Veda, the spiritual belief towards the Gods were there way before that [12].
Vedic Era
When Aryan started to migrate to India, the mixture of the culture and religion occurred and therefore this was how the Book of Veda was written around 1400 to 1000 BC. It was known as the Vedic Era [13]. The Book of Rig Veda, Sama Veda, Yajur Veda and Athraya Veda were written based on the mixture of Arya theology and Dravidia. Moreover, they had also written another Holy book which was called Upanishads. The content of Books of Veda and Upanishads were combined and called as the Holy Book of Sruti was revealed [14].
Veda was originally called as Brahma religion and the language of this religion was called the Sanskrit. The believers mastered this language [15]. Originally, the Sanskrit was mastered by the Aryan only. But after mastering the language, the people were slowly not interested to master the language anymore. Hence, the mixture of the Sanskrit language with the language used by Dravidia, came in the new languages such as the Kannada, Telugu and Malayali. These new languages were originated from the ancient language of Proto Dravida which was mixed from the halt of the usage of the Sanskrit by the Brahmin [16].
This is because the Brahmin or the priests of the Brahmin were originally from the Arya clan and therefore, they were responsible to teach the Indians in Sanskrit language [17].
The Birth of Non-Caste Religion in India
In the 7th Century BC, the Brahmin had introduced the caste system that is the hierarchical system [18]. This hierarchical system consisting of religionist, rulers (government), companies and those people who followed the religion. In 600 BC, a ruler for the Jainism religion came into picture and was known as Vardhmana or Mahavira. This religion did not practice the caste system like the Brahma did. The language used in Jainism was Prakrit but this religion was only practiced inside India. No sign of development of this religion outside India.
After a few years later, around 563 BC, the Siddharta Gautama Buddha was born. He introduced his religion which was called Buddha without the caste system. He used Pali as the langugage to convey the religion. He had so many students under him and this made the Buddhism to be spread world wide. When these two religions (Jainism and Buddhism) were developing, the Vedic or the Brahma was slowly degenerating.
The Introduction to the writing of Holy Book of Smriti
As the time, culture and geography changed, the Sanskrit language had diminished. But the effort was still there to make sure that the Sanskrit language preserved. Wendy Doniger mentioned in her book titled The Hindus: An Alternative History that a new wave existed which had historical and saga elements and these books are Mahabhrata and Ramayana. The writing of these scriptures started in 300 BC-200 C and some historians claimed that the writing of the two books started in 400 BC [19].
This time around was known as the Wiracarita where a big epic war occurred between Arjuna, Krishna (Mahabhrata) and Sri Rama (Ramayana). In Mahabhrata, it consists of stories that relates to the existence of multiple Gods that led to the development of the Book of Purana [20]. The writing and the development of this Book was meant to maintain the usage of Sanskrit language among the Aryan people in India.
During 300 BC till 500 C was the time of new development in Brahma. It was known as Puranic time where the writing of the other scriptures began besides the Book of Sruti (Veda and Upanishads) in order to be used in Brahma [21]. The writing of the other Holy Book besides Sruti was known as the writing of Smriti. Among the Holy Books that were written during this time comprising Books of Sutra Dharma, Shastras, Mahabhrata, Ramayana, Bhagavad Gita, Pura and others.
During Puranic time, the construction of the statue of Greece or Hellenism had started to enter India and influenced the Brahma. Apart from that, Dravidia was the main religion that introduced polytheism and it also reflect in the writings of the holy books and Purana story-line. In the early history, the Brahma was not known as worshipperof multiple Gods (polytheism). They only believed in one God. Around 1500 BC to 300 BC (Vedic), no signs of holy statues found and worshipped by the people during that time.
Why the era of Vedic do not have statue?
In the era of vedic (1500 SM- 500 SM), there were no idol or image of God worshipped by the people during that time. It is due to the law which forbid to create idols in the image of God as stated in the book of Veda and Upanishads (Sruti). Furthermore, the book Veda and Upanishads should be their reference. Following verse shows the prohibition of worshipping idols:
1) “na tasya pratima asti
“God do not have any image.” (Yajurveda 32:3)
2) “shudhama poapvidham”
“God do not have established body and it is pure.” (Yajurveda 40:8)
3) “Andhatama pravishanti ye asambhuti mupaste”
“Those worshipper of nature (air, water, fire or soil) will enter darkness and even goes in deeper for those who worship idols.(Yajurveda 40:9)
Even during this era, the characteristics of monotheism of God was emphasized in the Rig Veda and Upanishads.
1) “Ekam sadvipra bahudhaavadanti
“God is one and intelligent people praise God with various name” ( Rigveda book 1: hymn 164 verse 46)
2) “Ekam eva advityam Brahman”[22]
“God is one, there is no two” (Chandogya Upanishad chapter 6 hymn 2 verse 1)
Moreover, there are many verses similar to it but the religion started to grow with the additional Holy Book in year of 300 SM. It is known as the wave writing of the Smriti Book which gave an impact towards Brahma religion till the story of God’s and King’s that rapidly persuaded by own verse interpretations. It can be seen in the book of Mahabhrata and the book of Purana. The book of Purana contained many parts which well known as Mahapurana which divided into 18 books such as;
a) Brahmapurana, b) Padmapurana, c) Visnupurana, d) Bhagavatapurana, e) Naradapurana, f) Markandeypurana, g) Agnipurana, h) Bhavisyapurana, i) Brahmavaiavartapurana, j) Lingapurana, k) Varahapurana, l) Skandapurana, m) Kurmapurana, n) Matsyapurana, o) Garudapurana, dan p) Brahmandapurana.
This book was gathered within a long duration and known as the written period of Puranic. [23] There were mixed and additional information with regards to the question of God in Brahma religion happened in this era. It started from this era which the doctrine of pantheism and polytheism started to expand and grow within the Brahma adherent. The doctrine which believed that everything are able to provide benefits which constituted the elements of God (pantheism), worshipping idols and make God more than one which align with the incarnation of God. It undergo through creature body with various types (avatar) and henotheism.
New command of inventing Idols
The book Purana encourage the Hindu adherent to invent idols. There are text in the book Matsya Purana which explained about it and located under the topic of Arsetektur (base on the reference of I Wayan Maswinara.
“There are idols that must be placed inside the temple. The idol of God Visnu need to be designed with four hands and eight hands. If the design consist of 8 hands, the hand, we must hold the Sankha (Skin of a shell), gada, arrow and lotus. Left hand need to hold the arc, Padma, and a cakra. If they invent only four hands, gada and Padma consist in my right hand while cakra and sankha will be on left hand. Visnu will be pictured by standing on the early. Garuda the king of bird will move around it. Then, Garuda will be at the right leg of Visnu. Idols of Laksmi Goddess will be on the left side of Visnu idols and Laksmi idols need to hold the Lotus flower. The good idols will be created by gold, silver, copper, jewelry, stone, wood and a mix of metal. The size of Gods and Goddess has to be true.”[25]
Same goes to other Gods. Purana has outlined the picture and image of their God until the idols needs to be created. For example, the face and structure of Siva has been outlined in the Purana:
”Idol of Lord Siva need to be created using a loose long hair and need to put a moon on the forehead. The idols need to describe Siva at the age of 16 years old. Siva need to wear clothes which created by animal fur and has snake necklace on his neck. The ear will be attach with peacock fur. If the stick need to be attached, it has to be on the left side. Furthermore, Siva ride on a cow which the idols have two hands and if the idols of Siva is made in situation of dancing, the idols need to consist of 10 hands. Moreover, if the idols is meant to show Lord Siva destroying the Tripura, the idols need to have 16 hands.”[26]
The book of Purana explained the story about the requirement of designing the Idols. It shows the development which do not belongs to the actual teaching of Veda. Even Siva did not mention in the earliest book such as Veda and Upanishads. [27] In the Era in which is the rising of second Hindu religion which there were many additional doctrine of the Veda teaching.
In the era of Puranic, the religion of Hindu was influenced by polytheism. Besides, the development and expanding of worshipping the idols at temples happened. After that, the religion of Brahma started to extinct. During the rulings time of Asoka in India, under the empire of Maurya. King Asoka declared the Buddhism as their official religion. In year 269-232 SM. King Asoka emphasized on the language usage of Pali in order to spread the religion of Buddha. [28]
At the ruling time of Asoka, the development and preaching of Hinduism in India was stunted due to expanding of Buddhism religion rapidly towards the east. After a while, Brahma religion gain new opportunity when the empire of Gupta took over the ruling dominantly in India.
During this era, the usage of Sanskrit language was revived and indicates Hinduism religion as an official religion. Moreover, during the rising of Gupta empire (320 M- 500 M) shows the development of Hinduism traditions which is to create few flow that focuses towards the Lords inside the community. For example, Vaishnavisme ( focused on Vishnu), Shaivisme ( focused on Siva ) and Shaktisme ( focused on head of Goddess). That’s the reason why the Hindu temple was influenced by God from Siva, Vishnu and Devi family. There was no temples focus on Brahma result to different types of Brahma which rarely spoken by the Hindu followers.[29]
Based on Wendy Doniger books entitle The Hindus, the written of Smriti book was successfully completed and gathered during the Gupta empire and was made as reference for Hindu followers. The books of Purana was made as an important reference of the infrastructure of idols inside the temples. The image of Gods inside the temples was majoritydesigned according to the book of Purana.[30] Therefore, the practice of Hinduism in this era are mostly influenced with the development of Puranic and Gupta empire.
Discussion about the Hinduism name.
The word Hindu or Hinduism was not found in any holy book of Hinduism even the word was been newly introduced.[31] Based on Pundit Jawahar LaI Nehru inside the book, Discovery of India, the word Hindu was firstly used by the Persian which refers to the Indus River. They called it as Hindus.[32]
After that, the word Hindu was used by an author from British in the year of 1830. It refers to the teachings and religion professed by the community overthere. Polemic occurred among the scholars in India towards the name of religion professed by the Hindu follower. They embraced the Veda scriptures. They enjoyed with the name Vedanta which means a person who followed the Veda scripture. There is also other name such as Sanatana Dharma which means the eternal truth (natural law). They are also synonym with Brahma religion while the word Hindu do not agree whole among their scholar. Moreover, the word was expand and become a specific name towards the religion embraced by a group of people who follow the Veda scriptures and culture of India.
Conclusion
The original teaching of Veda and Upanishads is emphasized on the concept of monotheism. The concept of God and Goddess was changed whilst entering the era when smriti is written. After that, it developed and expanded through the introduction of types of worshipping according to the classes of their Gods such as Siva, Vishnu and Dewi. It continued till the era which the Hinduism owns the history and faced the up and down phased in a long duration. It also includes the Modern era which consist of few figures such as Ram Mohan Roy, Sri Ramakrishna, Swami Vivekananda, Mahatma Gandhi and many more that contribute the innovation of ideas towards this teaching.
Key Note:
__________________________________
[1] Before the existent of Dravidia group, theearliest group are as such Negrito and Ausroloid. Dravidia group is a group that developed the big civilization in India and they ruled the place before the coming of Arya group.
[2]Ibid,pg45
[3] Refer to Ernest Mackay, (1948). Early Indus Civilizations, Luzac & Company LTD, London,hlm52-76
[4] Refer to Esa Khalid & Mohd Azhar Abd Hamid, (2005). Beberapa Aspek Tamadun Melayu, India, China dan Jepun, Universiti Teknologi Malaysia, Johor,pg 341/ Refer Professor Gavin Flood, (2009). History of Hindusim - www.bbc.co.uk-religions Hinduism- Discussion about the Gods of Hindu also got controversy which is discovering the Proto Siva idols which worshipped by the Dravidia people. The polemic still discussed among the teologent.
[5] That’s the reason why North of India and South of India have significant differences. They were known as Tamil community in South of India and were known as Hindustan community in North of India. The differences not only the face and genetics but the differences in terms of speech, thinking and beliefs.
[6] Refer to Rasamandala Das, (-). The Illustrated Encylopedia of Hinduism, Lorenz Books, Armadillo, page 20-21 / Refer Sihombing,(1962). India: Sejarah dan kebudayaan, Bandung: SumurBandung,no.12.
[7] Flood, Gavin D. (1996). An Introduction to Hinduism, Cambridge University Press, pg 3
[8] Refer to Hiltebeitel, Alf (2007). artikel Hinduism. Edited by Joseph Kitagawa, "The Religious Traditions of Asia: Religion, History, and Culture, RoutledgeCurzon Tylor & Francis Group,London, pg3-6
[9] Mohd Rosmizi Abd Rahman dan rakan-rakan, (2012). Agama-Agama Di Dunia, USIM,NegeriSembilan, pg 37
[10] Refer to Drs. I Ketut Wiana, M. Ag, (2013). Pokok-Pokok Ajaran Hindu, PT Paramita Surabaya, pg 6
[11] Refer to Muhammad Alexander, (2011). Yakjuj & Makjuj 5 Gelombang Pembawa Bencana, PTS, Selangor, pg 311
[12] Interesting discussion by Prof. Uthaya Naidu have a view which the Gods inside Veda was the name of the leaders of Arya Nation when they entered India. One of it is Indra which was known as Lord of Wind. Refer to text Veda which are Rig Veda VIII, 87: 6, Rig Veda IX 73: 5, Rig Veda VI 130: 8, Rig Veda VII 12: 4, it is a text indicates the story of Indra fighting against the black community or known as Dravidia and Koloria during the conquer of India. [13] Refer to Singh, Upinder (2008). A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century, pg 185/ Refer Drs. I Ketut Wiana, M. Ag, (2002). Pokok-Pokok Ajaran Hindu, Penerbitan Paramita Surabaya, Surabaya, Indonesia, pg 6-7/ Refer Abu Su’ud, (1988). Memahami Sejarah Bangsa-Bangsa Asia Selatan, Jakarta: Departemen Pendidikan dan Kebudayaan Derektorat Jenderal Pendidikan Tinggi, no 46
[14] Lihat Rasamandala Das, (-). The Illustrated Encylopedia of Hinduism, Lorenz Books, Armadillo, pg 23.
[15] It is a need to emphasis that Arya Nation did not embraced Hinduism but they brought a new teaching gained by Indo-Arya, according to Prof, Norman Brown inside the Book, Pakistan and Western Asia. The culture of Arya was closer to Zoroaster Avesta holy scriptures which teach oneness of God. Meanwhile Hinduism is a result of syncretism with the culture of others after long time they stayed till the existent of Hinduism today.
[16] Refer to Soegiri DS, (2008). Arus Filsafat, PT Ultimus, Bandung, Indonesia, hlm 244, It is due to the group of Aryan that wants the community to use the Sanskrit language as their medium communication while in earliest phase they used Sanskrit language as a foreign language which do not used by the Dravidia tribes.
[17] Refer to Arnold Toynbee (2004). Sejarah Umat Manusia, Pustaka Pelajar, Yogyakarta, pg 189-192.
[18] Eventhough the arguments that Kasta or Varna was introduced in Rig Veda books: 90: 11-12 but the meaning does not refer to some part of the community which built one body. The complicated Kast system was covered with religion which started to develop in the era of 8 SM.
[19] Refer Wendy Doniger, (2009). The Hindus: An Alternative History, Penguin Books, USA, pg 214-230. There are few opinions was written in the year 400 SM such as Molloy, Michael (2008). Experiencing the World's Religions. pg 87 dan Brockington, J. (1998). The Sanskrit Epics, Leiden pg 26 and Van Buitenen; The Mahabharata, Jilid. 1; The Book of the Beginning. Introduction.
[20] Refer Ananda K. Coomarasmawy & Sister Nivedita, (2016). Myths Of The Hindus And Buddhists, Dover Publications, New York, pg 4-10.
[21] Furthermore, they faced downturn era in between the duration of Puranic.
[22] Max Muller translated: “In the beginning,’my dear,’ my dear,’there was that only which is (τὸ ὄν), one only, without a second. Others say, in the beginning there was that only which is not (τὸ μὴ ὄν), one only, without a second; and from that which is not, that which is was born.”
[23] Differences occurred among the Indologist regards to the date of Purana firstly written. Based on Wendy Doniger also did research about the age of the Purana scriptures written and they identified it was around 250 M-1000 M. It started with Matsya Purana and Markandey Purana around 250 M and end with Linga Purana around 1000 M.
[24] Avatar was an incarnation or the birth of God in a form of human such as Lord Visnu. Lord Visnu came down to the earth through incarnation and become Sri Rama, Krishna and Buddha.
