【法總統坦承對盧安達大屠殺有責任】
上任以來積極推動「正視且承認歷史」政策的法國總統馬克宏(Emmanuel Macron),在5月底歷史性造訪盧安達,並承認法國對1994年造成80萬人喪生的盧安達大屠殺負有責任。儘管他並沒有代表國家致歉,讓部分盧安達人民失望,但盧安達總統卡加米(Paul Kagame)極力讚賞馬克宏「說出真相」。專家並分析,馬克宏積極修復與盧安達的關係,為雙邊關係,乃至於法國與非洲各國的關係產生正面影響。
#馬克龍
#盧安達
#大屠殺
https://www.rti.org.tw/news/view/id/2101347
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過13萬的網紅The World TODAY,也在其Youtube影片中提到,2004年上映、改編自真人真事的好萊塢電影《#盧安達飯店》,主角保羅魯塞薩巴吉納(#PaulRusesabagina)在1994年的 #盧安達大屠殺 中,拯救了一千多人,還曾被小布希總統授予 #自由勳章。 然而今年8月31號,魯塞薩巴吉納在杜拜消失,並出現在盧安達調查局的逮捕名單中,遭控為恐怖份子...
kagame 在 轉角國際 udn Global Facebook 的最佳解答
【#過去24小時:🇫🇷 🇷🇼】
「法國不是種族滅絕的共犯,但...我們難辭其咎。」法國總統馬克宏在27日訪問盧安達,不僅是兩國睽違11年的元首級訪問,針對近年爭議再起的盧安達屠殺歷史問題,馬克宏代表法國的立場態度也成為外界關注焦點。馬克宏在大屠殺紀念館前發表演說,表明「法國的確有其責任」,應該為當年種族滅絕事件時的冷眼旁觀負責。
.
雖然馬克宏的「進步態度」得到不少肯定,但刻意模糊的具體責任、以及並非實質道歉的法式說法,也引發正反不同的批評——法國應該為盧安達大屠殺負責嗎?今年法國國內的專家調查報告,又有什麼樣的歷史解釋?
.
盧安達屠殺發生於1994年4月7日,因為前一天突然發生盧安達總統——胡圖族的獨裁者哈比亞利馬納(Juvénal Habyarimana)——搭飛機時遭到「不明的防空飛彈擊落爆炸」,舉國陷入混亂,進而引爆了盧安達軍方與胡圖族激進主義者的復仇行動,針對長久以來相處矛盾的圖西族進行種族滅絕式的無差別屠殺,在短短的百日之內就殺死超過80萬名圖西人。最終是在流亡烏干達的圖西族武裝「盧安達愛國陣線」(FPR)強勢重返之下,同年的7月15日回攻首都吉加里後,為這場血腥慘劇畫下休止符。
.
這場外界看來是盧安達種族內戰的風暴,為何又和法國扯上關係?追溯盧安達被殖民的歷史,19世紀末被德意志帝國統治,一戰之後則淪為比利時的殖民地,殖民母國為了統治需要的種族政策,讓圖西族人的權力地位不斷鞏固,加劇了盧安達的族群矛盾。直到1960年代更有激進派的胡圖族人,開始針對圖西族發動攻擊,迫使許多圖西族難民流亡到鄰近國家,而近代的盧安達自此也由胡圖族掌權。
.
法國為了鞏固曾經在非洲殖民的政治影響力,在與盧安達的政經往來上也特別親近胡圖族政權,因而埋下了日後有關盧安達屠殺時期的爭議種子。
.
「法國對盧安達的苦難沉默太久了...法國對於屠殺難辭其咎,但並非種族滅絕的共犯。」馬克宏強調歷史不容遺忘的立場,並訴諸溫情喊話,「希望穿過黑夜的圖西族人,能夠原諒我們、給我們寬恕。」不過到底法國有什麼責任、又該如何負責,馬克宏沒有太多著墨,因此這段演說固然有進步的象徵意義,但是在盧安達倖存者與遺族的眼中,也認為根本沒有講到重點,「相當失望...馬克宏應該要代表法國政府道歉。」
.
