【國際滑「鐵」盧】港鐵海外投資連番觸礁實錄 #永續港鐵霸權 #7月專研
港鐵公佈2021年中期業績,當中除了顯示一如以往的發展地產業務龐大紅利外,海外投資業務的財政狀況亦十分值得關注,正反映出港鐵投資核心逐漸傾向海外,愈來愈偏移以香港為本位的發展實況。
港鐵自2009年開始運用多年來從香港所得的巨利,向海外市場拓展進軍。然而,檢視十多年來財務報告,可發現回饋香港的「盈利」卻只有蠅頭小利,這間自稱「國際級鐵路公司」在本地已經建立霸權壟斷,但極少提及海外投資策略原來連番觸礁? 一直引而自豪的鐵路加物業模式究竟是一套「完美方程式」,還是一場「國際滑鐵盧」?
▌海外投資「窮忙」
港鐵由2009年起,先後在澳洲、英國、瑞典、中國等地發展及營運多項鐵路項目,由2010至2020年十年間,大型海外鐵路項目數量由2個變成12個。而最新2021中期業績公佈顯示,港鐵將於2021年12月接管瑞典Mä lartå g的營運服務,顯示未來將會開拓更多海外業務。翻查近年港鐵年報:
—2020年海外業務總收入:214億
—2020年海外投資盈利:4.76億 (利潤率只有約2.2%)
港鐵於2020年海外業務總收入超過本地票務收入成為港鐵最大收入來源。然而,當扣除開支成本後,海外投資盈利非常微薄,雖然相對香港業務過去兩年虧損為佳,但仍可明顯見到港鐵一直在「窮忙」。如果從應佔利潤分析,剔除包括物業業務的票務的收入的內地及澳門業務,海外業務營業額佔絕對大多數,達195.92億元,但應佔利潤只有5,700萬,利潤率僅有0.3%。
可見走出國門的港鐵,利潤確實非常可憐,當中依靠墨爾本鐵路項目佔收入最多。而不少項目每年大多只賺幾千萬。而英國西南鐵路項目(South Western Railway)更「損手爛腳」,在2019年要港鐵額外撥備港元4.3億【註一】,連港鐵自己在當年年報亦表示英國及瑞典鐵路表現欠佳。
在「窮忙」財政數字背後,反映的是港鐵不斷「輸出」香港人才、技術及資源的實況。近十年港鐵年報顯示【註二】:
—員工薪酬總額中海外業務開支
2015年:50億
2020年:92.6億
—海外員工人數
2015年:8,157個
2020年:16,921個
—海外業務資產
2010年:87.79億
2020年:332.35億
除了海外員工已佔現時港鐵全部員工近49%外,根據立法會就港鐵公司鐵路業務質詢,顯示港鐵公司於2016年會調動近80名專職支援香港以外鐵路業務的員工,而到2020年已經上升近200名,當中更會調動本地管理及技術員工至不同鐵路城市「輸出」技術,明顯見到港鐵有發展比重愈來愈偏向海外的傾向。
然而,港鐵海外業務亦由於當地的工程延誤、當地基建配套持有人以及疫情影響,而遇到不少阻礙;瑞典斯德哥爾摩的通勤鐵路(Stockholm commuter rail)於18年因當地基建配套問題,就準時度與顧客滿意度承擔重大罰款【註三】;各地項目亦曾出現大大小小的罷工。(已更正此段落關於港鐵海外營動的內容)
隨著港鐵海外投資數字日益飆升,特區政府往往解釋指,港鐵會為海內外的投資額定下風險管理指標。然而,問題在於,明明政府作為最大股東的港鐵,港鐵利用本地業務的盈利去不斷投資這些「冇肉食」的海外項目,也不善用解決本地鐵路營動時所帶來的各種超支延誤加價等民生問題,這是否合乎港鐵以香港為本的定位?當本港業務是由香港市民、公帑補貼與政策傾斜支撐而成,此舉是否有違公共基建「取之於民,用之於民」的本意呢?亦是現時市民對港鐵海外財政運用原則的一大質疑。
▌完美方程式的「觸礁」
「完美方程式」鐵路加物業發展模式一直是港鐵引以為傲的投資策略,2017年時任港鐵主席馬時亨多次接受訪問稱,港鐵本地鐡路「開一條蝕一條」,需積極拓展海外市場,將「鐵路加物業」的完美方程式推銷至海外,「聲稱」會將盈利回饋香港【註四】,嘗試合理化港鐵近年積極開辦海外新鐵路的原因。