[25] Refer to I Wayan Maswinara, (2002). Matsya Purana, PT Paramita, Surabaya, pg 88-89.
[26] Ibid pg 89
[27] Siva’s name was not found in the Veda and Upanishads scriptures. It was introduced in the era of Puranic. Their scholars have an opinion about the character of Siva inside the Veda which is Rudra. Refer to Stephen Knapp (2010). Avatars, Gods and Goddesses of Vedic Culture,hlm4.
[28] Refer to Azharudin Mohd Dali, (2004). Tamadun India, Dewan Bahasa Dan Pustaka, KualaLumpur,hlm93-94
[29] Refer to Professor Gavin Flood, (2009). History of Hindusim - www.bbc.co.uk-religions Hinduism: Safe to say that there wasn’t a Brahma Temple
[30] Refer to Wendy Doniger, (2009). The Hindus: An Alternative History, Penguin Books, USA, pg 370-405
[31] Refer to James Hansting and others (-) Encyclopedia of Religion and Ethics, Jilid 6 pg 699
[32] Inside Zend Avesta scriptures, the usage word of Hapta-Hendu refers to India. Refer to Zend Avesta, Vendidad: Fargard 1. 8
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「natural law theory」的推薦目錄:
- 關於natural law theory 在 Firdaus Wong Wai Hung Facebook 的最佳貼文
- 關於natural law theory 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
- 關於natural law theory 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
- 關於natural law theory 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於natural law theory 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於natural law theory 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
natural law theory 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา (Sociological Jurisprudence)
ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาเป็นแนวคิดหรือทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่เน้นบทบาทความสัมพันธ์ของกฎหมายต่อสังคม โดยพิจารณาถึงเรื่องบทบาทหน้าที่ (Functional) หรือการทำงานของกฎหมายมากกว่าการสนใจกฎหมายในแง่ที่เป็นเนื้อหาสาระ ซึ่งเป็นนามธรรมลอย ๆ (Look move for the working of law than for its abstract) โดยเน้นไปที่การตรากฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหาสังคมต่างๆ (Social legislation)
ทฤษฎีนี้เป็นแนวคิดทางปรัชญาที่ค่อนข้างใหม่พอสมควร ผู้นำสำนักคิดนี้พยายามที่จะเชิดชูความคิดว่าทฤษฎีนี้เป็นกระบวนการทางปรัชญากฎหมายที่เน้นแนวคิดเชิงปฏิบัตินิยม หมายความว่า ต้องอยู่บนพื้นฐานแบบปฏิบัตินิยมในด้านฝ่ายนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา เห็นว่าจุดมุ่งหมายในการศึกษาเรื่องธรรมชาติของกฎหมายควรจะมองปัญหาเชิงปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องการทำหน้าที่ของกฎหมาย หรือบทบาทของกฎหมายในสังคมว่า ธรรมชาติของกฎหมายที่สำคัญอันหนึ่ง คือ กฎหมายเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในสังคมที่บทบาทในการแก้ไขปัญหาเรื่องความขัดแย้ง ปัญหาเรื่องความไม่เป็นธรรม แนวคิดทฤษฎีนี้มีส่วนใกล้เคียงกับแนวคิดทฤษฎีมาร์กซิสต์ เช่น ในประเด็นเรื่อง กฎหมายเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการควบคุมสังคม แต่จะมีความแตกต่างในประเด็นที่มาร์กซิสต์กล่าวถึงกฎหมายเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของสังคมแต่เป็น เครื่องมือที่ออกกฎหมายมาเพื่อชนชั้นสูงที่มีอำนาจออกกฎหมาย ส่วนนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยากฎหมายเป็นเครื่องมือของสังคมออกกฎหมายมาเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม เป็นต้น
แนวคิดนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาเริ่มปรากฏตัวตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 – 20 ซึ่งการก่อตัวของขบวนการนี้ (อันเนื่องจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)ได้นำไปสู่การก่อตัวขึ้นของชนชั้นแรงงาน ยังเป็นจุดเริ่มต้นของความคิดสังคมนิยมแบบวิทยาศาสตร์หรือลัทธิมาร์กซ (Marxism)) จะสัมพันธ์กับสิ่งที่เป็นสภาพของสังคมวิทยา เช่นเมื่อสังคมมีการพัฒนามาเป็นสังคมอุตสาหกรรม หรือสังคมทุนนิยมก็จะมีปัญหาเรื่องความขัดแย้งต่างๆมากขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำ ความขัดแย้งช่องว่างระหว่างความยากจนกับคนรวยมีการวิพากษ์วิจารณ์กันอยู่เนืองๆ หรืออาจจะมีกระแสความคิดความพยายามที่ผลักดันให้มีการปฏิบัติเพื่อแก้ไขความไม่เป็นธรรมในสังคม ต่างๆ
การเน้นบทบาทเหล่านี้ อาจจะมองคล้ายกับการต่อสู้ทางความคิดเพราะมีกระแสวิจารณ์จากฝ่ายซ้าย ซึ่งมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆโดยได้วิพากษ์วิจารณ์ว่าสิ่งที่เป็นปรัชญากฎหมายของโลกทุนนิยมเป็นเพียงปรัชญากฎหมายของชนชั้นนายทุนหรือปรัชญากฎหมายของชนชั้นที่มีอำนาจเท่านั้น
ดังนั้น กฎหมายจึงเป็นเพียงเครื่องมือในการรักษาผลประโยชน์ของผู้มีอำนาจหรือชนชั้นนายทุนหรือชนชั้นเจ้า สมบัติในสังคมเท่านั้น ทำให้บรรดานักนิติศาสตร์พยายามเสนอแนวคิดที่จะรณรงค์ความคิดที่มองกฎหมายในเชิงเครื่องมือเพื่อการแก้ไขปัญหาสังคมและเพื่อใช้กฎหมายในการระงับความไม่เป็นธรรมทั้งในด้านทฤษฎีและรายละเอียดใน เชิงวิชาการ
1.รากฐานการก่อตัวของนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา
ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา นี้จัดเป็นกระแสการก่อตั้งในตะวันตก จากนั้นมีการแพร่หลายกันในหลาย ๆ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เยอรมัน เป็นต้น
ในเยอรมันมีนักนิติศาสตร์คนสำคัญ คือ รูดอร์ฟ ฟอน เยียริ่ง (Rudolf Von Jhering) เป็นบุคคลสำคัญที่ทำการเผยแพร่หรือาจกล่าวได้ว่า เป็นผู้ให้กำเนิดทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา
ในฝรั่งเศสมี ลีออง ดิวกิต (leon Duguit) เป็นผู้นำคนสำคัญโดยเฉพาะในการสร้างชื่อ ทฤษฎีความสมานฉันท์ของสังคม (Social Solidarism)
ในอเมริกา รอสโค พาวด์ (Roscoe Pound) ภาพรวมทางความคิดของทฤษฎีนี้จะเป็นกระแสที่พยายามเน้นเรื่องบทบาทกฎหมายในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคม โดยที่สามารถจะเห็นสภาพความคิดนี้ชัดเจนในงานเขียนของ เยียริ่ง เรื่อง“กฎหมายในฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อการเป้าหมาย”
(Law as a Means to an End) ซึ่งสร้างแนวคิดทฤษฎีวิศวกรรมสังคม (Social Engineering) ขึ้นมา
แนวคิดทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มที่มีแนวคิดโอนเอียงใกล้ชิดความคิดแบบสังคมนิยมมี ลีออง ดิวกิต เป็นตัวแทนความคิด
2. กลุ่มที่มีแนวคิดโอนเอียงมาทางอนุรักษ์นิยม กลุ่มนี้มี รูดอร์ฟ ฟอน เยียริ่ง และรอสโค พาวด์ เป็นตัวแทนแนวคิด
1.1 กลุ่มที่มีแนวคิดโอนเอียงใกล้ชิดความคิดแบบสังคมนิยม
ลีออง ดิวกิต (Leon Duguit 1859 -1928) เป็นนักนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาสำคัญของฝรั่งเศส เจ้าของทฤษฎีว่าด้วยความสมานฉันท์ของสังคม (Social Solidarism) ซึ่งโดยภาพรวมแล้วจะเป็นแนวคิดในทำนองที่พยายามเน้นบทบาทของกฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหาความไม่เป็นธรรมในสังคม แต่ทฤษฎีของ ดิวกิต นั้นอุดมการณ์เบื้องหลังความคิดค่อนข้างจะเป็นสังคมนิยมมาก เมื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีของ เยียริ่ง เพราะทฤษฎีของ เยียริ่ง จะมีอุดมการณ์แบบเสรีนิยมแอบแฝงอยู่
หลักความสมานฉันท์ของสังคม หลักความสมานฉันท์ในสังคม ถูกมองว่าเป็นเสมือนหลักนิติธรรมหรือเสมือนหลักในการบัญญัติกฎหมาย กล่าวคือ การเขียนกฎหมายหรือการใช้กฎหมายจะต้องตั้งอยู่บนความสำนึกเน้นประโยชน์ของการร่วมกัน หรือมีการแลกเปลี่ยนความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มิใช่จะใช้กฎหมายหรือบัญญัติกฎหมายเพิ่มประโยชน์ต่อคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
หลักความสมานฉันท์ของสังคม มีการเน้นความสำคัญของรัฐและความรับผิดของรัฐ รัฐจำเป็นต้องจัดสวัสดิการให้กับสังคมและยกเลิกความแตกต่างระหว่าง กฎหมายเอกชนกับกฎหมายมหาชน ดิวกิต ไม่เห็นด้วยที่จะแบ่งกฎหมายเป็นกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน เพราะพื้นฐานความคิดของเขา คือทฤษฎีสมานฉันท์ของสังคม ซึ่งเห็นว่ากฎหมายทั้งปวงจะต้องมุ่งสมานฉันท์ของสังคมทั้งสิ้น จึงไม่มีความจำเป็นจะต้องแบ่งแยกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของเอกชน เรื่องนี้เป็นเรื่องของมหาชน เพราะกฎหมายทั้งปวงล้วนแล้วแต่จะต้องตอบสนองเป้าหมายของสังคมทั้งสิ้น นอกจากนี้ ดิวกี้ ยังเน้นเรื่องเกี่ยวกับความสำคัญของ”หน้าที่” (Duty) มากกว่าเรื่องของ “สิทธิ” (Rights) กฎหมายในสายตาของ ดิวกิต จึงเป็นเรื่องระบบแห่งหน้าที่ ไม่ใช่ระบบ “สิทธิ” ซึ่งประเด็นนี้จะสะท้อนให้เห็นถึงความคิดในเชิงสังคมวิทยาอย่างชัดเจนที่ให้ความสำคัญกับเรื่องของ “หน้าที่” อย่างมาก ในขณะสิทธิธรรมชาติ (Natural Rights) เป็นเรื่องที่ถูกสร้างขึ้นมาเท่านั้นไม่มีจริง
ดิวกิต มองจากสิ่งที่เป็นความจริงเกี่ยวกับการก่อตัวขึ้นมาของสังคมจะไม่มีสิทธิโดยธรรมชาติ แต่มี
สิทธิที่เป็นความจริงในการดำรงอยู่ของสังคม คือ มนุษย์มีหน้าที่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จะเห็นได้ว่าเรื่องของการให้ความสำคัญ หน้าที่ นั้นเป็นการสะท้อนความคิดแบบสังคมนิยมค่อนข้างมาก ส่วนเรื่องสิทธิหรือเรื่องเสรีภาพ (Liberty) นั้นการจะยอมรับกันก็คงจะกล่าวได้ว่าเป็นเพียงผลลัพธ์ของหน้าที่ในการพัฒนาปัจเจกภาพ (Individuality) ของมนุษย์ให้สมบูรณ์ เพื่อที่จะนำไปสู่ความร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกันหน้าที่ในการพัฒนาความเป็นที่สมบูรณ์ จะต้องมีเป้าหมายเพื่อการร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ก็เพื่อให้มนุษย์เรามีโอกาสในการพัฒนาความเป็นคนมากขึ้น เพื่อให้การพัฒนาความเป็นคนสมบูรณ์มากขึ้น อันเป็นพื้นฐานให้มนุษย์เรามีจิตใจโอบออ้มอารีมีจิตใจที่ช่วยเหลือมนุษย์ซึ่งกันและกันมากขึ้นต่อไป
ข้อสังเกต แนวคิดของ ดิวกิต นับว่าเป็นเรื่องประโยชน์ของสังคมอย่างเดียว จนแทบไม่มีที่ว่างของปัจเจกชนหลงเหลืออยู่ ดังจะเห็นได้จากแนวคิดที่ปฏิเสธ เรื่องสิทธิปัจเจกชน รวมทั้งปฏิเสธความแตกต่างกฎหมายเอกชนกับกฎหมายมหาชน การใช้สิทธิทางแพ่งหรือทางทรัพย์สิน ก็ต้องอยู่ภายใต้วัตถุประสงค์ของการปกป้องผลประโยชน์ของสังคมหาใช่เป็นเรื่องส่วนตัว
1.2 กลุ่มที่มีแนวความคิดโอนเอียงมาทางอนุรักษ์นิยมเสรีนิยม
รูดอร์ฟ ฟอน เยียริ่ง (Rudolf Von Jhering :1818-1892) เยียริ่ง เขียนหนังสือเรื่อง“กฎหมายในฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย” (Law as a Means to an End) ในปี ค.ศ. 1887งานเขียนชิ้นนี้เป็นการเน้นให้เห็นความชัดเจนถึงการมองธรรมชาติของกฎหมายในแง่เป็นเครื่องมือ เพื่อ บรรลุเป้าหมายทางสังคมซึ่งเป้าหมายทางสังคมในแง่นี้เป็นเป้าหมายทางสังคมแบบอรรถประโยชน์เชิง สังคม กล่าวคือ ในเรื่องประโยชน์สุขของสังคมกฎหมายจะต้องบัญญัติใช้เพื่อบังคับให้เกิดประโยชน์สุขแก่คนในสังคม ซึ่งเรียกร้องให้ผนึกรวมแนวความคิดทางกฎหมายเข้ากับความเป็นจริงทางสังคมและเน้นบทบาทของ กฎ หมายเพื่อประโยชน์ของสังคมอย่างจริงจัง หรือเรียกว่า วัตถุประสงค์ในกฎหมาย