#法國 #盧安達 #盧安達大屠殺 #馬克宏 #Macron #卡加梅 #Kagame #轉型正義 #殖民 #歷史 #盧安達飯店 #非洲
kagame 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
รวันดา จากสงครามล้างเผ่าพันธุ์ สู่ประเทศเติบโตสูง /โดย ลงทุนแมน
ปี 1994 ในประเทศเล็ก ๆ ใจกลางทวีปแอฟริกา
ได้เผชิญโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
เมื่อผู้คนในชาติเดียวกัน แต่ต่างเผ่าพันธุ์ ได้จับอาวุธมาสังหารกัน
จนบานปลายกลายเป็นสงครามกลางเมืองที่มีผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ครั้งนั้นเกือบ 1 ล้านคน
คนทั่วโลกรู้จักโศกนาฏกรรมครั้งนั้นภายในชื่อ “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา”
ภาพเหตุการณ์ในครั้งนั้น ยังคงอยู่ในความทรงจำของชาวรวันดาผู้รอดชีวิตทุก ๆ คน
เป็นฝันร้ายที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศพังยับเยิน
GDP หดตัวลง 50% และรวันดากลายเป็น 1 ใน 5 ประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก
แต่ 26 ปีหลังพายุใหญ่ครั้งนั้นผ่านพ้นไป ผู้คนในประเทศนี้กลับมุ่งมั่นพัฒนาตัวเอง
จนมีเศรษฐกิจที่เติบโตโดดเด่นกว่าประเทศเพื่อนบ้าน
รวันดาเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตเร็วที่สุดแห่งหนึ่งในทวีปแอฟริกา
และติดอันดับ Top 10 ของโลกเป็นเวลาหลายปี
GDP ต่อหัวเพิ่มขึ้นมา 6 เท่า จากจุดต่ำสุดในปี 1994
ประเทศเล็ก ๆ ที่เพิ่งตื่นขึ้นมาจากฝันร้าย ประชากรส่วนใหญ่ยังคงยากจน
แต่กลับมีความฝันที่ยิ่งใหญ่ โดยความใฝ่ฝันสูงสุดของประเทศนี้
คือการเป็น “ศูนย์กลางทางเทคโนโลยีของทวีปแอฟริกา”
เรื่องราวของรวันดาเป็นอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
รวันดา เป็นประเทศเล็ก ๆ ที่มีพื้นที่เพียง 26,338 ตารางกิโลเมตร
ขนาดพอ ๆ กับจังหวัดนครราชสีมา ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ใจกลางทวีปแอฟริกา
และมีฉายาว่า ดินแดนแห่งหุบเขานับพัน เพราะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขา
สูงกว่า 1,500 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
ด้วยความที่ตั้งอยู่บนที่สูงและอยู่แถบเส้นศูนย์สูตรพอดี ทำให้กรุงคิกาลี เมืองหลวงของรวันดา เป็นเมืองที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ราว 20 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งปี
ภูมิอากาศที่เหมาะสมทำให้รวันดาเป็นแหล่งเพาะปลูกพืชผลมากมาย ทั้งกาแฟ ชา ข้าวสาลี ผักและผลไม้ ความอุดมสมบูรณ์ทำให้ปัจจุบันรวันดามีประชากร 12 ล้านคน ซึ่งนับเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรสูงมาก ถึง 470 คนต่อตารางกิโลเมตร
ด้วยความอุดมสมบูรณ์นี้เอง เมื่อย้อนกลับไปในยุคล่าอาณานิคมช่วงปลายศตวรรษที่ 19
ดินแดนรวันดาก็ได้ดึงดูดให้ประเทศมหาอำนาจในยุโรปเข้ามาครอบครอง
แรกเริ่ม รวันดาตกเป็นอาณานิคมของเยอรมนี จนเมื่อเยอรมนีแพ้สงครามโลกครั้งที่ 1
รวันดาก็ตกเป็นอาณานิคมของเบลเยียม ซึ่งมีส่วนทำให้รวันดามีภาษาราชการในปัจจุบัน
คือ ภาษาฝรั่งเศส คู่กับภาษากิญญาร์วันดา และภาษาอังกฤษ
การเป็นอาณานิคมของเบลเยียมนี้เองที่เป็นจุดเริ่มต้นของฝันร้ายสำหรับประเทศเล็ก ๆ แห่งนี้..