2017年港鐵大肆宣傳港鐵鐵路加物業模式進軍海外,連享負盛名的麥健時公司(McKinsey & Company)亦要為其在官網上放上一篇 ”Hong Kong’s successful self-financing formula” 來歌頌【註五】。而其中最受矚目正是港鐵聯合其他外國發展商入圍參與競投成為倫敦尤斯頓車站重建發展項目(項目地盤面積約22公頃)。然而,翻查現時倫敦尤斯頓車站(Euston railway station)重建的項目進度,原來項目早於2019年由澳洲聯實集團(Lendlease Group)中標【註六】,怪不得港鐵沒有公佈後續消息。
港鐵雖一直嘗試向各政府推銷其「賺錢大計」,卻處處碰壁。除了英國外,港鐵的地產方程式在瑞典亦面臨同樣的挑戰。2017年港鐵同時入圍的瑞典斯德哥爾摩城市Upplands Vasby 其中一個市郊鐵路車站附近的重建項目。當時瑞典日報(Svenska Dagbladet)有報章標題亦提及當地專家表示非常喜歡其規劃理念,但時任斯德哥爾摩市議員則表示當地不需中國國有的商鋪,並表明沒興趣向港鐵出售土地【註七】。而時至今日,港鐵仍未見有公佈項目的最新進展消息。另一篇瑞典日報的報導標題亦有提及瑞典國防委員會主席Pål Jonson 希望在外國公司在營運鐵路前要先進行安全審查【註八】。瑞典政府是否會將項目交予港鐵,或需要因應當地的政經考量。可見,所謂「完美方程式」其實不一定通行於國際,當遇上複雜的地緣政治時,就更加寸步難行。
▌未竟北上之路
港鐵國際間推銷「完美方程式」處處碰壁,而中國市場則成為其中一個重要依靠。根據最新2021年港鐵中期業績公佈,港鐵今年3月在中國杭州取得杭州西站南側的建設用地使用權。除此之外,現時亦在北京、深圳及天津擁有地鐵周邊物業的經營權,算是港鐵多年靠攏中國市場的「成果」。
港鐵多年中國投資多個鐵路項目,足跡遍及深圳丶北京丶杭州,某些項目更在兩鐡合併前已經簽署協議。然而,單單中國就概括多達5個城市的鐡路項目,包括北京(4號線、大興線、14號線、16號線、17號線)、深圳(4號線及北延線)、杭州(1號線及下沙延伸段、5號線)、澳門(輕軌氹仔線),各大城市業務總和只佔2020年總海外業務收入約8.5%,佔收入比例則只有約4%。同時,港鐵亦擔任「廉價勞工」不斷輸出技術、人手及資金,換取地方政府的合作機會。早於2017年港鐵在杭州籌備建港鐵學院,輸出鐵路人才返大陸或到一帶一路。此外,北上為配合大灣區發展,港鐵更在2018年順德區陳村站毗鄰綜合物業發展項目【註九】,負責「冇肉食」的顧問技術支援。
即使成功取得上蓋鐵路項目,港鐵在中國要面對的問題仍然很多,發展進程似乎也不太順利。如深圳龍勝站上蓋物業項目「天頌」,作為首個港鐵獨資開發的地產項目,港鐵亦包攬發展商的角色。這有別於叫特區政府送地、交由發展商開發,坐定定等收錢的慣常「二房東」模式。然而,天頌由興建到售銷卻引發一系列工程問題,例如停車場未開放已經出現發霉和積水,住宅內的客廳更是天花板高低不平,地板存在不同空鼓等等【註十】,而有報道亦指天頌地產項目的售樓疑涉貪污問題,港鐵三高層遭解僱【註十一】。至於天津的項目,根據去年年報指出,指由於建造地庫時需進行額外鐵路安全保障工程,北運河站商場發展項目的完工日期已延至2024年,距2017年獲得項目至今已蹉跎7年【註十二】。可見,港鐵北上之路仍非一帆風順,尤其面對現時內房國鐵競爭、中港土地制度差異等挑戰。
可見,相比起港鐵在香港營運上受到政府送上蓋可以保持壟斷霸權,到海外就「見光死」。即使港鐵不斷在海外投入大量技術、資金及人力資源,但每年的利潤仍然少得可鄰。而箇中原因相信跟港鐵海外「鐵路加物業」模式失效息息相關。當港鐵在海外失去政府送上蓋物業發展權的政策庇護,「完美方程式」的鍊金術就會失效,更顯所謂「國際級典範」的港鐵發展模式少有人提及脆弱的一面。
參考資料:
【註一】HK01:港鐵就英國業務 撥備4.3億元 https://bit.ly/2VVPocm
【註二】港鐵2011年至2020年財務統計數字:https://bit.ly/2Uc9sX8
【註三】港鐵2018年年報:https://bit.ly/3jVfKn7
【註四】明報﹕港市場飽和 新線「開一條蝕一條」 港鐵「走出去」 海外盈利回饋本港