วัตถุประสงค์แห่งกฎหมาย เป็นแกนทางความคิดสำคัญทางปรัชญาของ เยียริ่ง วางอยู่ที่แนวความคิดเรื่อง “วัตถุประสงค์” (Purpose) ซึ่ง เยียริ่ง อธิบายว่าวัตถุประสงค์นี้ ถ้ามองเทียบกับสิ่งอื่นไม่ว่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต วัตถุประสงค์นั้นเป็นเสมือนกฎเกณฑ์สากลที่อยู่เบื้องหลังการดำรงอยู่ของสิ่งต่างๆ วัตถุประสงค์จึงเป็นตัวกำหนดหรือตัวที่อยู่เบื้องหลังความเป็นจริงของสิ่งต่าง ๆ
เมื่อเอาแนวคิดดังกล่าวข้างต้นมาโยงกับกฎหมาย กฎหมายจึงเป็นผลผลิตของวัตถุประสงค์เป็นสิ่งที่เกิดจากเป้าหมาย โดยการวางเป้าหมายหรือวางวัตถุประสงค์ขึ้นมา เมื่อสร้างวัตถุประสงค์ขึ้นมาแล้ว กฎหมายก็จะตามมา กลายเป็นเครื่องมือเพื่อที่จะทำให้เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์นั้นได้มีโอกาสเป็นจริงขึ้นมา ในการมองเป้าหมายของกฎหมายนั้น เป้าหมายจะต้องเป็นไปเพื่ออรรถประโยชน์ของสังคมหรือเพื่อประโยชน์สุขของสังคมต่าง ๆ แต่ว่าในการที่จะก้าวไปถึงจุดนั้นเราต้องยอมรับว่าในความเป็นจริง ข้อเท็จจริงของสังคมจะเป็นสังคมที่เต็มไปด้วยความขัดแย้ง
ความขัดแย้งที่สำคัญในสังคม เยียริ่ง มองว่ามี 3 ประเภท คือ
1. ผลประโยชน์ของปัจเจกชน
2. ผลประโยชน์ของรัฐ
3. ผลประโยชน์ของสังคม
ดังนั้นบทบาทของนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาจึงอยู่ที่การจัดองค์ประกอบหรือการจัดความสมดุลของผลประโยชน์ทั้ง 3 ประเภท ให้อยู่ร่วมกันได้ ไม่ให้มีการเหลื่อมล้ำหรือมีการเอารัดเอาเปรียบมากเกินไป ซึ่งขบวนการในการสร้างความสมดุลของผลประโยชน์ที่แตกต่างกันนั้นเป็นเรื่อง“อรรถประโยชน์เชิงสังคม” คือ บรรลุสิ่งที่เป็นประโยชน์ของสังคมมนุษย์ที่จะอยู่ร่วมกันได้
การที่จะทำให้ผลประโยชน์ในเชิงสังคมมีความกลมกลืนกันได้นั้น การใช้กฎหมายเป็นสิ่งที่จำเป็น และต้องรู้จักใช้ตลอดถึงเข้าใจถึงสิ่งที่เป็นหลักในการออกกฎหมาย เพื่อนำไปสู่การค้นพบหรือสร้างสิ่งที่เป็นจุดสมดุลของผลประโยชน์ที่ขัดกัน
เมื่อมองบทบาทของกฎหมายในแง่ของการสร้างความสมดุลของผลประโยชน์ของสังคมของ เยียริ่งจะทำให้เราสามารถมองแนวคิดของ เยียริ่ง ที่ปฏิเสธความคิดของสำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ ที่ว่ากฎหมายเกิดขึ้นโดยไม่รู้สึกตัวและเกิดขึ้นโดยปราศจากความตั้งใจ โดย เยียริ่ง ยืนยันว่ากฎหมายคือการต่อสู้ในฐานะเป็นสิ่งเคลื่อนไหวทางประวัติศาสตร์กฎหมายไม่ใช่สิ่งที่เจริญเติบโตมาแต่ก่อนแต่กฎหมายได้เกิดขึ้นเพราะการต่อสู้ด้วยความยากลำบากท่ามกลางวิกฤติการณ์ของมนุษย์ ท่ามกลางเป้าหมายและผลประโยชน์ของคน ส่วนรวมมิใช่ของปัจเจกชนคนใดคนหนึ่ง ซึ่งเป็นการโต้แย้งสำนักกฎหมายประวัติศาสตร์
นอกเหนือจากท่าทีปฏิปักษ์ต่อสำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ เยียริ่ง เน้นบทบาททางสังคมโดยพิจารณาถึงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชีวิตและสังคมควบคู่กันไปเขาจึงปฏิเสธการวิเคราะห์ธรรมชาติกฎหมายในเชิงนามธรรมหรือเชิงสถิตย์ แบบพวกนักกฎหมายธรรมชาติด้วย
จากการที่ เยียริ่ง เน้นความสำคัญของผลประโยชน์สังคมดังกล่าว จำเป็นที่จะต้องมีการแก้ไขกฎหมายที่เป็นกลไกที่จะต้องปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา กฎหมายไม่ใช่เป็นเรื่องที่เป็น กฎธรรมชาติตายตัว จะต้องมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เพื่อให้ผลประโยชน์ของคนในสังคมที่มีความแตกต่างกันอยู่ร่วมกันได้โดยปกติสุข ซึ่งเป็นการโต้แย้งสำนักกฎหมายธรรมชาติ
จากแนวความคิดนี้จึงได้มีความพยายามหรือความเคลื่อนไหวในการบัญญัติกฎหมายในเชิงสังคมทั้งหลายเช่น กฎหมายที่มีลักษณะมุ่งแก้ปัญหาความเป็นธรรมในสังคม ซึ่งเป็นแนวคิดร่วมกับสำนักกฎหมายปฏิฐานนิยมในแง่ที่ว่า กฎหมายออกโดยมนุษย์เพื่อให้สังคมอยู่ร่วมกันโดยปกติสุข
ตัวอย่างเช่น กฎหมายแรงงาน ประกันสังคม กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายห้ามการผูกขาดการค้ากำไรเกินควร เป็นต้น ซึ่งกฎหมายในลักษณะที่ได้อธิบายดังกล่าวนั้น เยียริ่ง เชื่อว่าจะทำหน้าที่ควบคุมระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมให้ดำเนินไปด้วยดี ไม่ให้มีการเอารัดเอาเปรียบจนเกินไป ความคิดด้านการปฏิรูปกฎหมายดังกล่าวยังกินความถึงการจำกัดสิทธิ ในการใช้ทรัพย์สินของเอกชนหรือการยอมให้มีการยึดหรือเวนคืนทรัพย์สินบางอย่าง ซึ่งถือเป็นวิธีการแก้ไขปัญหาการสานผลประโยชน์ระหว่างสังคมกับเอกชนทางหนึ่ง
รอสโค พาวด์ (Roscoe Pound :1870 – 1964)นักนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาของประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นศาสตราจารย์ทางกฎหมายแห่งมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด ซึ่งพัฒนาทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาให้มีรายละเอียดในทางปฏิบัติและทำให้ทฤษฎีนี้แพร่หลายมาก ขึ้นในดินแดนต่าง ๆ คือ ทฤษฎีวิศวกรรมสังคม (Social Engineering Theory)
ทฤษฎีวิศวกรรมสังคม อันเป็นทฤษฎีที่เน้นภารกิจของนักกฎหมายในการจัดระบบผลประโยชน์ต่าง ๆให้สมดุลโดยกลไกทางกฎหมายคล้ายกับการเป็นวิศวกรรมสังคมที่มุ่งสร้างโครงสร้างสังคมใหม่อันมีประสิทธิภาพในการตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างสูงสุดโดยให้เกิดการร้าวฉานหรือสูญเสียน้อยที่ สุด
ทฤษฎีวิศวกรรมสังคมของ พาวด์ มีการกล่าวถึงปัญหาเกี่ยวกับเรื่องผลประโยชน์ความหมายของผลประโยชน์ต่าง ๆ ประเภทของผลประโยชน์ รายละเอียดของผลประโยชน์ ซึ่งในประเด็นเหล่านี้ พาวด์ กล่าวว่าสิ่งที่ เยียริ่ง ได้อธิบายไว้ โดย พาวด์ ได้เอาทฤษฎีของ เยียริ่ง มาอธิบายให้มีความละเอียดพิสดารมากขึ้น พาวด์ ได้ให้ความหมายของเรื่องผลประโยชน์ว่า “ผลประโยชน์นั้นเป็นเรื่องของข้อเรียกร้อง ความต้องการหรือความปรารถนาที่มนุษย์ต่างยืนยันเพื่อให้ได้มาอย่างแท้จริง เป็นภารกิจที่กฎหมายต้องกระทำเพื่อสิ่งเหล่านี้ เพื่อที่จะให้ผลประโยชน์ดังกล่าวปรากฏเป็นจริง ไม่มีความขัดแย้งกัน” พาวด์ ได้แยกผลประโยชน์ ออกเป็น 3 ประเภท คล้ายกับ เยียริ่ง กล่าวคือ
1. ผลประโยชน์ของปัจเจกชน (Individual interests) คือ ข้อเรียกร้อง ความต้องการ
ความปรารถนาและความคาดหมายในการดำรงชีวิตของปัจเจกชน (Individual Life) ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
1) ผลประโยชน์ด้านบุคลิกภาพส่วนตัว (Interest in personality) หมายถึง
ผลประโยชน์ในร่างกาย เสรีภาพแห่งเจตจำนง เกียรติยศและชื่อเสียง ความมีอิสระส่วนตัวและการเชื่อถือหรือนับถือสิ่งต่าง ๆ
2) ความสัมพันธ์ทางครอบครัว (Domestic relation) อันเกี่ยวข้องกับบิดา มารดา สามี ภรรยาและบุตร
3) ผลประโยชน์ในเรื่องอันเป็นแก่นสาระสำคัญ (Interest of substance) ซึ่งรวมถึงการมีทรัพย์สินส่วนตัว (Private property) เสรีภาพในการประกอบอุตสาหกรรมหรือในการทำสัญญาการได้ประโยชน์ตามคำมั่นสัญญา เสรีภาพในการสมาคมและการจ้างแรงงานอันต่อเนื่อง
2. ผลประโยชน์ของมหาชน (Public interest) คือ ข้อเรียกร้อง, ความต้องการหรือ
ความปรารถนาที่ปัจเจกชนยึดมั่นอันเกี่ยวพันหรือเกิดจากจุดยืนในการดำรงชีวิตที่เกี่ยวกับการเมือง (Political Life) ได้แก่ ผลประโยชน์ของรัฐในฐานะที่เป็นนิติบุคคลที่จะครอบครองหรือเวนคืนทรัพย์สิน รวมทั้งผลประโยชน์ของรัฐในฐานะเป็นผู้พิทักษ์ปกป้องผลประโยชน์ของสังคม
3. ผลประโยชน์ของสังคม (Social Interest) คือ ข้อเรียกร้อง, ความต้องการหรือ
ความปรารถนาที่พิจารณาจากแง่ความคาดหมายในการดำรงชีวิตทางสังคม (Social Life) อันรวมถึง
1) ผลประโยชน์ของสังคมในแง่ความปลอดภัยทั่วไป
2) ผลประโยชน์ของสังคมในแง่ความปลอดภัยของสถาบันทางสังคมต่าง ๆ เช่น
สถาบันทางศาสนา สถาบันทางเศรษฐกิจ สถาบันทางการเมือง หรือสถาบันทางครอบครัว
3) ผลประโยชน์ของสังคมในแง่ศีลธรรมทั่วไปซึ่งครอบคลุมถึงกฎหมายต่าง ๆอันเกี่ยวกับการควบคุมการค้าประเวณี การค้าสุราหรือการพนัน
4) ผลประโยชน์ในการสงวนรักษาทรัพย์ทั้งในแง่ทรัพยากรธรรมชาติและ
ทรัพยากรมนุษย์
5) ผลประโยชน์ของสังคมด้านความก้าวหน้าทั่วไปซึ่งหมายถึง
(1) ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ อันหมายความรวมถึงเสรีภาพในการใช้
และจำหน่ายทรัพย์สิน เสรีภาพในทางการค้า การอุตสาหกรรม การส่งเสริม การประดิษฐ์ด้วยการรับรองสิทธิบัตร
(2).ความก้าวหน้าทางการเมืองอันแสดงออกที่การยอมรับนับถือ ต่อ
เสรีภาพในการพูด การแสดงออกความคิดเห็นและสมาคม
(3)ความก้าวหน้าทางวัฒนธรรม ซึ่งปรากฏจากการมีเสรีภาพทางศาสตร์
ต่าง ๆ วรรณกรรม ศิลปะ สุนทรียศาสตร์ การส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้
ข้อสังเกต ผลประโยชน์ทั้ง 3 ประการในทฤษฎีของ พาวด์ จะไม่มีการจัดน้ำหนักประโยชน์ใดให้มีน้ำหนักมากกว่าผลประโยชน์อื่น ถึงแม้โดยหลักการเราจะมองว่า สังคมนั้นมีความสำคัญอย่างมากแต่ในทฤษฎีวิศวกรรมสังคม การมองว่าในกระบวนการออกกฎหมายหรือกระบวนใช้กฎหมายจะต้องมีการนำเอาประโยชน์ต่าง ๆ เข้ามา ทั้งผลประโยชน์ของปัจเจกชน ทั้งผลประโยชน์มหาชน ผลประโยชน์ของสังคมหากมีสถานะที่ต้องมีการตรวจสอบความขัดแย้งในการจัดความสมดุลของผลประโยชน์ พาวด์ มองว่าผลประโยชน์ทั้งหลายต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่ามีน้ำหนักเป็นกลาง
ข้อสังเกต การแบ่งประเภทของผลประโยชน์ในสังคมนั้น มีนักปรัชญากฎหมายบางคนที่มีความคิดแตกต่างจาก พาวด์ ในการแบ่งประเภทดังกล่าวอาทิ เช่น ศาสตราจารย์ จูเลียส สโตน (Julius Stone) แห่งประเทศออสเตรเลียได้แบ่งผลประโยชน์ออกเป็น 2 ประเภท คือ ผลประโยชน์ของปัจเจกชน กับผลประโยชน์ของสังคมโดยตัดผลประโยชน์มหาชนออกไป
ศาสตราจารย์จอร์จ เพตัน (Jeorge Paton) ได้แยกผลประโยชน์ออกเป็น 2ประเภท คือ ผลประโยชน์ของสังคมและผลประโยชน์ของส่วนตัว
การคาดผลประโยชน์ด้วยวิธีการต่าง ๆ ในการกระทำวิศวกรรมสังคมที่กล่าวมาของ พาวด์ นับว่าเป็นหัวใจสำคัญยิ่งในทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา ซึ่ง พาวด์ ถือว่าเป็นก้าวย่างใหม่ของการศึกษากฎหมายและเป็นเสมือนการก้าวสู่จุดสุดยอดของนิติปรัชญานับแต่อดีตกาลมา รวมทั้งเป็นการขยายบทบาทของนักนิติศาสตร์หรือนักทฤษฎีให้ลงมาสัมผัสกับโลกแห่งความเป็นจริงมากขึ้นแทนที่จะหมกมุ่นกับการถกเถียงเชิงนามธรรมในปรัชญากฎหมายเท่านั้น
พาวด์ได้ประกาศยืนยันเกี่ยวกับภาระสำคัญของนักนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา ไว้ 6 ประการ คือ
1.ศึกษาถึงผลลัพธ์ที่เกิดจริงของสถาบันทางกฎหมายและทฤษฎีกฎหมาย
2.ศึกษาเชิงสังคมวิทยาในเรื่องการตระเตรียมการนิติบัญญัติ โดยเฉพาะในเรื่องผลของการนิติ
บัญญัติเชิงเปรียบเทียบ
3.ศึกษาถึงเครื่องมือหรือกลไกที่จะทำให้กฎเกณฑ์ทางกฎหมายมีประสิทธิภาพโดยถือว่า “ความ
มีชีวิตของกฎหมายปรากฏอยู่ที่การบังคับใช้กฎหมาย” (The life of law is in it enforcement)
4.ศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายเชิงสังคมวิทยา ด้วยการตรวจพิจารณาดูว่าทฤษฎีกฎหมายต่างๆ