แต่เดิมผู้คนพื้นเมืองในรวันดาประกอบไปด้วยชนเผ่า 2 เผ่าหลัก ได้แก่
เผ่าฮูตู ซึ่งคิดเป็นสัดส่วน 85% ของประชากร ชาวฮูตูจะมีผิวคล้ำ ตัวค่อนข้างเตี้ย
และอีกเผ่าชื่อว่า ทุตซี คิดเป็นสัดส่วน 14% ชาวทุตซีจะมีผิวคล้ำน้อยกว่า และมีความสูงมากกว่า
ซึ่งผู้คนทั้ง 2 เผ่าอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขมาหลายร้อยปี
แต่เมื่อเบลเยียมเข้ามา ก็ได้นำนโยบายหลักของเจ้าอาณานิคมยุโรปในยุคนั้น
คือ “การแบ่งแยกแล้วปกครอง” มาใช้กับรวันดา
ด้วยการให้ประชาชนทุกคนต้องมีบัตรประชาชน ที่ระบุว่าตัวเองเป็นเผ่าพันธุ์อะไร
โดยรัฐบาลอาณานิคมเลือกสนับสนุนชนเผ่าทุตซีที่มีจำนวนน้อยกว่า
และเป็นชนชั้นปกครองมาแต่ดั้งเดิม มอบสิทธิพิเศษต่าง ๆ ให้ ทั้งการศึกษา การจ้างงาน
ขณะที่ชนเผ่าฮูตูซึ่งเป็นคนหมู่มาก กลับถูกกีดกัน และต้องกลายเป็นพลเมืองชั้นสอง
ความบาดหมางนี้ค่อย ๆ ก่อตัวขึ้นระหว่างผู้คน 2 เผ่าพันธุ์
จนมาถึงปี 1959 ชาวฮูตูจึงเริ่มลุกฮือ และล้มล้างระบอบการปกครองเดิม
จนทำให้ชาวทุตซีนับหมื่นต้องอพยพลี้ภัยไปประเทศเพื่อนบ้าน
กระทั่งปี 1962 รวันดาจึงได้รับเอกราช และมีประธานาธิบดีคนแรกของประเทศเป็นชาวฮูตู
เมื่อชาวฮูตูขึ้นเป็นใหญ่ ก็เริ่มออกนโยบายที่กดขี่ชาวทุตซี ทำให้ชาวทุตซีถูกขับไล่ไปยังประเทศเพื่อนบ้านมากยิ่งขึ้น บางส่วนก็ได้เริ่มรวมตัวกันจัดตั้งกองกำลัง Rwandan Patriotic Front หรือ RPF เพื่อจะกลับไปยึดบ้านเกิดของตัวเอง
ความวุ่นวายนี้เกิดขึ้นเป็นระยะเวลาราว 30 ปี จนมาถึงฟางเส้นสุดท้าย ในเดือนเมษายน ปี 1992
เมื่อประธานาธิบดีรวันดาในขณะนั้นซึ่งเป็นชาวฮูตูได้ถูกลอบสังหาร สื่อมวลชนฝั่งรัฐบาลปล่อยข่าวว่าสาเหตุเกิดมาจากชาวทุตซี มีการเรียกร้องให้ชาวฮูตูออกมาทำการสังหารชาวทุตซีทุกคนที่พบ หากเพิกเฉย ก็จะถือว่าชาวฮูตูคนนั้นเป็นผู้ทรยศและจะต้องถูกสังหารเช่นเดียวกัน
กลุ่มชาวฮูตูสุดโต่ง ก็ได้ออกมาสังหารชาวทุตซีทุกคน รวมไปถึงชาวฮูตูที่ให้ความช่วยเหลือชาวทุตซี ก็ไม่ละเว้น
