เล่าเรื่องเมืองจีน ตอน สรุปเศรษฐกิจและตลาดจีนก่อนและหลังโควิดแบบพอสังเขป
.
ก่อนโควิด จีนยังคงเน้นการลงทุนในต่างประเทศ อย่างยิ่งในแถบทวีปแอฟริกา
.
Average annual outbound direct investment หรือ การลงทุนในต่างประเทศในแต่ละปีโดยเฉลี่ย ตั้งแต่ปี 1982 -2001 อยู่ที่ประมาณ 1.73พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และ เพิ่มขึ้นแบบก้าวกระโดดถึง 43.3เท่า ไปอยู่ที่ค่าเฉลี่ย 7.5หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ตั้งแต่ปี 2002 -2018
.
เฉพาะในปี2018 การลงทุนในอุตสาหกรรมบริการของจีนในต่างประเทศ คิดเป็นมูลค่า 8.42หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ จากการลงทุนในต่างประเทศทั้งหมดของจีนในปีนั้น ประมาณ 1.29แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ (เติบโตจากปีก่อนหน้า ประมาณ 4.2%) เรียกได้ว่า อุตสาหกรรมบริการ ครองสัดส่วนการลงทุนต่างประเทศของจีนมากที่สุด
.
การลงทุนในต่างประเทศของจีน จะชะงักเล็กน้อยในปี2019 ตามข้อมูลที่เพิ่งเผยแพร่โดยกระทรวงพาณิชย์จีน โดยการลงทุนโดยตรงของจีนในต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาคการเงิน (non-Financial ODI) ลดลง 6% เมื่อเทียบกับ 2018
.
สำหรับไทย ปี 2019 เป็นปีที่จีนก้าวมาแทนที่ประเทศญี่ปุ่น ที่ครองตำแหน่งนักลงทุนเบอร์1ในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกใต้มาอย่างยาวนานราว5ทศวรรษ โดยข้อเสนอการลงทุนในไทยจากจีน คิดเป็นมูลค่า 2.62 แสนล้านบาท ซึ่งมากกว่า 50%ของการลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมด สำหรับญี่ปุ่นแชมป์เก่า ลงทุนมูลค่า 7.31หมื่นล้านบาท ตามมาด้วยฮ่องกง 3.63หมื่นล้านบาท
.
แต่ตั้งแต่จีนทำสงครามการค้าจีนอเมริกา การลงทุนและเม็ดเงินที่เกิดขึ้นจากการทำการค้าระหว่างประเทศของจีน มีการชะลอตัวและกลายเป็นแผลเรื้อรังมาจวบจนตอนนี้หลังจากทำสงครามการค้ากับอเมริกา มีการตั้งกำแพงภาษีของทั้งสองฝ่าย แม้จีนจะพยายามแสดงท่าทีออกมาว่า “ไม่มีปัญหา” แต่ต้องยอมรับว่า จีนเจ็บหนักทีเดียว
.
เมื่อเกิดสงครามการค้าจีนอเมริกา จีนเลยถือโอกาสพลิกวิกฤติเป็นโอกาส ลุยเน้นเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น ทั้งเร่งดำเนินนโยบาย Made in China 2025 สร้างเทคโนโลยีนวัตกรรมจีน เพื่อใช้ภายในประเทศและส่งออก ไม่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีของประเทศอื่นเป็นหลักดังเช่นอดีต โดยเฉพาะการพึ่งพาทางฝั่งอเมริกาและตะวันตก
.
ตัวอย่างหนึ่งที่น่าสนใจคือ การยกเว้นและลดอัตราภาษีสำหรับธุรกิจผลิตชิป เพื่อกระตุ้นให้ผู้ผลิตจีน ทำชิปออกมาให้ทัดเทียมประเทศอื่น จะได้นำมาใช้ในสินค้าประเภทไอที อิเล็กทรอนิกส์ อย่างกรณี Huawei
.
“ดิจิทัล” มีบทบาทอย่างมากในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจจีน จีนเน้นลงทุนในเทคโนโลยีใหม่ๆ ไม่ว่าจะปัญญาประดิษฐ์ 5G (เริ่มวิจัย 6G แล้ว และวางเป้าใช้เชิงพาณิชย์ภายในปี 2030) หรือแม้แต่สกุลเงินดิจิทัล ก็เป็นสิ่งที่จีนโฟกัส การเติบโตของดิจิทัลในจีน ทำให้เมื่อจีนเจอกับโควิด เลยเป็นตัวกระตุ้นให้ Digital transformation เกิดขึ้นได้ไว ทุกภาคส่วนยินดีเต็มใจต้อนรับ Digital Transformation เกิดขึ้นกับพวกเขา
.