ได้ส่งผลประการใดบ้างในอดีต
5.สนับสนุนให้มีการตัดสินคดีบุคคลอย่างมีเหตุผลและยุติธรรมซึ่งมักอ้างเรื่อง “ความแน่นอน”
(Certainty) ขึ้นแทนที่มากขึ้น
6.พยายามทำให้การบรรลุจุดมุ่งหมายของกฎหมายมีผลมากขึ้น
2.บทวิเคราะห์วิจารณ์ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา
บทวิเคราะห์วิจารณ์ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาผู้เขียนขอวิเคราะห์วิจารณ์ออก 2 ประเด็น คือ คุณูปการของทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยากับข้อสรุปภาพรวมของทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา ดังนี้
2.1 คุณูปการของทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา
จากการเน้นบทบาทของกฎหมายในการสร้างความสมดุล ซึ่งผลประโยชน์ต่างๆในสังคมมิให้เกิดมีการเอารัดเอาเปรียบกันในหมู่สมาชิกของสังคม ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาจึงอาจถือให้เป็นทฤษฎีพื้นฐานของระบบรัฐสังคมหรือรัฐที่เน้นความรับผิด ชอบของรัฐบาลในการจัดสวัสดิการต่างๆให้แก่ประชาชน รวมทั้งการปกป้องคุ้มครองผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่ ในแง่นี้ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาจึงส่งผลเปลี่ยนแปลงต่อทัศนคติที่มีต่อระบบกฎหมาย สร้างแนวความคิดที่ส่งเสริมให้ระบบกฎหมายเน้นประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่ เน้นบทบาทของกฎหมายในการควบคุมสังคมที่สำคัญ คือ เป็นฐานความคิดหลักกฎหมายที่ผลักดันให้มีการตรากฎหมายใหม่ๆ ที่มุ่งควบคุมระเบียบของสังคมให้เกิดความสมดุล ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม เช่น การตรากฎหมายป้องกันการผูกขาด ต่อต้านการทุ่มทุนสินค้าสู่ตลาด จำกัดสิทธิ เสรีภาพในการใช้ทรัพย์สินหรือในการทำสัญญาและการตรากฎหมายการควบคุมเศรษฐกิจและสังคมต่างๆ ทั้งในด้านการคุ้มครองผลประโยชน์ของผู้บริโภค ควบคุมสภาพแวดล้อมผังเมือง กฎหมายคุ้มครองแรงงานหรือกฎหมายประกันสังคมต่างๆเป็นต้น
2.2.ข้อสรุปภาพรวมทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา
โดยภาพรวมจะเห็นว่า นักนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาเป็นนักกฎหมายที่มีความมุ่งมั่นที่จะใช้หรือมุ่งมั่นที่จะผลักดันให้กฎหมายเป็น กลไกในการแก้ปัญหาสังคมอย่างจริงจัง โดยเขามีหน้าที่ที่จะต้องค้นหาหรือมีหน้าที่ที่จะต้องศึกษาความเป็นจริง ตลอดจนอุปสรรคต่าง ๆ ของกฎหมายที่ปรากฏในสังคม พร้อมกันนั้นอุดมคติเกี่ยวกับเรื่องเหตุผลหรือความเป็นธรรม
แนวคิดนี้จึงเป็นแนวคิดที่เน้นเรื่องความเป็นธรรมในตัวเอง ในขณะเดียวกันก็พยายามเน้นเรื่องการต้องศึกษาความเป็นจริงกับกฎหมายที่ปรากฏอุปสรรคต่าง ๆ เป็นต้น
แนวคิดนี้จะเรียกว่าเป็นนิติศาสตร์เชิงเสรีนิยมก็ได้ เพราะเน้นแนวความคิดของที่ยังมองโลกในแง่บวก และมีความหวังที่จะแก้ปัญหาสังคมโดยกฎหมาย โดยเฉพาะแนวคิดของ พาวด์ ที่ถือว่าการใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาสังคมหรือเป็นเครื่องมือในการสร้างสังคมนั้น เบื้องหลังความคิดของ พาวด์ ยังมีสิ่งที่เป็นคุณค่านิยมพื้นฐานแฝงอยู่ด้วย ซึ่งอาจจะเรียกว่า “หลักมูลฐานสำหรับกฎหมาย” (Jural Postulate / Postutale for Law)
สิ่งที่เป็นหลักมูลฐานสำหรับกฎหมาย เป็นหลักในการออกฎหมายเพื่อบรรลุสิ่งที่เป็นเป้าหมายในการทำวิศวกรรมสังคม ประกอบด้วยหลักสำคัญนับแต่หลักการไม่รุกรานก้าวร้าวโดยเจตนากับบุคคลอื่น ๆ การปกป้องควบคุมผลประโยชน์ในสิ่งที่บุคคลครอบครองภายใต้ระเบียบทางเศรษฐกิจและสังคมดำรงอยู่ การปฏิบัติต่อกันด้วยความซื่อสัตย์สุจริต การปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างระมัดระวังไม่ให้เกิดความเสียหายและการควบคุมการกระทำที่เป็นอันตรายต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงการให้แก้ไขชดใช้ความเสียหายอันเกิดจากอันตรายดังกล่าว
เนื่องจากหลักการดังกล่าวแล้ว พาวด์ ได้ขยายหลักการเพิ่มขึ้น ซึ่งมีลักษณะเป็นหลักการในเชิงสังคม หลักการในเชิงเพื่อความเสมอภาคเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมมากขึ้น เช่น หลักเกี่ยวกับความมั่นคง
ในอาชีพ การงาน ซึ่งเป็นหลักที่จะนำไปสู่การออกกฎหมายสนับสนุนให้มีการช่วยเหลือค่าครองชีพ สำหรับกรณีคนตกงาน หลักความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม หลักเกี่ยวกับการประกันสังคม
แบบฝึกหัดท้ายบท
1.จงอธิบายนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาและให้วิจารณ์ว่ามีอิทธิพลต่อการปฏิรูปสังคมให้มีการสานผลประโยชน์ต่างๆได้อย่างสมดุลหรือให้มีความสามานฉันท์กันอย่างแท้จริงเพียงใด
2.จงวิเคราะห์แนวคิดนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาแบบสามานฉันท์(เน้นไปทางสังคมนิยม)กับแนวคิดแบบเสรีอนุรักษ์นิยม
หนังสือและเอกสารอ่านเพิ่มเติม
หนังสือภาษาไทย
จรัญ โฆษณานันท์ “นิติปรัชญา” กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2538
ปรีดี เกษมทรัพย์ “นิติปรัชญาภาคหนึ่ง : บทนำทางทฤษฎี” กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2526
รองพล เจริญพันธ์ “นิติปรัชญา” กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2526
หนังสือต่างประเทศ
Roscoe Pound “The scope and Purpose of Socielogical Jurisprudence” 25, (Havard Law
Review,1912)
Roscoe Pound “Introduction to American Law” 1991
natural law theory 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
ปรัชญากฎหมายตะวันตก
สำนักกฎหมายธรรมชาติ
ปรัชญากฎหมายธรรมชาติหรือสำนักกฎหมายธรรมชาติ (Nature Law School) ซึ่งเป็นเสมือนขั้วตรงข้ามกับทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย (Positive Law School) โดยเป็นปรัชญากฎหมายที่มีกำเนิดมาก่อนหน้าปฏิฐานนิยมทางกฎหมายนับพันปีและเป็นปรัชญากฎหมาย ซึ่งยังมีบทบาทหรืออิทธิพลความคิดระดับหนึ่งในโลกปัจจุบัน โดยเฉพาะเมื่อมีวิกฤติการณ์ทางสังคมหรือการเมือง ขณะที่บ้านเมืองอยู่ในภาวะระส่ำระส่ายปราศจากความเป็นธรรม หลายต่อหลายครั้งในอดีตที่ปรัชญากฎหมายธรรมชาตินี้ได้ถูกใช้เป็นเหตุผลสนับสนุนเพื่อต่อสู้กับอำนาจรัฐที่ไม่เป็นธรรม ตัวอย่างเช่น กรณีไทย 14 ตุลาคม 2516 เป็นต้น
การปลูกฝังแนวความคิดนี้มีส่วนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบการปกครองไปสู่ทิศทางที่เป็นประชาธิปไตย เช่น แนวคิดการประกาศอิสรภาพของอเมริกา ค.ศ.1776 การประกาศสิทธิมนุษยชนของฝรั่งเศส ค.ศ.1789 การมีประมวลกฎหมายแพ่งนโปเลียนหรือประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศส (นับได้ว่าเป็นประมวลกฎหมายฉบับแรกของโลก) ล้วนแต่ได้รับแนวความคิดของกฎหมายธรรมชาติอยู่มากล้นด้วยกัน
หากเริ่มต้นด้วยการพิจารณาที่ความหมายของคำว่า “กฎหมายธรรมชาติ” (Nature Law) เราจะพบว่าในความหมายทั่วไปนั้น กฎหมายธรรมชาติเป็นกฎหมายซึ่งบุคคลอ้างว่ามีอยู่ตามธรรมชาติ คือ เกิดมามีเอง โดยมนุษย์ไม่ทำขึ้นเป็นกฎหมายที่อยู่เหนือรัฐ และใช้ได้โดยไม่จำกัดกาลเทศะ
กฎหมายธรรมชาติเป็นกฎเกณฑ์อุดคติที่มีขึ้นเพื่อจัดให้เกิดความสมดุลอย่างมากที่สุดที่จะเป็นไปได้ ระหว่างปัจเจกชนกับกลุ่มส่วนรวม ระหว่างเสรีภาพส่วนบุคคลกับความเสมอภาคของทุกคน
การให้ความหมายต่างๆข้างต้น เมื่อพิจารณาแล้วคงมีความรู้สึกได้ถึงแง่มุมเชิงจิตนาการหรือการ
คิดฝันเกี่ยวกับกฎหมายอุดมคติซึ่งดูแล้วเข้าใจยาก
ผู้ศึกษาจึงจำเป็นต้องศึกษาให้ถึงแก่นของกฎหมายธรรมชาติ โดยมีประเด็นที่ต้องศึกษา เช่น
- อะไรคือธรรมชาติ
- เนื้อหาจริงๆ ของกฎหมายธรรมชาติคืออะไร
- ทำไมจึงต้องมีกฎหมายธรรมชาติ แยกต่างหากจากกฎหมายของรัฐ เป็นต้น
ดังนั้นเราจะเข้าใจในปรัชญากฎหมายธรรมชาติได้ถ่องแท้ได้นั้นเราจำเป็นต้องศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของปรัชญากฎหมายธรรมชาติในอารยธรรมตะวันตกให้เข้าเสียก่อน ซึ่งพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของปรัชญากฎหมายธรรมชาติ สามารถแยกอธิบายดังนี้
1. ยุคโบราณกรีกและโรมัน (500 BC. – 5 AD.)
2. ยุคมืด (5 AD. – 12 AD.) และยุคกลาง (12 AD – 16 AD)
3. ยุคฟื้นฟู (14 AD. – 16 AD.) ในยุคปฏิรูป (16 AD. 18AD.)
4. ยุคชาติรัฐนิยม หรือรัฐชาติ หรือรัฐสมัยใหม่ (18 AD. 19 AD.)
5. ยุคปัจจุบัน
ปรัชญากฎหมายธรรมชาติในแต่ละช่วงแต่ละยุคนี้อาจสะท้อนให้เราเห็นต่อไปถึงความเป็นอนิจจัง
ในบทบาทของปรัชญากฎหมายธรรมชาติได้อย่างดีและอาจจะทำให้เข้าธรรมชาติของกฎหมายด้วย
1.กฎหมายธรรมชาติยุคกรีกและโรมัน
แนวคิดเรื่องกฎหมายธรรมชาติได้ก่อตัวเป็นรูปร่างสำคัญ โดยปรัชญาเมธีกรีก ชื่อ เฮราคริตุส
(Haraclitus) 540 – 480 ก่อน ค.ศ. ผู้เป็นเจ้าของคำกล่าวอันเลื่องลือว่า “มนุษย์ไม่อาจกระโดดลงสู่กระแสธารได้สองครั้ง” เมธีผู้นี้ได้พยายามค้นหาสัจจะเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยเฉพาะความจริงเกี่ยวกับแก่นสารของชีวิต ซึ่งเขาพบว่าธรรมชาติ คือ ความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ง แก่นสารของชีวิตคือธรรมชาติ และแก่นสารของชีวิตนั้นเป็นสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติ ซึ่งประกอบด้วยจุดหมายปลายทาง ระเบียบและเหตุผลอันแน่นอน ซึ่งไม่อาจผันแปรได้นับเป็นการยืนยันว่ากฎเกณฑ์ ซึ่งใช้เป็นตัวควบคุม “แก่นสารของชีวิต” นั้นย่อมปรากฏอยู่แล้วในธรรมชาติ มิได้เกิดขึ้นจากการบัญญัติหรือเจตจำนงของมนุษย์ผู้มีอำนาจคนใด โดยเป็นกฎเกณฑ์ที่เป็นภววิสัย (Objective) หรือเป็นจริงอยู่เองโดยธรรมชาติซึ่งอยู่นอกหรืออยู่เหนือโครงสร้างอำนาจรัฐ
แนวคิดของ เฮราคริตุส ได้รับการสืบทอดแนวความคิดมายังบรรดานักคิดหลายคนในกลุ่มนักปรัชญากรีกโบราณนี้เรียกว่าพวก โสฟิสท์ (Sophists) อันเป็นกลุ่มที่ก่อตัวในช่วง 400-500 ปีก่อน คริสศักราช พวกโสฟิสท์ มีความคิดแตกต่างหลากหลายไม่สามารถหาลักษณะร่วมทั่วไปในความคิดของพวกนี้ เนื่องไม่มีพวกโสฟิสท์คนใดสร้างระบบคิดที่แน่นอน โสฟิสท์ จึงเป็นพวกแรกที่สนใจวิธีการใช้วาทะในการโต้เถียง
สมัยกรีกนั้นได้ปกครองในระบบทรราชย์ เต็มไปด้วยความอยุติธรรม และการกดขี่ข่มเหงกันบริบททางสังคม เช่นนี้เองที่เป็นตัวกระตุ้นหรือบันดาลใจให้พวก โสฟิสท์ บางคนได้อ้างเรื่องกฎหมายธรรมชาติขึ้นมาต่อต้าน คัดค้านการปกครองที่ไม่เป็นธรรม รวมทั้งคัดค้านให้ยกเลิกระบบอภิสิทธิ์และระบบทาสในยุคนั้น เนื่องจากเห็นว่ามนุษย์ล้วนมีความเท่าเทียมกันโดยธรรมชาติ
พวกโสฟิสท์ ชื่อ โซโฟครีส ได้เขียนหนังสือ ชื่อ แอนทีโกนี รัชกาลที่ 6 ทรงแปลเป็นไทยได้ตั้งชื่อเรื่องว่า อันตราคนี อันเป็นละครโศกนาฏกรรม ซึ่งบรรจุหลักการสำคัญในการแยกกฎหมายอันแท้จริงออกจากโครงสร้าง อำนาจของรัฐ และการยืนยันความเป็นโมฆะของกฎหมายแผ่นดินที่ขัดแย้งกับกฎหมายธรรมชาติ ยอมรับความตายในการต่อสู้กับกฎหมายของรัฐที่ไม่เป็นธรรม