โดยอาศัยการแบ่งแยกด้วย “บัตรประชาชน” ซึ่งระบุเชื้อชาติไว้อย่างชัดเจน หรือหากใครไม่มีบัตรประชาชน ก็อาศัยดูจากสีผิวที่คล้ำน้อยกว่า ไม่ว่าจะเป็นเด็กทารก ผู้หญิง หรือคนชรา
ภาพยนตร์ชื่อดังเรื่อง Hotel Rwanda ก็ถูกสร้างขึ้นมาจากเหตุการณ์จริงที่ผู้จัดการโรงแรม
ชาวฮูตูสายกลาง ได้พยายามช่วยเหลือชาวทุตซีทุกคนที่หลบหนีเข้ามาในโรงแรม
เป็นระยะเวลา 100 วันแห่งโศกนาฏกรรมอันโหดร้าย
ที่ชาวรวันดา สังหารเพื่อนร่วมชาติเดียวกันไปถึง 800,000 คน..
จนเมื่อกองกำลังปลดปล่อย RPF ของชาวทุตซี ซึ่งมีผู้นำคือ Paul Kagame
ได้เริ่มปฏิบัติการตีโอบล้อมกรุงคิกาลี และยึดอำนาจเป็นผลสำเร็จ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์แห่งรวันดาจึงปิดฉากลงในเดือนกรกฎาคม
หลังจากนั้นได้มีการสถาปนารัฐบาลใหม่ ที่มีทั้งชาวฮูตูและทุตซีขึ้นปกครองร่วมกัน
โดยมีประธานาธิบดี Pasteur Bizimungu ซึ่งเป็นชาวฮูตู
ส่วน Paul Kagame ชาวทุตซี ได้เป็นรองประธานาธิบดีและรัฐมนตรีกลาโหม
ถึงแม้ความวุ่นวายในประเทศจะสงบลง แต่รวันดาก็ยังเผชิญกับความวุ่นวายจากประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะคองโกเป็นเวลาเกือบ 6 ปี เศรษฐกิจที่อ่อนแอ จึงยังต้องพึ่งพาความช่วยเหลือทางการเงินจากต่างประเทศ
แต่เมื่อความวุ่นวายภายนอกเริ่มสงบ รัฐบาลรวันดาของ Pasteur Bizimungu กลับเต็มไปด้วยการคอร์รัปชัน ทำให้รองประธานาธิบดี Paul Kagame ได้ตัดสินใจฟ้องศาล เพื่อบีบให้ประธานาธิบดีลาออก
และ Paul Kagame ก็ได้ก้าวขึ้นมาเป็นประธานาธิบดีของรวันดา ในปี 2000
และนี่คือจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง เพราะสิ่งแรกที่ประธานาธิบดีผู้นี้ทำ
ก็คือ การร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวรให้รวันดา ที่พยายามยุติการระบุอัตลักษณ์เชื้อชาติ
โดยให้ประชาชนระบุตัวตนว่าเป็นชาวรวันดาเท่านั้น ไม่มีชาวฮูตูหรือชาวทุตซีอีกต่อไป..
หลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญในปี 2003 Paul Kagame ก็ได้ลงสมัครเลือกตั้ง
และได้เป็นประธานาธิบดีด้วยคะแนนเสียงอย่างท่วมท้นถึง 95%
เขาจึงเริ่มต้นวางแผนพัฒนาประเทศด้วยการปราบคอร์รัปชันอย่างหนัก และวางนโยบายในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจครั้งใหญ่
รวันดาเป็นประเทศที่ยากจนมาก ๆ ถึงแม้จะมีพื้นที่อุดมสมบูรณ์ แต่ก็มีประชากรหนาแน่น
มีทรัพยากรแร่ธาตุแต่ก็ไม่ได้มากมาย หนทางเดียวที่รวันดาจะหลุดพ้นจากความยากจนได้
คือการพัฒนา “เทคโนโลยี”
นำมาสู่แผน Rwanda 2020 ยุทธศาสตร์ชาติที่จะทำให้รวันดาหลุดพ้นจากประเทศยากจน
กลายเป็นประเทศรายได้ปานกลางภายในปี 2020 โดยมุ่งเน้นด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและด้านเทคโนโลยีอย่างหนัก
รวันดาเปิดเสรีทางด้านโทรคมนาคม และลงทุนสร้างโครงข่ายใยแก้วนำแสงที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคแอฟริกากลาง ด้วยความยาวถึง 3,000 กิโลเมตรทั่วประเทศ
ทำให้รวันดามีความเร็วอินเทอร์เน็ตสูงที่สุดติด Top 3 ของทวีปแอฟริกา และถูกต่อยอดมาเป็นการให้บริการของภาครัฐผ่าน e-Governance และธุรกรรมการเงินผ่าน e-Banking
เป็นประเทศแรก ๆ ของภูมิภาค
บริษัทโทรคมนาคม Terracom ซึ่งให้บริการอินเทอร์เน็ตทั้งในรวันดาและครอบคลุมไปถึงประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่ง “บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ” นี้ สร้างรายได้กว่า 10,000 ล้านบาทให้ประเทศ และคิดเป็นสัดส่วน 23% ของการส่งออกสินค้าและบริการทั้งหมด
The Rwanda Development Board (RDB) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี 2009 เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ รัฐบาลพยายามปฏิรูปขั้นตอนกระบวนการทำธุรกิจให้ง่ายขึ้น ลดระเบียบยุ่งยากจากภาครัฐ และอำนวยความสะดวกด้านภาษีและสาธารณูปโภคพื้นฐานอย่างเต็มที่
รวันดาติดอันดับประเทศที่มีความสะดวกในการทำธุรกิจ อันดับ 38 ของโลกในปี 2020 จาก 190 ประเทศ ซึ่งเป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา และดีกว่าประเทศร่ำรวยหลายประเทศ
นอกจากภาคบริการเทคโนโลยีสารสนเทศแล้ว รวันดายังพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
โดยมีกิจกรรมท่องเที่ยวที่สำคัญ คือ การเข้าไปชมลิงกอริลลาในป่าดงดิบอย่างใกล้ชิด
คิดค่าใบอนุญาตชมกอริลลาแพงถึงคนละ 45,000 บาทต่อวัน เพื่อจำกัดจำนวนนักท่องเที่ยว
ไม่ให้กระทบกับสภาพแวดล้อมมากจนเกินไป และสร้างรายได้ให้กับพรานในชุมชนแทนที่การล่าสัตว์
แม้แต่สินค้าเกษตรที่ส่งออกหลักอย่างกาแฟ รวันดาเน้นส่งออกแต่กาแฟอะราบิกาคุณภาพสูง
ผู้ผลิตส่วนใหญ่เป็นกลุ่มสหกรณ์ที่มีสถานีล้างเมล็ดกาแฟเป็นของตัวเอง มีการควบคุมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทำให้กาแฟรวันดามีราคาสูง และเป็นผู้ผลิตกาแฟรายแรกของทวีปแอฟริกา ที่มีการจัดประกวด “Cup of Excellence” เพื่อเฟ้นหากาแฟคุณภาพ และเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับกาแฟรวันดา
การปราบปรามคอร์รัปชันอย่างหนัก และการพัฒนาการบริหารของภาครัฐด้วยเทคโนโลยี
มีส่วนทำให้รวันดากลายเป็นประเทศที่มีดัชนีความโปร่งใสสูงเป็นอันดับ 3 ของทวีปแอฟริกา
และเป็นอันดับที่ 49 ของโลก จากทั้งหมด 179 ประเทศ
เป็นอันดับที่ดีกว่าประเทศร่ำรวยกว่ามากอย่าง อิตาลี มอลตา และซาอุดีอาระเบีย