อย่างที่อ้ายจงเคยเล่าไปแล้วเมื่อก่อนหน้านี้เกี่ยวกับตลาด Luxury จีน การบริโภคสินค้าหรูในจีนช่วงโควิด ปี 2020 สร้างเม็ดเงิน 1.41 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ
.
ตามข้อมูลจาก McKinsey เติบโตจากปีก่อนหน้า โดยเป็นผลจากการเปลี่ยนหน้าร้านสินค้าแบรนด์เนมไปสู่บนโลกออนไลน์ และใช้ Livestreaming เป็นช่องทางการขายสำคัญ โดยสามารถกล่าวได้ว่า ช่วงระบาดหนักของโควิด มีตลาดจีนเพียงแห่งเดียวในโลก ที่ยังคงสร้างรายได้ให้กับสินค้าแบรนด์เนม ขณะที่ทั่วทั้งโลก ยิ่งในโซนยุโรปและสหรัฐอเมริกา ตลาดหรูซบเซา ด้วยผลกระทบจากโควิด
.
และเมื่อจีนเจอกับการแพร่ระบาดโควิดตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา (2020) แน่นอนว่า การแพร่ระบาดโควิดส่งผลกระทบต่อประเทศจีน รวมถึงประเทศอื่นๆ (ไทยเองก็เช่นกัน)
.
สำหรับประเทศจีน ที่เห็นชัดเจนเลยคือ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและนำเข้าส่งออก ได้รับผลกระทบค่อนข้างหนัก แต่ ณ ปัจจุบัน เริ่มฟื้นตัว โดยมีการเปลี่ยนโมเดลธุรกิจเล็กน้อยจนถึงเปลี่ยนมาก
.
อย่างเช่น ธุรกิจท่องเที่ยว เน้นเที่ยวในประเทศเป็นหลัก ก่อให้เกิดสถานที่ท่องเที่ยวใหม่ๆขึ้น และเกิดรูปแบบการเที่ยวแบบใหม่ในจีนที่มุ่งเน้นตามเขตเมืองชนบท ตามธรรมชาติ เริ่มมองสิ่งที่บ้านตนเองมีมากขึ้น เนื่องจากออกนอกประเทศไม่ได้
.
ธุรกิจนำเข้าส่งออก หรือผู้ผลิตสินค้า ก็เน้นผู้บริโภคในประเทศมากขึ้น เรียกได้ว่าเป็นการพลิกวิกฤติเป็นโอกาส
.
คือนับตั้งแต่เกิดการแพร่ระบาดโควิด ทางการจีนมีการสื่อสารออกมาต่อประชาชนใน feel “สร้างความรักชาติมากขึ้น” คนจีนซึ่งให้ความสำคัญต่อการรักชาติ หรือชาตินิยมแบบแรงมากอยู่แล้ว เลยยิ่งเพิ่มระดับทวีคูณ มีผลโดยตรงจากการวางกลยุทธ์สื่อสารของรัฐบาลจีน เลยผลักดัน Demand การบริโภคให้เป็นแบบ บริโภคแบรนด์ในประเทศ แบรนด์ของจีน (Local brand) มากขึ้น เป็นการบริโภคแบบชาตินิยม
.
ข้อมูลล่าสุดจากการสำรวจของ Global Times สื่อกระบอกเสียงทางการจีน เมื่อเดือนมีนาคม 2021 ที่ผ่านมา ชี้ให้เห็น “ผู้บริโภคชาวจีนพึงพอใจในการบริโภคสินค้า Local Brand มากขึ้น” แต่ รถยนต์ และ สินค้าความสวยความงาม-สกินแคร์ ยังคงพอใจ Foreign Brand มากกว่า Local
.
ทั้งนี้ ถ้าจะให้ผมยกประเภทธุรกิจอะไรสักอย่างเป็นหนึ่งในธุรกิจจีนที่เติบโตในยุคโควิด ผมขอยกให้ "ค้าปลีกออนไลน์"
ถือว่าเติบโตเป็นอย่างมากนะ สืบเนื่องมาตั้งแต่ก่อนโควิด ดูได้จากมูลค่าค้าปลีกออนไลน์เติบโตจาก 4.61 แสนล้านหยวน ในปี 2010 ใช้เวลาเพียง 10 ปี ทะลุหลัก10 ล้านล้านหยวน เมื่อปี 2020 ซึ่งการค้าปลีกออนไลน์แบบข้ามพรมแดน หรือ Cross Border E-commerce ถือว่าเป็นไฮไลท์ที่สร้างเม็ดเงินต่อการค้าออนไลน์จีนเป็นอย่างมาก เพิ่มขึ้นกว่า 31% สร้างมูลค่า 1.69 ล้านล้านหยวน แม้ปี 2020 จีนเจอโควิดกระทบหนัก
.