https://bit.ly/3CJOfoR
【註五】Mckinsey&Company:The ‘Rail plus Property’ model: Hong Kong’s successful self-financing formula. https://mck.co/3yJB3y2
【註六】 Lendlease Wins $7bn London Euston Project (26 February, 2018). https://bit.ly/3CIPncs
【註七】瑞典日報(18 Augest, 2018). Stockholm behöver inte statliga kinesiska butiker” https://www.svd.se/stockholm-behover-inte-statliga-kinesiska-butiker/om/mtr
【註八】瑞典日報(Svenska Dagbladet) (20 February, 2020). T-banedriften: ”Vi måste vara ytterst försiktiga” https://www.svd.se/t-banedriften-vi-maste-vara-ytterst-forsiktiga
【註九】港鐵2018年年報:https://bit.ly/3jVfKn7
【註十】【曝光】港鐵天頌交樓遭遇“質量門”,“港式服務”哪去了?https://www.gushiciku.cn/dc_hk/101065990
【註十一】立場新聞:傳港鐵一負責內地事務高層捲貪污調查 被即時解僱 https://bit.ly/37CdOdp
【註十二】港鐵2020年年報:https://bit.ly/3jOws7s
港鐵霸權專研系列全部成果一覽:https://liber-research.com/features/07_2021/
研究自主 月捐撐起港鐵霸權專研系列:https://liber-research.com/support-us/
FPS ID:5390547
HSBC PayMe 捐款支持:https://bit.ly/32aoOMn
戶口號碼:匯豐銀行 640-198305-001 (LIBER RESEARCH COMMUNITY (HK) COMPANY LIMITED)
義工招募:https://bit.ly/2SbbyT3
「mckinsey hk」的推薦目錄:
mckinsey hk 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
BYD รถยนต์ไฟฟ้า สัญชาติจีน ใหญ่เป็นรองเพียง Tesla และ Toyota /โดย ลงทุนแมน
ชั่วโมงนี้ คงไม่มีใครไม่รู้จัก Tesla บริษัทผู้นำนวัตกรรมรถยนต์ไฟฟ้า
ที่ได้ก้าวขึ้นมาเป็นบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ที่มีมูลค่ามากที่สุดในโลก
หากเรามาดูมูลค่าบริษัทที่มีรายได้จากการผลิตรถยนต์ ที่ใหญ่สุดในโลก 3 อันดับแรกในตอนนี้
อันดับ 1 Tesla มูลค่าบริษัท 24.3 ล้านล้านบาท
อันดับ 2 Toyota มูลค่าบริษัท 7.2 ล้านล้านบาท
อันดับ 3 BYD มูลค่าบริษัท 3.2 ล้านล้านบาท
แน่นอนว่าหลายคนรู้จัก Tesla และ Toyota
แต่หลายคนน่าจะไม่รู้จัก BYD ว่าคือบริษัทอะไร
แล้ว BYD เป็นใครมาจากไหน?