เมื่อคอร์รัปชันต่ำ เงินภาษีทุกฟรังก์รวันดาก็ส่งผลไปถึงประชาชนได้มาก
ทำให้การพัฒนาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว รวันดายังมีโครงการเมกะโปรเจกต์ในกรุงคิกาลี
คือ “Kigali Innovation Center” ด้วยงบลงทุนกว่า 60,000 ล้านบาท ร่วมกับธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งแอฟริกา โดยเขตนี้จะเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษที่มีโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีครบครัน เพื่อดึงดูดสถาบันการศึกษา บริษัทไอที และบริษัทไบโอเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
เป้าหมายสูงสุดของรวันดา คือการเป็นศูนย์กลางเทคโนโลยีของทวีปแอฟริกา เป็นศูนย์รวมการให้บริการสารสนเทศ เป็นแหล่งผลิตสินค้าไอที และสินค้าที่ใช้นวัตกรรมขั้นสูง
ที่จะพาให้ประเทศนี้ก้าวสู่การเป็นประเทศรายได้สูงภายในปี 2050
แน่นอนว่าปัญหาความยากจนยังคงเป็นปัญหาเรื้อรัง ถึงแม้ GDP ต่อหัว ในปี 2020
จะเติบโตจากปี 1994 ถึง 6 เท่า แต่ GDP ต่อหัวของรวันดา ก็อยู่ที่เพียง 25,420 บาทต่อปี
ประชากรส่วนใหญ่กว่า 39% ของประเทศ ยังคงใช้ชีวิตต่ำกว่าเส้นแบ่งระดับความยากจน (Poverty Line) และการเพิ่มของประชากรอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 2.6 ต่อปี ก็เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่รวันดาต้องเผชิญหน้า
แต่การที่ประเทศหนึ่งซึ่งแทบสิ้นเนื้อประดาตัวจากสงครามกลางเมือง
สามารถพลิกกลับมามีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง
และวางแผนพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยใช้ “เทคโนโลยี” เป็นตัวขับเคลื่อน
ก็นับว่า รวันดาได้ทิ้งความขมขื่นเอาไว้ข้างหลัง และพร้อมจะก้าวต่อไปเพื่ออนาคตที่ดีกว่า..
ลงทุนแมนเคยเล่าเรื่องราวของหลายประเทศ ที่เริ่มต้นจากความยากจน ความขัดแย้ง
หรือแม้กระทั่งกองเถ้าถ่านจากสงคราม แต่ก็สามารถฝ่าฟันปัญหาต่าง ๆ และพัฒนาประเทศได้สำเร็จ
จนกลายเป็นเรื่องราวความมหัศจรรย์ทางเศรษฐกิจที่คนทั้งโลกยกย่อง
ทั้งเกาหลีใต้ สิงคโปร์ และจีน
บางทีในอีก 30 ปีข้างหน้า อาจมีชื่อ “รวันดา” อยู่ในนั้นด้วย ก็เป็นได้..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.MKTP.KD.ZG?locations=RW-CN-VN
-https://www.un.org/africarenewal/magazine/april-2011/information-technology-super-charging-rwandas-economy
-https://atlas.cid.harvard.edu/explore?country=187&product=undefined&year=2018&productClass=HS&target=Product&partner=undefined&startYear=undefined
-https://www.doingbusiness.org/en/rankings
-https://www.trtworld.com/magazine/what-makes-rwanda-one-of-africa-s-fastest-growing-economies-23410
-https://www.visitrwanda.com/interests/gorilla-tracking/
-https://www.newtimes.co.rw/news/africa-kigali-innovation-city
-https://www.newtimes.co.rw/section/read/22031
-https://www.fdiintelligence.com/article/77769
-https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.PCAP.CD?locations=RW
-https://www.indexmundi.com/g/r.aspx?v=69
kagame 在 The World TODAY Youtube 的最佳解答
2004年上映、改編自真人真事的好萊塢電影《#盧安達飯店》,主角保羅魯塞薩巴吉納(#PaulRusesabagina)在1994年的 #盧安達大屠殺 中,拯救了一千多人,還曾被小布希總統授予 #自由勳章。
然而今年8月31號,魯塞薩巴吉納在杜拜消失,並出現在盧安達調查局的逮捕名單中,遭控為恐怖份子。究竟一個受人景仰的人權鬥士,為何會和恐怖主義沾上邊呢?