ในเรื่อง พระเจ้าครีออน สั่งลงโทษ โปลีนิซัส ในฐานคนขายชาติ แอนทีโกนี ซึ่งเป็นน้องสาว ถือว่าคำสั่งนี้มิชอบด้วยความยุติธรรม เพราะขัดต่อเทวโองการ จึงถือว่าพระราชโองการผิดกฎหมาย (ของเทพเจ้า) พระเจ้าครีออน ถือว่าพระราชโองการ คือ กฎหมายและทุกคนต้องเคารพกฎหมาย หาไม่รัฐก็จะดำรงอยู่ไม่ได้ แอนทีโกนี ย้อนว่า ถ้าพระราชโองการขัดแห่งความยุติธรรมแล้ว พระราชโองการนั้นย่อมเป็นโมฆะจะบังคับใช้มิได้ แม้มนุษย์จะเป็นพระราชาก็ไม่สามารถออกกฎหมายมาลบล้าง หรืออยู่ให้เหนือกฎของสวรรค์อันมิได้ตราลงไว้ จากละครเรื่องนี้ จะเห็นได้ว่า แอนทีโกนี อยู่ฝ่ายนักทฤษฎีที่ถือว่ากฎหมายต้องเข้ากับกฎธรรมชาติ ส่วน พระเจ้าครีออน อยู่ฝ่ายนักทฤษฎีที่ถือว่ากฎหมายที่รัฐบาลบังคับใช้ ต้องมีการปฏิบัติตาม
แต่อย่างไรก็ตาม พวกโสฟิสท์ บางกลุ่มหรือหลายคนที่ปฏิเสธกฎหมายธรรมชาติ โดยเฉพาะ
ปีทาโกรัส (Pythagoras) เห็นว่าความจริงนั้นสิ่งที่เป็นธรรมชาติมีความหลากหลายไม่แน่นอนโดยเฉพาะปัญหาว่าอะไรดีอะไรชั่วเป็นเรื่องของแต่ละคนไม่มีมาตรฐานสากล เพราะมนุษย์จะมีโครงสร้างไม่เหมือนกัน สมองแต่ละคนไม่เหมือนกัน ดังนั้น การที่จะให้เหตุผลว่าสิ่งใดผิดสิ่งใดถูกย่อมแล้วแต่ละคน “เพราะมนุษย์เป็นเครื่องวัดสรรพสิ่ง” (Man is the measure of all things)
จากแนวคิดของ ปีทาโกรัส ทำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันมากเพราะเห็นว่าเป็นแนวคิดที่จะทำให้เกิดความเสียหายแก่สังคมได้ กล่าวคือถ้าสังคมไปยึดแนวคิดของ ปีทาโกรัส แล้วจะทำให้เกิดความระส่ำระส่ายในทางศีลธรรมเพราะทุกคนต้องเชื่อว่าผิดถูกอยู่ที่ตัวของเขาเอง
ดังนั้น จึงได้มีนักคิดอุดมคติที่เชื่อในเรื่องเกี่ยวกับจริยธรรมออกมาคัดค้านโต้แย้งกลุ่มโสฟิสต์ที่ปฏิเสธกฎหมายธรรมชาติ ซึ่งเป็นนักคิดสำคัญได้แก่ โสเกรติส เพลโต และอริสโตเติล
โสเกรติส (Socratis) มุ่งอบรมสั่งสอนผู้คนให้เข้าถึงความรู้ที่แท้จริง โดยอาศัยวิธีการสนทนาให้ข้อคิดในทางจารีต ขนบธรรมเนียม ศีลธรรมต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เมื่อคู่สนทนาพบว่าสิ่งซึ่งตนเข้าใจว่าเป็นเรื่องธรรมชาติและรู้อย่างดีนั้น แท้จริงไม่ใช่อย่างที่ตนเข้าใจ โสเกรติส จะตั้งคำถามให้คู่สนทนาคิดให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นและการตั้งคำถามดังกล่าว โสเกรติส สามารถที่จะชักนำให้คู่สนทนาเข้าถึงความรู้ที่ลึกซึ้งแท้จริงได้ที่เรียกว่าเป็น “วิภาษวิธี” (Dialectic)
ความรู้นั้นเป็นสิ่งที่สามรถอบรมสั่งสอน เมือผู้ใดมีความรู้ อย่างแท้จริงผู้คนจะดำเนินชีวิตไปตามตามบทสนทนาและเมื่อผู้ใดอย่างแท้จริงแล้วผู้คนจะดำเนินชีวิตไปตามหนทางแห่งความดี ย่อมดำเนินชีวิตถูกต้องตามคลองธรรม
แต่อย่างไรก็ตาม ชีวิตบั้นปลายของ โสเกรติส นั้นน่าศึกษามาก กับการยอมรับกฎหมายที่ตัวเองไม่มีความผิดในข้อหาสร้างเทพเจ้าขึ้นใหม่และบ่อนทำลายจิตใจของคนหนุ่มสาวกรีกสมัยนั้น โดนพิพากษาลงโทษดื่มยาพิษ การยืนยันของ โสเกรติส ที่ยอมรับโทษประหารชีวิต แม้จะประกาศว่าตนเองนั้นไม่มีความผิดและแม้ตนเองจะมีช่องทางหลบเลี่ยงโทษมหันต์ได้เพียงเพื่อความรักษาศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย อันเป็นหลักคุณธรรมของเขาว่า“ประชาชนทุกคนต้องเคารพปฏิบัติตามกฎหมายโดยไม่คำนึงว่า
กฎหมายนั้นจะเป็นธรรมหรือไม่ก็ตาม”
แม้หลักการของ โสเกรติส ดูออกจากตรงข้ามกับ แอนทีโกนี แต่ก็มีจุดร่วมในการยืนยันความเชื่อหรือหลักการที่คิดว่าถูกต้อง แม้จะต้องเอาชีวิตเข้าแลกก็ตาม
เพลโต (Plato) เห็นว่าพวกโสฟิสท์ ที่ไม่ยอมรับเรื่องกฎหมายธรรมชาตินั้นทำให้เกิดความเสื่อมในทางศีลธรรมและการหลงบูชาอำนาจ ในนครเอเธนส์สมัยนั้น เพลโต จึงได้พยายามแก้ไขด้วยการ อธิบายและปลูกฝังความคิดเรื่อง แบบ (Forms) หรือแม่พิมพ์ของสิ่งที่เป็นเอกสารหรือคุณธรรมอันเป็นสากลไม่มีการเปลี่ยนแปลง (ความดีถูกต้องที่เป็นสากล) (ทฤษฎีจิตนิยมเรื่อง “แบบ”) พร้อมกันนั้นเพลโตก็ได้แก้ไขตรรกะแห่งคำอธิบายเรื่องธรรมชาติมนุษย์ของพวก โสฟิสท์ ใหม่ด้วยการขยายรากฐานเชิงภววิทยา
(Ontological Foundation) ของคำว่าธรรมชาติดังกล่าวโดยยกระดับความหมาย “ธรรมชาติ” จากขอบเขตของความเป็นข้อเท็จจริงอันไม่แน่นอนเกี่ยวกับมนุษย์สู่ระดับของคุณค่านิยมถึงที่สุด และกำหนดให้สิ่งที่ถือว่าเป็น “ความเป็นจริง” ดำรงอยู่ แต่เฉพาะในโลกแห่งปัญญาเท่านั้น แนวคิดดังกล่าวของเพลโต เรียกว่า ทฤษฎีราชาปราชญ์ (The theory of Philosopher King) ซึ่งเป็นตัวทฤษฎีเน้นความสำคัญของตัวบุคคลค่อนข้างมาก คือ ตัวบุคคลที่เป็นราชาปราชญ์หรือผู้มีปัญญา
ทฤษฎีราชาปราชญ์ของ เพลโต แบ่งแยกออกเป็นวรรณะชนชั้นที่แตกต่าง ซึ่งอาจแยกได้ 4 ชนชั้น ดังนี้ คือ
1. ชนชั้นปกครอง Men of God ผู้ปกครองยุครัฐ
2. ชนชั้นทหาร Men of Silver คือ กองทัพที่จะอุ้มชูอำนาจ
3. ชนชั้นชาวนา หรือพ่อค้าวานิช ประชาชน
4. ชนชั้นช่างฝีมือ หรือพ่อค้าวานิช ประชาชน
การแบ่งแยกคนเป็นชนชั้นดังกล่าวถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นความไม่ถูกต้อง ในขณะที่ เพลโต พยายามที่จะบอกว่านี่ คือ ธรรมชาติ เพราะมนุษย์เราโดยธรรมชาติมีความแตกต่างกัน บางคนอาจมีแนวความคิดสามารถทางด้านสติปัญญาเหนือคนอื่น บางคนอาจจะเหนือคนอื่นในแง่เกี่ยวกับความกล้าหาญหรือบางคนอาจจะเหนือความอดทนเป็นพิเศษซึ่งเหล่านี้จะเป็นความแตกต่างในตัวมนุษย์ นอกจากนั้น ทฤษฎีของ เพลโต ยังระบุไว้ด้วยว่าพวกชนชั้นนักปราชญ์ หรือพวกชนชั้นทหารนั้นจะต้องเป็นชนชั้นที่ไม่มีครอบครัวไม่สามารถมีหรือครอบครองทรัพย์สินส่วนตัว เพราะ เพลโต มองว่าการมีครอบครัวหรือทรัพย์สินส่วนตัวทำให้เกิดยึดติด ทำให้เกิดความโลภและการหมกมุ่นอยู่กับสิ่งพวกนี้ แล้วปัญญาจะไม่เกิด
โดยหลักการแล้วรัฐในอุดมคติของ เพลโต จึงเป็นรัฐที่ปกครองด้วยบุคคลซึ่งว่าฉลาดปราชญ์เปรื่องที่สุด และเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม มิใช่รัฐที่ปกครองด้วยกฎหมาย หรือด้วยหลักนิติธรรม
อย่างไรก็ตามในช่วงสุดท้ายของชีวิต เพลโต จากประสบการณ์ในเชิงลบประจักษ์จากความพยายาม ที่จะสถาปนารัฐอุดมคติขึ้นมานั้น ความเป็นจริงแล้วคงไม่มีนักปราชญ์หรือผู้มีปัญญาอย่างดีเลิศขึ้นมาปกครองได้
จากความขมขื่นดังกล่าว อริสโตเติล (Aristotle) ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของ เพลโต อริสโตเติล เห็นถึงความบกพร่องในความคิดของ เพลโต และไม่เห็นด้วยกับแบบจำลองของรัฐในอุดมคติ อริสโตเติล ให้เหตุผลว่า แม้ว่าเราจะสามารถ หามนุษย์ที่ฉลาดปราดเปรื่องหรือบริสุทธิ์เพียบพร้อมดั่งพระเจ้า ตามทัศนะของเพลโตก็ตามรัฐนั้นก็ยังต้องปกครองด้วยกฎหมายอยู่นั่นเอง และกฎหมายที่เหมาะสมในการปกครองสังคมก็คือกฎหมายธรรมชาติหรือความยุติธรรมโดยธรรมชาติ
อย่างไรก็ตาม อริสโตเติล เห็นด้วยกับ เพลโต ในประเด็น การเข้าถึงกฎหมายธรรมชาติ โดยอาศัยปัญญาอันบริสุทธิ์หรือเหตุผลที่เป็นอิสระ
อริสโตเติล เชื่อว่าเหตุผล (Reason) ของมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ คุณค่าที่ธรรมชาติได้ให้ความสามารถใช้เหตุผลมาแก่มนุษย์อันแตกต่างจากสัตว์โลกชนิดอื่น คือ มนุษย์ต้องกระทำให้สอดคล้องกับคุณธรรมที่สำคัญ ได้แก่
1)คุณธรรมรู้แจ้งซึ่งได้แก่ เหตุผลและความรู้
2)คุณธรรมทางจริยธรรมได้แก่ การกระทำชอบ ความกล้าหาญ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และคุณสมบัติอื่นที่ดี
อริสโตเติล จะมองกฎหมายธรรมชาติในแง่เป็นกฎหมายอุดมคติที่มีการพัฒนา สภาพความเป็นกฎหมายจนถึงจุดสมบูรณ์ แต่อย่างไรก็ตาม สภาพความเด็ดขาดสูงสุดที่ละเมิดมิได้ของกฎหมายธรรมชาติ ตามทัศนะของ อริสโตเติล ไม่ได้พูดไว้ ในกรณีความขัดแย้งระหว่างหลักกฎหมายธรรมชาติหรือหลักความยุติธรรม กับกฎหมายส่วนบัญญัติ หรือกฎเกณฑ์ที่รัฐตราออกมาใช้บังคับในการปกครอง ผลทางกฎหมายจะเป็นอย่างไรจะถือว่าเป็นโมฆะหรือไม่ อริสโตเติล ไม่ได้กล่าวถึง เพียงแต่ยอมรับว่าเป็นกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมของรัฐ
สำนักสโตอิคกับกฎหมายธรรมชาติ (Stoic School) จากความคิดของ อริสโตเติล ซึ่งเชื่อในเรื่องของเหตุผลของมนุษย์ว่าเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ หรือเป็นดั่งเครื่องมือที่สามารถนำไปสืบค้นเกณฑ์อันเป็นสากลธรรมชาติ ความคิดดังกล่าวของ อริสโตเติล มีอิทธิพลสืบเนื่องมาถึงสำนักสโตอิค (Stoic School) ซึ่งก่อตั้งในราว 300 กว่าปีก่อนคริสศักราช โดยมี เซโน (Zeno : 350-260 B.C.) เป็นผู้ก่อตั้งสำนักนี้
ข้อสังเกต ปรัชญาความคิดของสำนักดังกล่าวนี้มีอิทธิพลความคิดที่มีผลต่อเนื่องจนถึงยุคปฏิวัติในฝรั่งเศสปี ค.ศ. 1789
สำนักสโตอิค มีแนวคิดพื้นฐานว่าในจักรวาลซึ่งโลกมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งนั้น ประกอบด้วย แก่นสาร (Substance) และ เหตุผล (Reason) หรือความเป็นเหตุผลนี้จะเป็นเสมือนกฎเกณฑ์ธรรมชาติที่มีลักษณะแน่นอน, ทั่วไปหรือเป็นระเบียบสม่ำเสมอ ซึ่งคอยควบคุมความเป็นไปของจักรวาลมนุษย์ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งในธรรมชาติของจักรวาลและเป็นสัตว์โลกที่รู้จักคิดใช้เหตุผล จึงย่อมถูกกำหนดควบคุมโดย เหตุผลอันเป็นสากล เหตุผลในฐานะเป็นพลังทางจักรวาลจึงเข้าไปครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่างรวมทั้งเป็นพื้นฐานของกฎหมายและความยุติธรรมด้วย กฎเกณฑ์ธรรมชาติหรือกฎหมายธรรมชาติจึงย่อมถือเป็นสิ่งเดียวกับกฎเกณฑ์แห่งเหตุผล โดยเหตุนี้จึงย่อมเข้าถึงกฎหมายธรรมชาติได้ด้วยการใช้เหตุผลของเขาเองและเหตุผลนี้เอง ที่ทำให้มนุษย์แตกต่างไปจากสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
ดังนั้นในทรรศนะของสโตอิค
1. มนุษย์มิได้เกิดมาเพื่อแสวงหาความสุขหรือความสะดวกสบาย แต่มนุษย์จำต้องยอมทนทุกข์
ทรมานกับการปฏิบัติตามสิ่งที่ถูกต้อง
2.การดำรงชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ต้องเป็นไป อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติ, สอดคล้องกับเหตุผลหรือคุณงามความดี และที่สำคัญมนุษย์ควรจะมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างมีอิสระ จากอารมณ์ความรู้สึกหรือตัณหาต่าง ๆ พยายามต่อสู้ เพื่อบรรลุถึงความสงบสันติหรือกลมกลืนอย่างรอบด้านภายในใจ ที่เรียกว่า “ธรรมชาตินิยม” (Natural Law)
ความเชื่อในเรื่องการดำรงชีวิต ซึ่งสอดคล้องกลมกลืนกับธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่งมีความเสมอภาคกัน โดยไม่จำกัดสัญชาติหรือเผ่าพันธุ์ คำสอนเช่นนี้จึงเป็นความเชื่อในเรื่องสากลนิยม (Cosmopolitan Philosophy) ไม่ให้ยึดติดในเชื้อชาติ, เผ่าพันธุ์, หรือศาสนา สอนให้คนมีจิตใจกว้างขึ้นและยอมรับเรื่องความเสมอภาคของมนุษย์ทุกคนรวมทั้งเรื่องความเป็นสากลของกฎหมายธรรมชาติ
ในแง่นี้เองที่เราพบว่าอุดมคติสูงสุดของสำนักสโตอิค อยู่ที่เรื่องรัฐแห่งโลก (World – State) หรือโลกนิยม โดยที่มนุษย์ทุกคนจะอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขและเป็นธรรม
ซิเซโร (Cicero) ซึ่งเป็นชาวโรมันแต่ไปศึกษาที่เอเธนส์ จึงได้รับปรัชญาแนวความคิดสโตอิคมาอย่างมากและที่สำคัญ ซิเซโร เป็นผู้มีส่วนร่วมอย่างมากในพัฒนาหลักนิติศาสตร์ของโรมันบนรากฐานปรัชญาสำนักสโตอิค ซิเซโร ได้เขียนอธิบายกฎหมายธรรมชาติไว้ว่า