ทำไมถึงมีมูลค่ามาก จนตอนนี้แซงหน้าบริษัทผลิตรถยนต์ยักษ์ใหญ่
อย่าง Volkswagen, Daimler, GM รวมถึง BMW
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
BYD ไม่ใช่ผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าจากทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น
แต่เป็นบริษัทจากประเทศจีน ที่ก่อตั้งโดยคุณ Wang Chuanfu ซึ่งเป็นผู้ที่เกิดในครอบครัวชาวนาที่ยากจนในมณฑลอานฮุย ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศจีน ตั้งแต่ปี 1995 หรือราว 26 ปีก่อน
โดยชื่อของ BYD นั้น ย่อมาจาก “Build Your Dream” หรือแปลเป็นไทยว่า “สร้างฝันของคุณ”
สำหรับเรื่องราวของคุณ Wang Chuanfu นั้น
คุณพ่อ คุณแม่ของเขาได้จากเขาไปตั้งแต่ยังเด็ก
ทำให้เขาถูกเลี้ยงมาโดยพี่ชาย และพี่สาวของเขา
การจากไปของพ่อแม่ ทำให้ชีวิตของคุณ Wang Chuanfu ประสบความยากลำบากตั้งแต่เด็ก
เขาต้องขอยืมเงินเพื่อนบ้านเพื่อเป็นทุนในการเรียนหนังสือ
แต่ความยากลำบากตั้งแต่เด็ก ทำให้เขามีความมุ่งมั่นในการเรียนอย่างมาก
จนกระทั่งเขาเรียนจบปริญญาโทจาก Beijing Non-Ferrous Research Institute
หลังจากเรียนจบ เขาทำงานให้กับหน่วยงานวิจัยของรัฐบาลจีนหลายปี ก่อนที่จะออกมาทำงานบริษัทเอกชน ระหว่างนั้นเขาศึกษา และพบว่าอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ในประเทศจีน มีโอกาสจะเติบโตอย่างมากในอนาคต
พอเรื่องเป็นแบบนี้ เขาจึงก่อตั้งบริษัท BYD Company Limited ขึ้นในปี 1995 โดยบริษัทของเขาเริ่มต้นจากการเป็นผู้ผลิตแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน
ในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี BYD สามารถครองส่วนแบ่งมากกว่า 50% ในตลาดผู้ผลิตแบตเตอรี่สำหรับโทรศัพท์มือถือ อีกทั้งยังเป็นผู้ผลิตถ่านชาร์จรายใหญ่ที่สุดในประเทศจีน
จุดเปลี่ยนของ BYD เกิดขึ้นอีกครั้งในปี 2002
เมื่อบริษัท BYD ได้ไปซื้อบริษัทรถยนต์ Tsinchuan Automobile เข้ามาเป็นบริษัทลูก
แล้วทำการเปลี่ยนชื่อเป็น “BYD Auto”
ในช่วงแรกนั้น BYD Auto ยังเน้นผลิต และจำหน่ายรถยนต์ที่ใช้น้ำมันอยู่ โดยรูปลักษณ์รถยนต์ของ BYD นั้นจะเน้นไปที่รูปทรงเหมือนรถยนต์แบรนด์จากญี่ปุ่นและยุโรป
แต่ในปี 2008 BYD Auto สามารถผลิตรถพลังไฟฟ้าแบบปลั๊ก-อิน ไฮบริด (PHEV) คันแรกของโลกได้
โดยใช้ความชำนาญของการเป็นผู้ผลิตแบตเตอรี่มาก่อน มาพัฒนาต่อยอด จนได้รับความสนใจจากผู้ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมอย่างมาก
และเรื่องนี้โด่งดังมาก จนทำให้ในปีดังกล่าว วอร์เรน บัฟเฟตต์ นักลงทุนชื่อดังของโลก เข้ามาลงทุนในบริษัท BYD ด้วยมูลค่า 6,920 ล้านบาท
มาวันนี้มูลค่าหุ้นที่วอร์เรน บัฟเฟตต์ ถือใน BYD มีมูลค่าสูงกว่า 222,000 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นกว่า 3,200% ในระยะเวลาประมาณ 12 ปี ที่เขาเริ่มลงทุนมา
สำหรับ BYD นั้น จากที่เป็นผู้ผลิตแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือรายใหญ่ของโลก
มาวันนี้ BYD ยังเป็นหนึ่งในผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้ารายใหญ่
ที่ผลิตทั้ง รถยนต์ไฟฟ้า และรถบัสไฟฟ้า
ถ้าลองมาดูส่วนแบ่งตลาดรถยนต์ไฟฟ้าในปีที่ผ่านมา จากข้อมูลของ McKinsey & Company
1. Tesla 16.2%
2. BYD 10.0%
3. BJEV 7.1%
โดยส่วนใหญ่แล้วรถยนต์ไฟฟ้าของ BYD ถูกวางขายในฮ่องกง มาเก๊า และไต้หวัน
ส่วนในประเทศไทย ก็ยังมีการนำเอารถยนต์ของ BYD มาใช้แล้วบ้าง