การค้าปลีกออนไลน์ หรือ E-commerce จีน ไม่ได้กระจุกอยู่ในเมืองหลวงหรือเมืองใหญ่ของจีนอีกต่อไป แต่หลายปีมานี้ เมืองชั้นรอง Tier 3 และ Tier 4 กลายมาเป็นฐานหลักที่บริโภค จับจ่ายใช้สอยแบบออนไลน์
.
อย่างไรก็ตาม จีนยังคงมีงานต้องแก้ไขอีกเยอะในเรื่องของเศรษฐกิจ อย่างยิ่งการ "Balance" ระหว่างมาตรการการป้องกันและควบคุมโควิดอย่างเข้มงวด จนส่งผลต่อเศรษฐกิจจีนอยู่ไม่น้อย เพราะแม้จีนจะกลับมาเน้นการบริโภคอุปโภค หรือการสร้างเม็ดเงินแบบจีนทำจีนใช้ แต่นอกจีนก็ส่งผลต่อจีนอยู่มาก เป็นงานที่จีนกำลังวางแผนว่าจะจัดสมดุลอย่างไร เมื่อโควิดก็ต้องป้องกัน เศรษฐกิจก็ต้องรักษาบาดแผลที่มี (และมีมานาน ไม่ใช่เพิ่งมีตอนโควิด) และฟื้นฟูตนเองให้ผงาดเป็นมหาอำนาจโลกอย่างที่วาดหวังไว้
#อ้ายจง #เล่าเรื่องเมืองจีน #ชีวิตในจีน
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過6萬的網紅巴打台,也在其Youtube影片中提到,香港今日社論2021年01月26日(100蚊花旦頭) https://youtu.be/SFdZcWZLK_g 請各網友支持巴打台 巴打台購物網址 https://badatoy.com/shop/ 巴打台Facebook https://www.facebook.com/badatoyhk/ 巴...
foreign direct investment 在 Facebook 的最讚貼文
【#Patreon國際關係進階🇭🇰】真是如此,北京何不任由香港自生自滅,何苦大費周章謀劃?隨著中國經濟崛起,香港GDP佔全國比重雖然下降,但中國對香港的依賴,其實不跌反升,因為這是全國唯一被國際社會典章制度承認、行普通法的國際金融中心。中國通過香港引入的外商直接投資(Foreign Direct Investment,FDI),從回歸前的40%,升至現在的約70%,國家越是富有,香港這個最方便的美元集資中心、「走出去」(自行領會)特殊通道,越是國內外兵家必爭之地。近日香港局勢紛擾,阿里巴巴偏偏在這時候來港上市,反映香港尚有不少未被注視的隱藏功能,屬北京不能放棄之列。特別是中美貿易戰開打後,香港更成為中國抗衡美國的經濟利器,戰略角色獨一無二......
⏺全文見Patreon
https://www.patreon.com/posts/53792660
▶️國安法 Vs 普通法:為甚麼商界應該憂慮?
https://www.youtube.com/watch?v=kBt8wGSte94
foreign direct investment 在 美國在台協會 AIT Facebook 的最佳貼文
✨第11屆美台貿易暨投資架構協定(TIFA)會議即將召開!🤝🤝🤝 讓我們一起來了解美台雙邊貿易一些重要的數據。
✅台灣是美國第10大貿易夥伴
✅美國是台灣第2大貿易夥伴
✅2020年美台雙邊貨物貿易總額將近910億美元
✅累計雙邊外人直接投資超過470億美元
✨The 11th Trade and Investment Framework Agreement (TIFA) Council meeting will be taking place soon! 🤝🤝🤝 Let’s get to know some significant facts on U.S-Taiwan trade relations.