《TODAY 看世界》每日精選國際話題,帶你秒懂世界大事!
↳ 看所有報導 https://lin.ee/7MAbPS0
馬上訂閱 LINE TODAY 官方帳號,全球脈動隨時掌握!
↳ 訂閱起來 https://lin.ee/19eXmdD
kagame 在 kormaruR Youtube 的精選貼文
One Piece Kaizoku Musou (Pirate Warriors) : シャボン舞う諸島の冒険, ボルサリーノ/黄猿 (Borsalino/Kizaru), 戦桃丸 (Sentomaru), パシフィスタ (Pacifista)
難しい Hard Mode
Main Log: EP12 - Sabaody Archipelago Scenario
20:02 - Kizaru
After clearing the objective "Secure a escape route" and slowly regen my health while killing the last Pacifista its time to fight Kizaru.
Remember to save after each Kizaru fight!! Especially before and after Chopper's part!!
Since my Usopp was dumb enough to take on a Pacifista early before I had to finish this fight early before Kizaru kills him.
Try to stun Kizaru first then unleash the 2 gauge bar special "ゴムゴムの暴風雨(ストーム)" Gomu Gomu no Storm. It's the most cost effective skill for just 2 bars. It deals about the same (sometime less, sometime more) damage as two ゴムゴムの回転弾(ライフル) Gomu Gomu no Rifle but saves you the time to stun again for the 2nd launch.
Additionally after ゴムゴムの暴風雨(ストーム) Gomu Gomu no Storm you can still use Dash Break to rebound him back to the air for another punish.
Tip: You can also ゴムゴムの暴風雨(ストーム) Gomu Gomu no Storm Kizaru as soon he's stun then Dash Break to rebound him for another ゴムゴムの暴風雨(ストーム) Gomu Gomu no Storm if you have パラミシア Paramecia coin set skill on for longer stun duration.
You can do a quick Dash Break by pressing □+x together and if you repeatedly press it, you will Dash Break simultaneously. Also Dash Break has a slight invincible frame that can sometime help you get out of danger.
High recommend you use Dash Break to chase Kizaru, since the camera angle is atrocious this can give you a bit of edge from getting attacked while you chase him. And plus if you happen to Dash Break toward Kizaru while he's doing a move, it will cancel it.
When Kizaru have around 40% health left, he will use two more additional moves: 八咫鏡(やたのかがみ) Yata no Kagame and 八尺瓊勾玉(やさかにのまがたま) Yasakani no Magatama. You can dodge or reduce the damage if you hurry and go behind his back before he launches it. Since around this point he would be at Chopper's location, I highly recommend you to reduce his health as fast as possible but doing the double ゴムゴムの暴風雨(ストーム) Gomu Gomu no Storm within one stun with the help of パラミシア Paramecia coin set skill. Because Chopper can die easily from these two new moves from the Kizaru.
Sony Vegas couldn't render a 4.2GB+ file thus I have to split this episode into 2 parts.
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
Playlist:
http://www.youtube.com/playlist?list=PLA53F3B37FDF747FD
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
H264 Video Codec @ 1280x720p 30FPS 8mb bitrate
44.1KHz 96,000bps Audio Bitrate
MP4 Container