อย่างเช่น BYD รุ่น e6 ที่ถูกนำมาให้บริการในสนามบินสุวรรณภูมิ
ผลประกอบการของ BYD Company Limited
ปี 2018 รายได้ 566,421 ล้านบาท กำไร 12,900 ล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 566,361 ล้านบาท กำไร 7,500 ล้านบาท
โดยที่รายได้ของ BYD ในปี 2019 มาจาก
- ธุรกิจรถยนต์ไฟฟ้า 49%
- ธุรกิจผลิตและประกอบชิ้นส่วนมือถือ 43%
- ธุรกิจแบตเตอรี่ และแผงโซลาร์เซลล์ 8%
หมายความว่า BYD มีรายได้มาจากการขายรถยนต์ไฟฟ้าเป็นรายได้หลักแล้ว ซึ่งคิดเป็นมูลค่า ประมาณ 277,500 ล้านบาท
ถ้าลองเอารายได้จากการขายรถยนต์ไฟฟ้า มาเทียบกับ Tesla
ในปี 2019 Tesla มีรายได้จากการขายรถยนต์ไฟฟ้า 625,000 ล้านบาท
ก็จะเห็นว่า รายได้จากการขายรถยนต์ไฟฟ้าของ Tesla เป็น 2.3 เท่าของ BYD
ปัจจุบัน BYD Company Limited จดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง
และมีมูลค่าบริษัทประมาณ 3.2 ล้านล้านบาท
และก็น่าติดตามว่า
ภายใต้กระแสรถยนต์ไฟฟ้าที่กำลังมาแรงขึ้นเรื่อยๆ อย่างทุกวันนี้
BYD จะสามารถเติบโตไปกับเทรนด์นี้ ได้ดีมากแค่ไหน ในอนาคต
และมันคู่ควรแล้วหรือไม่ ในการที่มีมูลค่าบริษัทมากกว่าค่ายรถยุโรปทั้งหมด
ไม่ว่าจะเป็น Volkswagen, Daimler, BMW..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://finance.yahoo.com/quote/1211.HK/financials?p=1211.HK
-https://daydaynews.cc/en/emotion/681987.html
-https://en.wikipedia.org/wiki/Wang_Chuanfu
-https://dlmag.com/byd-is-the-worlds-largest-electric-vehicle-maker-5-things-you-should-know-about-byd/
-https://cntechpost.com/2020/10/31/why-did-buffett-invest-in-byd-and-not-tesla/#:~:text=In%20September%202008%2C%20Buffett%20bought,18.6%20times%20the%20original%20investment.
-https://en.wikipedia.org/wiki/BYD_Company
-https://markets.businessinsider.com/news/stocks/warren-buffett-berkshire-hathaway-gain-byd-electric-vehicles-investment-2021-1-1029995920
-https://www.mckinsey.com/industries/automotive-and-assembly/our-insights/mckinsey-electric-vehicle-index-europe-cushions-a-global-plunge-in-ev-sales
-https://www.autodeft.com/deftscoop/byd-e6-taxi-vip-ev-thailand
mckinsey hk 在 李柏鋒的擴大機 Facebook 的最佳貼文
南韓民眾1990年平均儲蓄佔家庭淨收入22.2%,但2012年已跌至3.4%。
《借貸消費 南韓家庭負債累累》
近二十年來,南韓人民已逐漸從儲蓄者變成消費者與借貸者。首爾三星經濟研究所研究家庭債務的經濟學家JeongYoung Sik發現,南韓民眾1990年平均儲蓄佔家庭淨收入22.2%,但2012年已跌至3.4%。2012年,南韓家庭負債對可支配收入的比率為160%,高於美國2007年地產泡沫破裂前的130%。
在首爾以南的水原市,一名40歲的家庭主婦將其信用卡債務比喻為綁住她的腳銬。她只同意透過電子郵件置評,並要求匿名。她表示,因為債務非常重,她被迫向非法貸款機構借錢。最後,在當地的信用顧問與復元服務中心(Credit Counseling and RecoveryService)幫助下,她才重新掌控自己的財務狀況。
首爾是Gangnam Style的老家,朴載相(Psy)這首全球爆紅歌曲諷刺的江南,是首爾象徵身份地位的一個地區。不過,炫富消費興起不能完全解釋南韓人的財務習慣變化。經濟學家Jeong估計,按揭貸款約佔家庭負債三分之二。麥肯錫全球研究院(McKinsey GlobalInstitute)收集的數據顯示,南韓平均房價是家庭平均年收入的7.7倍,遠高於美國的3.5倍。南韓約40%的人口居住於大首爾地區,需求強勁推高了居住成本。
為了幫助「泥足深陷的借款人」重組債務,南韓總統朴槿惠今年3月推出13億美元的「國民幸福基金」。這是南韓政府第一次明確處理家庭債務問題。
更多內容請閱《彭博商業周刊/繁體中文版》第25期 全球經濟
--------------------------------------------------
逢週三出版
香港各大便利店、書報攤有售
每本HK$28
mckinsey hk 在 McKinsey Hong Kong - Home | Facebook 的美食出口停車場
McKinsey Hong Kong. 429 likes · 10 talking about this. McKinsey is the leading global management consulting firm in Hong Kong. ... <看更多>