“กฎหมายที่แท้จริง คือ เหตุผลที่ถูกต้อง กลมกลืนสอดคล้องกับธรรมชาติ, แผ่ซ่านในทุกสิ่งทุกอย่าง สม่ำเสมอ นิรันดร เป็นกฎหมายที่ก่อให้เกิดหน้าที่โดยคำสั่งให้กระทำและงดเว้นจากความชั่ว โดยข้อห้ามของกฎหมายเป็นหน้าที่อันศักดิ์สิทธ์ที่จะไม่พยายามบัญญัติกฎหมายให้ขัดแย้งกับกฎหมายนี้ เป็นสิ่งไม่อาจยกเลิกหรือทำให้เสื่อมคลาย อันที่จริงแล้วไม่ว่าจะเป็นวุฒิสภาหรือประชาชนก็ตามหาอาจหลุดพ้นจากความผูกพันของกฎหมายนี้ไม่ได้ และไม่มีความจำเป็นใด ๆ ที่จะพึ่งพาสิ่งอื่นหรือบุคคลอื่นนอกจากตัวเราเองที่จะเป็นผู้แสดงออกหรือตีความกฎหมาย,กฎหมายนี้ไม่เป็นอย่างหนึ่งที่กรุงโรมหรือเป็นอีกอย่างหนึ่งที่เอเธนส์ ไม่เป็นอย่างหนึ่งในขณะนี้ หรืออีกอย่างหนึ่งในเวลาต่อมา แต่เป็นกฎหมายประการเดียวที่เป็นนิรันดร ไม่เปลี่ยนแปลงและมีผลผูกพันทุกชาติทุกภาษาทุกยุคทุกสมัยตลอดกาล “
จากคำกล่าวของ ซิเซโร (Cicero) สรุปได้ว่ากฎหมายธรรมชาติมีลักษณะดังต่อไปนี้
1. กฎหมายธรรมชาติเป็นเรื่องเหตุผลที่สอดคล้องกับธรรมชาติ ดังคำที่ว่า “กฎหมายที่แท้จริง คือ เหตุผลที่ถูกต้อง”
2. กฎหมายธรรมชาติมีลักษณะทั่วไป ดังข้อความที่ว่า “แผ่ซ่านไปยังทุกสิ่งทุกอย่าง” ซึ่งแสดงว่ากฎเกณฑ์ธรรมชาติหรือกฎหมายธรรมชาตินั้นเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไป เหตุผลหรือหลักเกณฑ์นั้นเป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ได้อยู่เหนือหรือแยกออกจากสิ่งต่าง ๆ
3.กฎหมายธรรมชาติผูกพันทุกคนให้ต้องปฏิบัติตาม ดังข้อความที่ว่า “เป็นกฎหมายที่ก่อให้เกิด
คำสั่งบังคับให้ทุกคนมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามและเป็นข้อห้ามมิให้คนทำชั่ว”
4.กฎหมายธรรมชาติมีคุณค่าเหนือกว่ากฎหมายที่มนุษย์บัญญัติขึ้น ดังข้อความที่ว่า “เป็นหน้าที่อันศักดิ์สิทธิ์ที่เราจะไม่พยายามบัญญัติกฎหมายให้ขัดกับกฎหมายนี้ กฎหมายนี้จะถูกลดค่าหรือยกเลิกมิได้” ในแง่นี้กฎหมายธรรมชาติมีสถานเป็นกฎหมายในอุดมคติ
5.กฎหมายธรรมชาตินี้มีอยู่ภายในจิตใจของคน ข้อความที่ว่า “ไม่ว่าจะโดยวุฒิสภาหรือประชาชน เราก็ไม่สามารถที่จะถูกปลดปล่อยให้พ้นจากกฎหมายนี้ได้ ไม่มีความจำเป็นอะไรที่จะพึ่งบุคคลอื่น หรือสิ่งอื่นนอกจากตัวของเราเองที่จะเป็นผู้แสดงออกให้เห็นหรือตีความกฎหมายธรรมชาตินี้” แสดงให้เห็นว่า กฎหมายธรรมชาตินี้เป็นสิ่งที่อยู่ในใจของคนสามารถรู้ได้เอง จึงไม่ต้องไปศึกษาหรือไต่ถามจากคนอื่น เป็นการยืนยันว่ามนุษย์มีความสามารรถที่จะค้นพบว่าอะไรผิดอะไรถูก ไม่มีพลังอื่นใดจากภายนอกมาบังคับให้ต้องมาเช่นนั้น
6.กฎหมายธรรมชาติมีลักษณะสากลและไม่เปลี่ยนแปลง ดังข้อความที่ว่า “กฎหมายนี้ไม่เป็นอย่างหนึ่งที่กรุงโรม หรือเป็นอีกอย่างหนึ่งที่เอเธนส์ไม่เป็นอย่างหนึ่งในขณะนี้หรือเป็นอย่างอื่นในเวลาต่อมา เป็นกฎหมายประการเดียวที่เป็นนิรันดร ไม่เปลี่ยนแปลงและมีผลผูกพันทุกชาติทุกภาษาตลอดกาล”
การวิเคราะห์วิจารณ์ยุคกรีกโบราณเป็นยุคแรกเริ่มแห่งปรัชญากฎหมายธรรมชาติ ซึ่งมีลักษณะเป็นอภิปรัชญามากเกินไปและไม่มีการผ่อนปรนในการบังคับใช้กฎเกณฑ์ต่างๆ ทำให้ไม่สามารถสรุปได้อย่างแน่นอนว่ากฎเกณฑ์ใดมีความยุติธรรมและสามารถนำไปใช้ในสังคมได้ เพราะเป็นนามธรรมที่อยู่ภายในจิตใจของบุคคล
2. ปรัชญากฎหมายธรรมชาติในยุคมืด (5 AD–12 AD) และยุคกลาง (12 AD–14 AD)
นับแต่จักรวรรดิ์ โรมันอันยิ่งใหญ่ได้ล่มสลายในศตวรรษที่ 5 ยุโรป ก็ได้เข้าสู่ยุคมืดและยุคกลาง อันยาวนานเกือบ 900 ปี ซึ่งมีลักษณะพื้นฐานในทางสังคมแบบศักดินา ภายใต้การครอบงำของศาสนจักรโรมันคาทอลิคที่มีสังฆราชแห่งกรุงโรมเป็นประมุข
ในช่วงยุคมืดของยุโรป สังฆราชสำคัญ ๆ แห่งกรุงโรม อาทิ เช่น แอมโบรส (Ambrose) ออกุสติน (Augustine) และเกรกอรี (Gregory) ได้ทำการพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรัชญากฎหมายธรรมชาติ ให้สอดคล้องกับหลักคำสอนในคริสต์ศาสนา โดยนำแนวคิดของสำนักสโตอิคมาผสมผสานกับความเชื่อทางศาสนาคริสต์ในเรื่องบาปโดยกำเนิด (Original Sin) ของมนุษย์ชาติและนำคติความเชื่อของฝ่ายคริสต์ศาสนามาแทนที่ “เหตุผล” ในฐานะเป็นกฎหมายสูงสุดของจักรวาล
เซนต์ ออกุสติน (ST. Augustine) เป็นผู้เสนอความคิดเห็นว่ากฎหมายที่ไม่ถูกต้องตามศาสนาเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับไม่ได้ ดังนั้นจึงบังคับให้รัฐอยู่ใต้อิทธิพลของศาสนา ตั้งแต่นั้นมากฎหมายในยุโรปก็มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับกฎของศาสนาซึ่งก็ยังผลประโยชน์ให้กับประชาชนเช่นกัน เนื่องจากกฎของศาสนาบังคับไม่ให้ผู้มีอำนาจกดขี่ข่มเหงประชาชน
ท่ามกลางความขัดแย้งระหว่างศาสนจักรกับอาณาจักรซึ่งต่างพยายามอ้างอำนาจในการตราหรือตีความกฎหมายต่าง ๆ และจุดขัดแย้งนี้นับว่าเป็นเหตุจูงใจอันสำคัญอย่างมากในการพัฒนาปรัชญากฎหมายธรรมชาติ
เซนต์ โทมัส อไควนัส (ST.Thomas Aquinas) (1226 – 1274) เป็นนักบวชและนักปรัชญาชาวอิตาเลียน ผู้สร้างงานนิพนธ์ชิ้นสำคัญ เรื่อง “Suma Theologica” ซึ่งเป็นการเชื่อมวิธีคิดแบบเหตุผลนิยม (Rationalism) กับเจตนานิยม (Voluntarism) เข้าด้วยกันโดยนำเอาปรัชญาของอริสโตเติล มาสังเคราะห์กับปรัชญาทางคริสต์ศาสนา ในขณะที่อริสโตเติล ยืนยันว่ามนุษย์สามารถค้นพบกฎหมายธรรมชาติได้โดย อาศัย “เหตุผล“ ในตัวมนุษย์เอง
อไควนัส ก็ได้พยายามเชื่อมโยงเรื่อง “เหตุผล” (Reason) ดังกล่าวเข้ากับ “เจตจำนง” (Will) ของพระเจ้า โดยถือว่า หรือการนำเอาเหตุผลของมนุษย์มาเชื่อโยงกับหลักธรรมของพระผู้เป็นเจ้าซึ่งเขาเชื่อว่าเหตุผลที่สูงกว่า เหตุผลที่สมบูรณ์ถูกต้องมากกว่าซึ่งใช้เป็นเครื่องมือ ในการค้นหากฎหมายธรรมชาตินั้นปรากฏอยู่ใน “เหตุผลของพระเจ้า” (Divine Reason) หรือ “เจตจำนงของพระเจ้า” ซึ่งถือว่ามีความบริสุทธิ์ถูกต้องมากกว่า “เหตุผล” ของมนุษย์ซึ่งอาจมีความผิดพลาดได้และจากจุดนี้เองที่ทำให้เขาสรุปว่า “หลักธรรมโองการหรือเจตจำนงพระเจ้าคือที่มากฎหมายธรรมชาติ” (Christian Natural Law)
การเชื่อมระหว่างเหตุผลเข้ากับเจตจำนงของพระเจ้า อไควนัส ได้แบ่งแยกกฎหมายออกเป็น
4 ประเภท คือ
1. กฎหมายนิรันดร (Lex aeterna / EternalLaw)
2. กฎหมายธรรมชาติ (Lex naturalis / Natural Law)
2. กฎหมายอันศักดิ์สิทธิ์ (Lex divina / Divine Law)
3. กฎหมายของมนุษย์ (Lex humana / Human Law)
กฎหมายนิรันดร จัดว่าเป็นกฎหมายสูงสุด ซึ่งเป็นเหตุผลหรือปัญญาอันอันศักดิ์สิทธิ์ที่คอยบงการความเคลื่อนไหวหรือการกระทำทั้งปวงในจักรวาล และมีเพียงพระเจ้าเท่านั้นที่ล่วงรู้ถึงกฎหมายนี้มนุษย์ทั่วไปอาจหยั่งรู้ได้โดยตลอด
กฎหมายธรรมชาติ กฎหมายธรรมชาติถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายนิรันดรที่สามารถเข้าถึงได้โดยอาศัย “เหตุผล” อันเป็นคุณสมบัติธรรมชาติที่พระเจ้าประทานให้ ซึ่งมีหลักธรรมอันเป็นมูลฐานที่สุดก็คือ “การทำความดีและละเว้นความชั่ว” ที่มีอยู่ภายในตัวของเราเอง
กฎหมายอันศักดิ์สิทธิ์ หมายถึง กฎเกณฑ์หรือหลักธรรมต่าง ๆ ที่ถูกจารึกไว้ในคัมภีร์ไบเบิล
(Bible)
กฎหมายของมนุษย์ หมายถึง กฎหมายที่มนุษย์บัญญัติขึ้นมาใช้ในสังคม ซึ่งอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายที่สูงกว่าก่อนหน้า อไควนัส เห็นว่าหากกฎหมายของมนุษย์เรื่องใดมีหน้าที่ไม่เป็นธรรมและขัดต่อกฎหมายธรรมชาติ ย่อมไม่ถือว่าเป็นกฎหมาย แต่เป็นความวิปริตของกฎหมายซึ่งอยู่หางไกลจากลักษณะของกฎหมายที่มีจุดมุ่งหมายให้พลเมืองเป็นคนดี อไควนัส เห็นว่ากฎหมายที่ไม่เป็นธรรมอาจเกิดขึ้นได้หลายกรณี อาทิ เช่น
1. กฎหมายมิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ส่วนรวม แต่หากเป็นการตอบสนองต่อกิเลสตัณหาของผู้ออกกฎหมาย
2. กฎหมายบัญญัติขึ้นเกินกว่าอำนาจของผู้ออก
3.เป็นกฎหมายที่กำหนดภาระแก่คน อย่างไม่เสมอภาค
ข้อ 1 – 2 ซึ่ง อไควนัส ถือเป็นโมฆะโดยเด็ดขาดและประชาชนไม่จำต้องคารพเชื่อฟังข้อ 3 หากยึดเอาคุณธรรมเรื่องความรอบคอบเป็นหลักแล้วประชาชนอาจจำต้องปฏิบัติตามกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมเช่นนี้เพื่อความเป็นธรรมในการหลีกเหลี่ยงความสับสนวุ่นวายในสังคม
การแบ่งแยกกฎหมายออกเป็น 4 ประเภทนี้ จึงนับว่าเป็นการประนีประนอม ระหว่างความคิดของกรีกกับความคิดของคริสเตียน และได้แก้ปัญหาลำดับชั้นของกฎหมาย ซึ่งมีมาแต่โบราณว่าความยุติธรรมตามธรรมชาติ กับ ความยุติธรรมที่มนุษย์สมมุติขึ้น (กฎหมายที่บัญญัติขึ้น) ควรจะมีความสัมพันธ์กันอย่างไร โดย อไควนัส ได้เน้นว่า กฎหมายมนุษย์จะต้องสอดคล้องกับกฎหมายธรรมชาติ ถ้ากฎหมายมนุษย์ขัดต่อกฎหมายธรรมชาติ กฎหมายมนุษย์ไม่มีค่าเป็นกฎหมาย เป็นการเน้นหลักกฎหมายลำดับสูงกว่า (Higher law) กล่าวคือ กฎหมายธรรมชาติและกฎหมายศักดิ์สิทธิ์เป็นกฎหมายที่สูงกว่ากฎหมายบ้านเมืองของมนุษย์ถ้ากฎหมายบ้านเมืองเองขัดต่อกฎหมายธรรมชาติ หรือขัดต่อกฎหมายอันศักดิ์สิทธิ์ กฎหมายนั้นย่อมไร้ผลและราษฎรย่อมมีสิทธิไม่เชื่อฟังผู้ปกครองได้ (The Right of Disobedience) ทั้งนี้เพราะราษฎรย่อมมีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายธรรมชาติและกฎหมายศักดิ์สิทธิ์เหนือสิ่งอื่นใด
ความคิดของ อไควนัส จึงมีฐานะเสมือนข้อต่อทางความคิดกฎหมายธรรมชาติที่เน้นความสำคัญของ เหตุผล ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรีก คือ ตั้งแต่ เพลโต อริสโตเติล สโตอิคและสมัยโรมันถ่ายทอดต่อมาในสมัยกลางอย่างไม่ขาดสาย และส่งทอดต่อไปจนถึงสมัยใหม่ในภายหลังอย่างไม่ขาดตอน
การวิเคราะห์วิจารณ์ยุคมืดให้ความสำคัญกับศาสนา (โดยเฉพาะศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิค) มาก ความขัดแย้งอันเกิดขึ้นและเป็นการล่วงละเมิดอำนาจของศาสนา ถือว่าเป็นหน้าที่ที่จะต้องต่อต้านอำนาจรัฐ ทำให้ศาสนามีอิทธิพลในการปกครองรัฐในการปกครองประชาชน ดังนั้นการกระทำใดของผู้ปกครองนั้นต้องไม่ขัดต่อหลักศาสนา ทำให้การปกครองนั้นอยู่ภายใต้อำนาจผู้นำทางศาสนา หรือเรียกว่า ยุคศาสนจักรครอบงำอาณาจักร
3. ปรัชญากฎหมายธรรมชาติยุคฟื้นฟู (14 AD - 18 AD) หรืออาจเรียกว่า กฎหมายธรรมชาติสมัยใหม่
เมื่อยุโรปเข้าสู่ยุคศตวรรษที่ 14 ถึง16 อำนาจและความคิดทางศาสนจักรเสื่อมถอยลง ความคิดของสำนักกฎหมายธรรมชาติก็มิได้เสื่อมคลายลง แต่ความเชื่อเรื่องกฎหมายธรรมชาติกลับฟื้นฟูรุ่งเรื่องอย่างมหาศาล ในศตวรรษที่ 17-18 (Secular natural Law) ซึ่งเน้นธรรมชาติของมนุษย์ (Human Nature) ว่ามี “สติปัญญาหรือมีเหตุผล” และเหตุผลในธรรมชาติของมนุษย์นี้ เป็นรากฐานของกฎหมายธรรมชาติซึ่งมีนักคิดที่สำคัญ ได้แก่ ฮิวโก โกรเชียส (Hugo Grotius 1583 –1645) พูเฟนดอร์ฟ (Samuel Purfendorf :1632 – 1694 ) โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobber :1588 – 1679) สปินโนซา (Benedict Spinoya : 1632 – 1677) จอห์น ล๊อค (John Lacke : 1632 – 1704) มองเตสกิเออ (Baron Charlers Louis de Montesquieu : 1689 – 1755) รุสโซ (Jean Jacques Rousseau : 1712 – 1778) หรือวูล์ฟ (Christian Wolff : 1679 – 1754) เป็นต้น
ข้อสังเกต ในยุคนี้เองที่ ฮิวโก โกรเชียส (Hugo Grotius) นักกฎหมายชาวฮอลแลนด์ได้นำเอาหลักกฎหมายธรรมชาติบางเรื่องมาใช้สร้างเป็นรากฐานของกฎหมายระหว่างประเทศ ควบคุมกิจการและกติกาในการทำสงครามต่างๆ ระหว่างรัฐชาติที่เกิดขึ้นใหม่ๆ จนทำให้ โกรเชียส ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของกฎหมายระหว่างประเทศ แนวคิดของ โกรเชียส ในปรัชญากฎหมายธรรมชาติจะเน้นในเรื่องเหตุผลและสติปัญญาของมนุษย์ ในฐานะที่มาของกฎหมายธรรมชาติ โดยถือว่าเหตุผลและสติปัญญานี้ปรากฏอยู่ในธรรมชาติของมนุษย์เอง