✅Taiwan is the United States’ 10th largest trading partner
✅The United States is Taiwan’s 2nd largest trading partner
✅Combined two-way goods trade totaled almost US $91 billion in 2020
✅Cumulative bilateral foreign direct investment reached over US $47 billion
foreign direct investment 在 巴打台 Youtube 的精選貼文
香港今日社論2021年01月26日(100蚊花旦頭)
https://youtu.be/SFdZcWZLK_g
請各網友支持巴打台
巴打台購物網址
https://badatoy.com/shop/
巴打台Facebook
https://www.facebook.com/badatoyhk/
巴打台Youtube Channel:
https://www.youtube.com/channel/UCmc27Xd9EBFnc2QsayzA12g
------------------------------
明報社評
政府首次封區檢測告一段落,各方反應言人人殊,有意見認為勞民傷財、成本效益低,亦有專家認為封區強檢有需要有價值。封區強檢對居民和商戶影響大,難免有怨言有投訴,政府初硎新試,行動也必有可改善之處,總體而言,這次封區處理尚算合格,強檢兩天完成,未生大亂子,至於成效是高是低,則不宜簡單以檢測陽性比率一個數字來衡量,同時也要留意「蘋果與橙不能直接比較」。抗疫戰要因事制宜,一切視乎疫情發展以及現實戰場環境,既無任何情况皆通用的萬靈丹,也毋須斷然排除任何選項。封區強檢有其價值,不應以政治有色眼鏡看待,當局應從今次行動汲取經驗,就何時要強檢、何時要封區,訂下一套合理客觀準則,作為日後行動的參考。
蘋果頭條
截至今日下午,麗港城5座已有10宗確診個案,袁國勇及其團隊今晨到5座視察環境,並與區議員及居民等開會,至中午又再到附近的1期會所,並進入地庫視察。除了戴口罩外,袁教授今日罕有地穿着藍色保護袍現身。袁國勇稱,現時麗港城5座16E、15E、17E等單位都出現病例,其中16E於1月9日曾有家庭聚會,當中一名非住客於聚會後確診,另外麗港城有兩名保安員確診,其中一位家住新填地街,暫時雖然看不到喉管設計有大問題,但不排除確診個案因為共用環境而傳播病毒,又或是大廈出現垂直傳播情況,建議大廈E單位的居民全部撤離。
東方正論
雷聲大雨點小,佐敦在上周末封區近兩日,7,000人強制檢測後,只找到13人染疫,數字未如預期般嚴重,但並不代表疫情可以較為放心,專家指今次成效與普通強制檢測相若,主要是因為事前走漏風聲,無法完成一個完全強檢的效果。漏網之魚擴散各區,強檢大廈與日俱增,昨日連藍籌屋苑也失守,大動作封區空有姿勢,卻未見實際成果。之前強檢大廈不乏公屋及舊樓,基層聚居,衞生條件或未如理想,但爆發10名住客集體染疫的茶果嶺麗港城,卻是老牌藍籌屋苑,住戶多為中產,依然難以幸免,足見疫禍已經遍地開花,無人可以獨善其身。
星島社論
大市氣氛熾熱,內地視頻社交平台快手科技(1024)趁熱招股,招股價較早前市傳再度加價,上限每股一百一十五元,最高集資近四百二十億元,成為今年第一隻集資額超過一百億元的「巨型新股」,同時亦已經超越去年「集資王」京東健康(6618)的近三百一十億元。快手招股價介乎一百零五至一百一十五元,每手一百股,入場費為一萬一千六百一十五點八九元,今日起招股,預計本周五(二十九日)截止招股,下月五日掛牌。快手昨日已經建簿,接受機構投資者「落單」,據路透旗下IFR報道指,國際配售首日已經錄得足額認購。快手全球發售三億六千五百萬股,佔擴大後公司總股本的百分之八點九。
經濟社評
中美發展榮辱互見,內地去年憑藉果斷措施成功抵禦新冠疫情後,持續開放市場,鼓勵外資逐利,結果外國直接投資(Foreign Direct Investment,FDI)金額首壓美國,躍升全球一哥。金融海嘯後,環球呈現歐美衰落、亞太冒起的格局,惟國家主席習近平強調,絕不相信你輸我贏、贏者通吃,聲言會以開放策略,支持經濟全球化。香港一樣要演好傳統駁通中西的橋樑角色,捉緊宏觀機遇。據聯合國最新數據,中國的FDI去年續升4%,至1,630億美元,創下1983年有紀錄以來新高。相反,美國在上任總統特朗普治下則跌足4年,再瀉49%,僅吸引1,340億美元,錯失穩坐數十年的一哥寶座。
foreign direct investment 在 管碧玲 Youtube 的精選貼文
20140521立法院交通委員會今審查3名NCC委員被提名人,立委管碧玲揭露商業發展研究院特聘研究員杜震華,1995年於聯合國出版的期刊上發表文章Determinants of foreign direct investment in Taiwan Province of China: a new approach and findings,將台灣標為「中國的一省」,然而送致立法院的著作目錄卻擅改題目,未提"Province of China",有隱匿之嫌。杜震華聲稱題名是編輯修改,事先不知情,但承認未去函更正。管碧玲指出,杜震華曾在新黨,還在2000年為文主張台灣與中國組成「中華邦聯」,提醒他若擔任委員,勿讓親中價值影響專業,不要讓中國因素成為NCC揮之不去的陰影。
foreign direct investment 在 Foreign direct investment - Wikipedia 的相關結果
A foreign direct investment (FDI) is an investment in the form of a controlling ownership in a business in one country by an entity based in another country ... ... <看更多>
foreign direct investment 在 Foreign Direct Investment (FDI) - Corporate Finance Institute 的相關結果
Foreign direct investment (FDI) is an investment from a party in one country into a business or corporation in another country with the intention of ... ... <看更多>
foreign direct investment 在 Foreign Direct Investment (FDI) - Investopedia 的相關結果
Foreign direct investments (FDI) are substantial investments made by a company into a foreign concern. · The investment may involve acquiring a source of ... ... <看更多>