แนวความคิดกฎหมายธรรมชาติสมัยใหม่ มีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อระบบกฎหมายสมัยใหม่ของยุโรปตะวันตก โดยทำให้กฎหมายสมัยใหม่เป็นที่มีเหตุผลและคำนึงถึงมนุษยธรรม คนธรรมดาสามารถทำความเข้าใจได้ด้วยเหตุผล เห็นได้จากประมวลกฎหมายฉบับต่างๆ ในยุโรป เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศส ประมวลกฎหมายแพ่งออสเตรีย ประมวลกฎหมายทั่วไปของอาณาจักรปรัสเซีย เมื่อพิจารณาประวัติความคิดของกฎหมายธรรมชาติสมัยใหม่แล้ว เราอาจแบ่งได้เป็น 3 ยุค คือ
ยุคที่ 1 ยุคจัดระบบกฎหมายใหม่
ความคิดกฎหมายธรรมชาติในช่วงนี้ เป็นความพยายามที่จะใช้เหตุผลตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์สามารถเข้าใจได้ มาจัดระบบกฎหมายบ้านเมือง (Positive Law) ใหม่แทนความคิดและความเชื่อของศาสนาจักร ซึ่งกลายเป็นพลังทางความคิดที่ช่วยเกื้อหนุนการสร้างชาติของรัฐสมัยใหม่ซึ่งเป็นรัฐฆราวาส
(Secular State) คือ รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งเป็นอิสระจากศาสนจักร เพราะการสร้างชาติจำเป็นต้องมีระบบราชการประจำที่มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานซึ่งต้องอาศัยกฎหมายทั้งสิ้น นักคิดที่สำคัญ ในยุคนี้ ได้แก่ โกรเชียส, โทมัส ฮ๊อบส์, และพูเฟนดอร์ฟ
ข้อสังเกต แนวความคิดยุคนี้ ความคิดแบบปัจเจกชนนิยม (Imdividualism) ได้เริ่มก่อตัวและแพร่หลายมาก
ดังนั้น นักคิดในสมัยนี้จึงต้องเสนอทฤษฎีสัญญาประชาคม (Social Contract Theory) ขึ้นอธิบายว่า สังคมอื่นการยินยอมนี้ก่อให้เกิดความผูกพันและสัญญาประชาคมขึ้น แต่อย่างไรก็ตามทฤษฎีสัญญาประชาคมในยุคนี้ คือ โทมัส ฮอ๊บส์ ได้มองมนุษย์ในแง่ร้าย คือ เห็นว่าธรรมชาติของมนุษย์ไม่มีเหตุผล จึงสนับสนุนอำนาจอันสมบูรณ์เด็ดขาดของผู้ปกครอง ความคิดนี้จึงสนับสนุนระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งพระมหากษัตริย์มีอำนาจเด็ดขาด ส่วนทฤษฎีสัญญาประชาคมอีกแง่หนึ่งคือมองมนุษย์ในแง่ดี จะอธิบายในแนวความคิดในวิจารณ์
ยุคที่ 2 ยุควิเคราะห์วิจารณ์
ยุคนี้เป็นยุคของการใช้เหตุผลตามธรรมชาติมาแยกและหลักเกณฑ์ทางกฎหมาย ในเวลาเดียวกันก็ใช้เหตุผลตามธรรมชาติวิจารณ์การกระทำที่ไม่ชอบด้วยเหตุผลของผู้ปกครองในสมัยนั้น ความคิดกฎหมายธรรมชาติในยุคนี้เน้นการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของเอกชนและการปกครองที่มีอำนาจจำกัด มองว่ามนุษย์มีความสามารถใช้สติปัญญาและเหตุผลในการเข้าใจกฎหมายธรรมชาติ และสามารถบัญญัติกฎหมายตามหลักเหตุผลของกฎหมายธรรมชาติได้อย่างไม่จำกัด
ทฤษฎีสัญญาประชาคมในยุคนี้จึงมีความแตกต่างจากยุคก่อน คือ มองมนุษย์ในแง่ดี ซึ่งได้แก่ แนวคิดของจอห์น ล๊อค ซึ่ง ล๊อค มองว่ามนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลและมีสัญชาติญาณอยากอยู่ร่วมกันเป็นสังคม โดยทุกคนจะโอนอำนาจบางส่วนของตน ได้แก่ อำนาจการบังคับการตามกฎหมายธรรมชาติให้แก่ผู้ปกครองหรือรัฐ ซึ่งได้จัดตั้งตามสัญญาแต่ทุกคนยังคงสงวนสิทธิในชีวิต ทรัพย์สินและเสรีภาพอันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษย์ หากผู้ปกครองไม่ปฏิบัติตามสัญญาประชาชน ย่อมมีสิทธิอันชอบธรรมที่จะปฏิวัติล้มล้างผู้ปกครองได้
ส่วนแนวความคิดของคนอื่น คือ คริสเตียน โทมัสซุย เสนอให้มีการแยกแยะระหว่างกฎหมายกับศีลธรรมออกจากกัน โดยอธิบายว่า กฎหมายเป็นเรื่องรัฐ ดังนั้นจะบังคับได้เฉพาะการกระทำของคนที่แสดงออกมาภายใน หรืออีกนัยหนึ่ง คือ กฎหมายต้องลงโทษการกระทำของคนมิใช่ความคิดของคน
แนวความคิดของ รุสโซ ซึ่ง รุสโซ มองว่ามนุษย์มีธรรมชาติที่ดี มีจิตใจโอบอ้อมอารีไม่เห็นแก่ตัว ในสภาวะธรรมชาติของมนุษย์มีสิทธิเสรีภาพอย่างไม่จำกัด แต่ไม่มีความมั่นคงในสิทธิเสรีภาพตามธรรมชาติ เพื่อให้เกิดหลักประกันในสิทธิเสรีภาพมนุษย์จึงตกลงทำสัญญาประชาคม สละสิทธิเสรีภาพที่ไม่จำกัดเมื่อมาอยู่รวมกันเป็นสังคม ซึ่งมีสิทธิเสรีภาพที่ถูกจำกัดภายใต้กฎหมาย แนวความคิดของ รุสโซ นั้นต่อต้านการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ข้อสังเกต แนวคิดการมอบสิทธิเสรีภาพให้แก่ผู้ปกครองนั้น ล๊อคกับรุสโซ มีความคิดแตกต่างกันคือ ของ ล๊อค จะมอบสิทธิบางส่วนให้ผู้ปกครองแต่ของ รุสโซ จะมอบสิทธิเสรีภาพที่ไม่จำกัดคือทั้งหมด เมื่อมาอยู่รวมกันในสังคม
แนวคิดของ มองเตสกิเออ ซึ่ง มองเตสกิเออเป็นนักคิดชาวฝรั่งเศสได้รับอิทธิพลแนวความคิดในเรื่องการจำกัดอำนาจมาจาก จอห์น ล๊อค ความคิดของ มองเตสกิเออ ที่สำคัญปรากฏอยู่ในหนังสือ ชื่อ “เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย” (The Spirit of the Laws) ซึ่งได้อธิบายเรื่องการแบ่งแยกอำนาจ (Separation of Powers) และการถ่วงดุลอำนาจ (Check and Balance) เพื่อจำกัดอำนาจผู้ปกครอง เพราะ มองเตสกิเออ มองว่ามนุษย์ทั้งหลายมีแนวโน้มที่จะใช้อำนาจในทางที่ผิด เพื่อป้องกันการใช้อำนาจโดยมิชอบดังกล่าวจะต้องจัดระบบให้มีการแบ่งแยกอำนาจกล่าวคือ จะต้องแยกอำนาจการตรากฎหมาย (นิติบัญญัติ) ออกจากอำนาจบังคับการตามกฎหมาย (อำนาจบริหาร) และให้อำนาจพิจารณาพิพากษาคดี (อำนาจตุลาการ) แยกเป็นอิสระจากอำนาจออกกฎหมายและบังคับการตามกฎหมาย และให้แต่ฝ่ายคอยตรวจสอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน (Checks and Balance)
ยุคที่ 3 ยุคการสังเคราะห์ความคิดและสรุปผล
ในยุคนี้เป็นช่วงเวลาการนำความคิด กฎหมายธรรมชาติซึ่งได้แยกแยะวิเคราะห์ในรายละเอียดแล้วมาบัญญัติเป็นกฎหมายบ้านเมือง (Positive Law) ในลักษณะของกฎหมายลายลักษณ์อักษร โดยอาศัยอำนาจรัฐสมัยใหม่หรืออาจกล่าวได้ ว่าเป็นยุคของปฏิรูปกฎหมายธรรมชาติมาเป็นกฎหมายบ้านเมือง หลักแห่งสิทธิเสรีภาพ เสมอภาค ซึ่งปรากฏเป็นรูปธรรม รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกาค.ศ.1789 หลังการประกาศอิสรภาพ ปี ค.ศ 1776 พ้นจากอาณานิคมอังกฤษ รัฐธรรมนูญของฝรั่งเศสหลังการปฏิวัติใหญ่ ค.ศ. 1789 รวมทั้งประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศส ค.ศ. 1804 เป็นต้น
นอกจากนี้การสลัดตัวออกจากอิทธิพลของศาสนาคริสต์ (นิกายคาทอลิค) แล้วความเปลี่ยนแปลงในลักษณะสำคัญของปรัชญากฎหมายธรรมชาติในยุคนี้เองที่มีการเน้นระบบแห่งกฎหมายทางกฎหมายซึ่งเป็นรูปธรรมและมีรายละเอียดมากขึ้น ขณะเดียวกันในอีกด้านหนึ่งมีการพัฒนาจุดเน้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป จากเรื่องธรรมชาติของมนุษย์เชิงสังคมไปสู่เรื่อง “สิทธิธรรมชาติ” (Natural Rights) ของมนุษย์หรือความปรารถนาความต้องการของมนุษย์ ในแง่ปัจเจกบุคคล กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ การเพิ่มบทบาทความคิดแบบปัจเจกชนนิยมมากขึ้น ในตัวเนื้อหาของปรัชญากฎหมายธรรมชาติและนอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงวิธีวิเคราะห์ธรรมชาติของมนุษย์ในแบบอภิปรัชญา (ซึ่งมองธรรมชาติที่จุดแห่งสัมบูรณภาพของความเป็นมนุษย์) มาสู่การวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์หรือจิตวิทยาที่เน้นการสังเกตในเรื่องข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลักษณะสำคัญของมนุษย์หรือกฎแห่งความเป็นเหตุเป็นผล ซึ่งมีอิทธิพลต่อมนุษย์ ด้วยเหตุนี้ในศตวรรษที่ 18–19 ซึ่งมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และสังคมวิทยา บวกกับความเป็นชาตินิยมสูง อันเป็นพื้นฐานอันสำคัญให้ลัทธิอรรถประโยชน์และทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย เริ่มก่อตัวขึ้นอย่างมั่นคงในฐานะปฏิปักษ์กับสำนักกฎหมายธรรมชาติ เริ่มจากช่วงนี้เองที่กฎหมายธรรมชาติได้ถูกผลักไสให้เป็นเรื่องศีลธรรม ศาสนามากกว่าที่จะเป็นกฎหมายอันแท้จริงของรัฐ ความเชื่อถือศรัทธาในปรัชญากฎหมายธรรมชาติเริ่มเสื่อมลงด้วยสาเหตุดังกล่าวข้างต้น
การวิเคราะห์วิจารณ์ ยุคฟื้นฟูกับยุคกฎหมายธรรมชาติสมัยใหม่หันมาให้ความสนใจด้านปัจเจกชนและสิทธิมนุษยชนมากขึ้น โดยพ้นจากการครอบงำของศาสนาและมุ่งล้มล้างระบบศักดินา ให้ความสำคัญกับกฎหมายที่เป็นธรรม จึงก่อให้มีการปฏิวัติสังคมในอังกฤษ อเมริกา หรือฝรั่งเศส ได้อาศัยปรัชญาหรือตรรกะของกฎหมายธรรมชาติเข้าเป็นเหตุผลรองรับความชอบธรรมของการก่อการหรือสนับสนุนเรื่องสิทธิธรรมชาติในการล้มล้างรัฐ และมีผลกระทบด้านกฎหมาย อิทธิพลของปรัชญากฎหมายธรรมชาตินำไปสู่การตอกย้ำความสำคัญของเนื้อหาของกฎหมายที่เป็นธรรม
4.ปรัชญากฎหมายธรรมชาติยุครัฐชาติหรือยุครัฐสมัยใหม่ (19AD) (ยุคความเสื่อมของปรัชญากฎหมายธรรมชาติ)
คำว่า “รัฐ” (State) นั้นเป็นคำใหม่เพิ่มขึ้นในศตวรรษที่ 19 ซึ่งแต่ก่อนมีแต่คำว่า “ชาติ” (Nation) ที่มาจากกลุ่มคนที่มีชาติพันธ์เดียวกัน สืบเชื้อสายโดยสายเลือดเดียวกัน หรือเกิดความรู้สึกร่วมกัน ซึ่งในยุโรปมีพื้นดินใกล้เคียง ความสัมพันธ์ก็มีมากขึ้นทั้งด้านสันติภาพและสงคราม ดังนั้นการเคลื่อนย้ายผู้คนมาอีกชาติหนึ่งไปยังอีกชาติหนึ่งก็เกิดขึ้น เกิดลักษณะผสมผสานระหว่าเชื้อชาติ คำว่า รัฐ ก็เกิดขึ้นมา ซึ่งมีองค์ประกอบ 4 อย่างรวมกันเป็น รัฐ คือ
-มีดินแดน ที่แน่นอนว่าตั้งอยู่ในส่วนไหนของโลก
-มีประชากรที่อยู่ประจำไม่ใช่พวกเร่ร่อน
-มีอำนาจอธิปไตยในการปกครองรัฐ
-มีรัฐบาล(ผู้ปกครองรัฐ)
ในยุโรปเรียกชื่อว่า รัฐกับชาติยุโรป ปะปนกันแต่ใช้คู่ขนานกันว่า ชาติรัฐหรือรัฐชาติ ดังนั้น รัฐชาติ (Nation State)คือ ความคิดความเป็นชาตินิยมและเน้นในเรื่องความสำคัญในการปกครอง จุดนี้เองเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อที่สำคัญอีกอันหนึ่งของกฎหมายธรรมชาติในความเสื่อมของปรัชญากฎหมายธรรมชาติ
สาเหตุที่ทำให้ปรัชญากฎหมายธรรมชาติในยุคนี้เสื่อม อย่างน้อย 2 ประการคือ
ประการที่ 1 สืบเนื่องจากแนวความคิดของกฎหมายนั้นเป็นแนวความคิดที่เป็นปัจเจกชนนิยม เน้นความสำคัญของแต่ละบุคคลที่ปรากฏในประมวลกฎหมายแพ่ง (เช่นประมวลกฎหมายแพ่งฝรั่งเศส) ที่เป็นตัวแทนของกฎหมายธรรมชาติ เพราะเน้นความสำคัญของแต่ละบุคคล สิทธิส่วนบุคคลกลายเป็นชาตินิยม เกิดการขัดแย้งหรือต่อสู้ทางความคิดกับปัจเจกนิยม
ตัวอย่าง เช่น การจะจากลูกเมียไปรบหรือป้องกันชาติ ถ้าไม่ไปก็แสดงความเป็นปัจเจกชนสูง แต่ถ้าสละครอบครัวไปรบก็เป็นเรื่องชาตินิยม ความคิดสองอย่างนี้ ได้ต่อสู้กันทางความคิด ในช่วงนี้มีปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้คนหันมานิยมชาติมากกว่าปัจเจกชนที่เป็นทางความคิดของกฎหมายธรรมชาติ
ประการที่ 2 ที่ทำให้กฎหมายธรรมชาติเสื่อมความนิยม สืบเนื่องจากการเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์แผนใหม่ ค้นพบอะไรใหม่ๆมากมาย ที่เรียกว่า “ลัทธิประจักษ์วาท” (Empiricism) คือ แนวคิดที่นิยมการทำอะไรที่ชัดเจนเห็นภาพ สัมผัสได้ จับต้องได้ ที่มันเกี่ยวกับกฎหมายธรรมชาติก็คือลัทธิประจักษ์วาทไม่เห็นด้วยกับกฎหมายธรรมชาติ เพราะว่ากฎหมายธรรมชาติเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความเชื่อ ส่วนจะพิสูจน์ได้จริงหรือไม่ กฎหมายธรรมชาติไม่ได้เน้น เพราะฉะนั้นเมื่อเน้นความจริงที่พิสูจน์ได้ ก็เป็นการกระทบกระเทือนถึงกฎหมายธรรมชาติโดยตรง ความคิดความเชื่อต่อกฎหมายธรรมชาติจึงถูกลดความนิยมลงและตรงนี้เองจึงเกิดแนวคิดปฏิฐานนิยมทางกฎหมายหรือสำนักกฎหมายปฏิฐานนิยมหรือสำนักกฎหมายบ้านเมือง
การวิเคราะห์วิจารณ์ ยุคความเสื่อมของปรัชญากฎหมายธรรมชาติยุคนี้ เป็นความเสื่อมเนื่องมาจากอิทธิพลทางวิทยาศาสตร์ที่มนุษย์คิดค้นหาข้อสรุปได้ซึ่งแตกต่างไปจากแนวความคิดทางอุดมคติที่ไม่สามารถหาข้อสรุปได้ และที่สำคัญอิทธิพลของปรัชญาทางการเมืองที่สำคัญ เช่น โทมัส ฮ๊อบส์ ฌอง โบแดง เป็นต้น นำไปสู่การมีแนวคิดปฏิฐานนิยมทางกฎหมายขึ้นมา เพื่อมาหักล้างแนวคิดกฎหมายธรรมชาติ
5. ปรัชญากฎหมายธรรมชาติยุคปัจจุบัน
เป็นแนวคิดของนักคิดรุ่นปัจจุบันที่พยายามอธิบายกฎหมายธรรมชาติในเชิงกระบวนการสร้างกฎหมาย และหลักกฎหมายภายใต้ศีลธรรมซึ่งเป็นแนวคิดที่สำคัญ คือ แนวความคิดของ ฟุลเลอร์, จอห์นฟินนิส ,โรแนล ดวอกิ้น เป็นต้น
แนวความคิดของ ฟุลเลอร์ (Lon Luvois Fuller ค.ศ. 1902 – 1978) ฟุลเลอร์ได้พยายามเน้นสิ่งที่เป็นศีลธรรมในเชิงระบบกฎหมาย ฟุลเลอร์ ได้จำแนกศีลธรรมภายในกฎหมายหรือกฎหมายธรรมชาติในเชิงกระบวนการ ออกเป็นหลักการ 8 ข้อดังนี้ คือ
1.กฎหมายจะต้องมีลักษณะทั่วไปในฐานะที่เป็นกฎเกณฑ์ซึ่งใช้เป็นหลักชี้นำการกระทำต่างๆโดยเฉพาะ
2.กฎเกณฑ์ดังกล่าวจะต้องพิมพ์เผยแพร่ ให้ปรากฏแก่สาธารณะหรืออย่างน้อยก็ต่อบุคคลทุกคนที่อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์นี้
3.กฎเกณฑ์ต้องไม่มีผลย้อนหลัง
4.กฎเกณฑ์ต้องมีลักษณะชัดแจ้งและสามารถเป็นที่ยอมรับ
5.กฎเกณฑ์จะต้องไม่ขัดแย้งกัน
6.กฎเกณฑ์จะต้องไม่เป็นการกำหนดในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
7.กฎเกณฑ์จะต้องมีความมั่นคง แน่นอนไม่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยเกินไป
8.ต้องมีการกลมกลืนระหว่างกฎเกณฑ์ที่ถูกประกาศใช้กับการบังคับใช้กฎเกณฑ์นั้นเป็นความจริง อันเป็นเรื่องที่สอดคล้องกับการกระทำของเจ้าหน้าที่ที่บังคับใช้กฎหมายและตัวบทกฎหมายที่ประกาศใช้ด้วย
เงื่อนไขทั้ง 8 ประการนี้ ฟุลเลอร์ อธิบายว่าเป็นเสมือนศีลธรรม ภายในกฎหมาย หรือ “กฎหมายธรรมชาติในเชิงกระบวนการ” กล่าวโดยสรุป คือ ฟุลเลอร์ ได้พยายามเน้นมิติของกระบวนการเพื่อที่จะนำไปสู่ความเป็นกฎหมายอันสมบูรณ์แท้จริงโดยไม่ได้เน้นที่เนื้อหาสาระ
แนวความคิดของจอห์น ฟินนิส (John Finnis) จอห์น ฟินนิส เป็นนักกฎหมายธรรมชาติรุ่นใหม่ที่ได้พยายามอธิบายกฎหมายธรรมชาติในเชิงที่มีความซับซ้อนโดยได้กล่าวถึง สมมุติฐาน 2 ประการ คือ
1.รูปแบบพื้นฐานแห่งความมั่นคงรุ่งเรืองของมนุษย์ (Basic Forms of Human Flourishing)
2.วิธีพื้นฐานที่จำเป็นของความชอบด้วยเหตุผลในเชิงปฏิบัติ (Basic Methodological Requirments of Practical Reasonableness)
ทั้งสองตัวนี้ถือเป็นเงื่อนไขที่จำเป็นในการค้นหาสิ่งที่เป็นเสมือนกฎหมายธรรมชาติ กฎหมายที่ดีหรือกฎหมายที่ถูกต้อง ฟินนิส พยายามวาดภาพให้เห็นว่าคุณค่าพื้นฐานแห่งความมั่นคงและความรุ่งเรืองต่าง ๆ ในชีวิต เช่น ความรู้ความบันเทิงและอีกสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นวิธีการพื้นฐานที่จำเป็นเชิงวิชาการ คือ การที่จะคิดค้นหาสิ่งที่จำเป็น ความถูกต้องจะต้องมีวิธีการในการใช้ความผิด วิธีการนี้ คือ การแสวงหาความดีงามแผนการชีวิตอันเป็นระบบ การไม่เลือกค่านิยม การไม่เลือกตัวบุคคลตามอำเภอใจ เป็นต้น
ส่วนการที่จะค้นคว้าว่า อะไรคือความยุติธรรม อะไรคือกฎหมายที่ถูกต้องยุติธรรม ก็ต้องเอาเงื่อนไข 2 ประการ เข้ามาผสมผสานกัน กล่าวคือ อีกแง่หนึ่งจะมองคล้ายกับสิ่งที่เป็นคุณค่าหรือเป้าหมายของชีวิตสังคม ขณะเดียวกันอีกแง่หนึ่งต้องวางเรื่องเกี่ยวกับสิ่งจำเป็นในเชิงวิชาการ เมื่อรวมกันแล้วจะนำไปสู่สิ่งที่เป็นกฎหมายธรรมชาติในท้ายที่สุด
แนวคิดกฎหมายธรรมชาติปัจจุบัน โรแนล ดวอกิ้น (Ronald Dworkin) เชื่อว่าถึงแม้แต่เดิมระบบกฎหมายได้ให้หลักประกันแก่ธุรกิจเอกชนและทรัพย์สินของเอกชนเป็นอย่างมากก็ตาม แต่ในปัจจุบันเมื่อมีความจำเป็นเกิดขึ้นก็อาจแก้ไขระบบกฎหมายเสียใหม่ให้เหมาะสมขึ้นก็ได้ เพราะเหตุผลในตัวกฎหมายย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและสถานที่ ดวอกิ้น เห็นว่าการเขียนกฎหมายให้อำนาจรัฐที่จัดระเบียบเศรษฐกิจอย่างกว้าง ๆ นั้นย่อมทำได้
ทฤษฎีของ ดวอกิ้น มีข้อเสีย คือ ตรงที่คิดที่จะให้อำนาจรัฐ แต่ไม่สร้างกลไกในการใช้ดุลพินิจไว้ให้เหมาะสม ทำให้การใช้อำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่มีอุปสรรคในการปฏิบัติและเจ้าหน้าที่จะไม่กล้าใช้อำนาจ
ปรัชญากฎหมายธรรมชาติในยุคปัจจุบันมีบทบาทต่อสังคม 2 ลักษณะ คือ
1.ทฤษฎีกฎหมายที่สนับสนุนอุดมคติทางกฎหมายเชิงจริยธรรม เนื่องจากความเชื่อเรื่อง หลักคติที่อยู่เหนือกฎหมายของรัฐ เป็นการยืนยันความเชื่อเรื่อง “ความยุติธรรม” และ “ความสัมพันธ์ที่จำต้องมี” ระหว่างกฎหมายกับความยุติธรรมหรือหลักศีลธรรม จริยธรรมต่างๆ แต่ทั้งนี้ก็ไม่ถือว่าหลักความยุติธรรมหรือ หลักกฎหมายอุดมคติซึ่งแน่นอน เป็นสากลหรือใช้ได้กับทุกสถานที่ ซึ่งกฎหมายธรรมชาติยุคปัจจุบันมีลักษณะผ่อนปรน และประนีประนอมมากขึ้น
2.ทฤษฎีกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิซึ่งสนับสนุนเรื่องสิทธิมนุษยชน จากเดิมมุ่งเน้นสิทธิของปัจเจกชนในแง่สิทธิของราษฎรและสิทธิการเมือง ได้มีการพัฒนาไปสู่สิทธิทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม การพัฒนาสันติภาพ หรือการอนุรักษ์คุณภาพของสิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์วิจารณ์ ยุคปัจจุบันกฎหมายธรรมชาติฟื้นตัวขึ้นอีกครั้งหนึ่ง มีรูปธรรมมากขึ้นและมีลักษณะเป็นการผ่อนปรนประนีประนอม แต่ยังความสำคัญของกฎหมายธรรมชาติอยู่ที่ศีลธรรมกับกฎหมาย ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าการหันหาแนวความคิดกฎหมายธรรมชาติอีกครั้งหนึ่งนั้นมีสาเหตุ 3 ประการ คือ
ประการแรก การที่นักวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์เองได้ยอมรับอย่างกล้าหาญว่า แท้ที่จริงวิทยาศาสตร์ก็เป็นศาสตร์ที่อาศัยสมมติฐานเช่นกัน หาใช่เป็นศาสตร์ที่แน่นอนจนถึงกับทำให้มนุษย์สามารถบรรลุสัจธรรมได้ทุกอย่าง
ประการที่สอง คือ ความล้มเหลวของนักกฎหมายปฏินิฐานนิยมทางกฎหมายที่ไม่อาจให้คำตอบได้ว่า วิธีการของตนนั้น จะสามารถแก้ไขปัญหาความไม่เป็นธรรมในสังคมอันเกิดจากเทคนิคและวิธีการทางกฎหมายของตนได้อย่างไร
ประการที่สาม การยอมรับว่าการพัฒนาระบบกฎหมายนั้นจำเป็นนำค่านิยมทางสังคมมาเป็นแนวทางด้วย การยอมรับดังกล่าวนี้ทำให้เห็นว่าจำเป็นต้องมีหลักการกว้างๆ และยืดหยุ่นเพียงพอสำหรับการใช้กฎหมาย โดยตระหนักว่าการใช้เหตุผลทางกฎหมายนั้น ควรมีลักษณะเป็นการสร้างสรรค์และต้องไม่ยึดติดกับถ้อยคำของกฎหมายเพียงอย่างเดียว
สรุป
ปรัชญากฎหมายธรรมชาติตะวันตก เมื่อพิจารณารากเหง้าไปถึงช่วง 2 พันปีกว่ามีก่อนอารยธรรมกรีกโบราณโดยจารีตประเพณี พิจารณากฎหมายในแง่เป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับทั้งความยุติธรรมและจริยธรรม ปรัชญากฎหมายธรรมชาติของกรีกโบราณหรือเรียกว่าบุคคลคลาสสิค ก็จัดอยู่ในกระแสความคิดดังกล่าว
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าภายหลังปรัชญากฎหมายธรรมชาติจะมีการอธิบายความกันอยู่หลายแนวแต่ละยุค หากการเน้นเราอาจสรุปสิ่งที่เป็นหลักการสำคัญในกฎหมายธรรมชาติ ได้เป็นข้อ ๆ ดังนี้ คือ
1.(เชื่อว่า) มีสิ่งที่เป็นหลักคุณค่าสัมบูรณ์ (Absolute values) และอุดมคติซึ่งเกิดขึ้นจากหลักคุณค่าเหล่านั้น ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นเกณฑ์พื้น (Touchstones) ในการตรวจสอบความสมบูรณ์แห่งกฎหมายต่าง ๆ
2.ในธรรมชาติมีระเบียบอันแน่นอนหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยความมีเหตุผล (Rational) ซึ่งมนุษย์สามารถรับรู้ได้ (โดยอาศัยเหตุผลในธรรมชาติของมนุษย์) ดังนั้นบรรทัดฐานแห่งการกระทำของมนุษย์จึงอาจพิจารณาว่า “กฎแห่งธรรมชาติ” (Law of Nature) (กฎหมายธรรมชาติ)
3.หากสังเกตตรวจสอบและเข้าใจได้อย่างถูกต้องธรรมชาติจักให้เกณฑ์บรรทัดฐานซึ่งทำให้เราสามารถตระหนักได้ถึงหลักคุณค่า อันมีเนื้อหาที่สามารถหยั่งรู้ได้เป็นนิรันดร์และสากล และจากหลักคุณค่านี้เองซึ่งเราอาจช่วยให้เราได้มาซึ่งข้อกำหนดเชิงคุณค่า (Valuestatement) อันถูกต้องเหมาะสม
4.สิ่งที่ดี/มีคุณประโยชน์ คือ สิ่งที่สอดคล้องกลมกลืนกับธรรมชาติ สิ่งที่เลว ชั่วร้าย คือ สิ่งที่ขัดแย้งกับธรรมชาติ
5.กฎหมายซึ่งขาดไร้ความสมบูรณ์ทางศีลธรรมถือเป็นความผิดบกพร่องและไม่เป็นธรรม เป็นกฎหมายธรรมชาติสร้างความเป็นโมฆะแก่คำประกาศกฎหมายบางบทบัญญัติขึ้น (Positive Law) (อย่างไร้ศีลธรรม) และวางเกณฑ์อุดมคติซึ่งกฎหมายที่บัญญัติขึ้นควรบรรลุเป้าหมาย
กฎหมายธรรมชาติ ภาพรวมของกฎหมายธรรมชาตินั้นเป็นปรัชญาที่มีบทบาทสำคัญที่พยายามโน้มน้าวให้ผู้ปกครอง นักกฎหมายได้เห็นความสำคัญของคุณค่าศีลธรรมหรือคุณค่าของสิ่งที่เป็นความยุติธรรมว่าต้องมีในกฎหมาย นอกจากนั้นปรัชญาสายนี้ยังมีบทบาทในการส่งเสริมและผลักดันแนวความคิดเรื่อง สิทธิมนุษยชน (Human Right)
หนังสือและเอกสารอ่านเพิ่มเติม
หนังสือ
จรัญ โฆษณานันท์ “นิติปรัชญา” กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2538
จรัญ โฆษณานันท์ “สิทธิมนุษยชนไร้พรมแดน ปรัชญากฎหมายและความเป็นจริงทางสังคม” กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์นิติธรรม,2545
ปรีดี เกษมทรัพย์ “นิติปรัชญา ภาคสองบทนำทางประวัติศาสตร์” คณะกรรมการบริการทางวิชาการ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2526
รองพล เจริญพันธ์ “นิติปรัชญา” กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2528
สมยศ เชื้อไทย “ความรู้นิติปรัชญาเบื้องต้น” กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิญญูชน,2536
เอกสารและวารสาร
ปรีดี เกษมทรัพย์ “กฎหมายคืออะไรในแง่นิติปรัชญา”วาสารนิติศาสตร์,ฉบับที่ 3 ปีที่ 11,2523
วิชา มหาคุณ “ทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ หลักยุติธรรมแห่งกฎหมาย”วารสารดุลพาหเล่มที่ 2 ปีที 27 มีนาคม-เมษายน2523
natural law theory 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
natural law theory 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
natural law theory 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
natural law theory 在 Natural law - Wikipedia 的相關結果
Natural law is a system of law based on a close observation of human nature, and based on values intrinsic to human nature that can be deduced and applied ... ... <看更多>
natural law theory 在 natural law | Definition, Theory, Ethics, Examples, & Facts 的相關結果
Natural law, system of right or justice held to be common to all humans and derived from nature rather than from the rules of society (positive law). ... <看更多>
natural law theory 在 Natural Law Theories 的相關結果
Natural law theory accepts that law can be considered and spoken of both as a sheer social fact of power and practice, and as a set of reasons ... ... <看更多>