Joe:「很多人對於央行們QE的理解,大概就是印鈔救市,實際上的影響是啥,其實也一知半解,以結果論來說,QE是很有效解決經濟和金融的方法,不過央行要具有引導能力,工具用錯方式,那工具就會失效。」
現實上各國央行如何操作資產購買計劃?
首先有一種是固定式的的購買,另外一種則是有彈性的購買。
什麼是固定式的的購買?例如 FED 的第一次量化寬鬆(First Round of Large-Scale Asset Purchases,LSAP1)或者是 ECB 的第一次擔保債券購買計劃(Covered Bond Purchase Program,CBPP1),都是事先設定好一個數量以與一個日期,直接告訴市場會在什麼期間購買多少金額的債券。
延伸閱讀:Federal Reserve Bank of New York:Large-Scale Asset Purchases
FED 第一次量化寬鬆,出處:Federal Reserve Bank of New York:Large-Scale Asset Purchases
什麼是有彈性的購買?像是 ECB 的證券市場計畫(Security Markets Program,SMP)以及 BoE 的商業票據措施(Commercial Paper Facility,CPF)都是非常有彈性的,最近 FED 宣布的無上限QE也屬於這一類,主要目的就是不惜一切代價拯救市場。
在 2009-2016 年的期間,全球央行總共有 18 項不同的資產購買計劃,購買的項目主要是公債,但是還有一些特別的資產例如:企業債、擔保債券(Covered bond)、商業票據,也包含房屋抵押型貸款(MBS)在內的各種資產抵押型貸款(ABS),房地產投資信託(REIT)與 ETF。
國際清算銀行(BIS)在2019年的報告: “Unconventional Monetary Policy Tools: a cross-country analysis” 提供了一個非常好的表格,詳細描述了全球所有央行的資產購買計畫:
出處:Unconventional Monetary Policy Tools: a cross-country analysis
美國聯準會的資產購買計劃買 ETF
從上圖,你可以看到日本央行買了 REIT 以及 ETF,相較之下最近美國 FED 在 2020 年 3 月 23 日做出的二級市場公司信用機制(Secondary Market Corporate Credit Facility,SMCCF)聲明(如下圖),就知道聯準會購買企業債的 ETF 是有跡可循的操作,如果美國企業債市場的流動性不足,購買 ETF 紓解整個市場的緊縮,反而是比較簡單也比較不出問題的方式。
聯準會二級市場公司信用機制,出處:FED-Secondary Market Corporate Credit Facility
資產購買計劃有兩種:QE 和 QQE
在聯準會的文件裡面,資產購買計劃不叫做 QE1、QE2、QE3,上面有提到,聯準會稱為 LSAP1、LSAP2 和 LSAP3,稱為 QE 的其實是 BoE、BoJ 以及瑞典央行,之所以媒體上常全部叫做 QE 的原因,在於最早 2001 年的日本當時就叫做 QE,所以大家就乾脆全部的資產購買計劃通通叫做 QE。事實上,資產購買計劃還能分類為 QE 以及 QQE。
QE(Quantitative easing),所謂的量化寬鬆其實顧名思義就是以數量為目標,例如 2020 年 3 月 17 日,聯準會宣佈成立商業票據資助措施(Commercial Paper Funding Facility,CPFF),就是針對商業票據的量化寬鬆,仔細看新聞稿的話,會發現 FED 有表示一定的金額(100 億美金)來進行CPFF。
QQE(Quantitative and qualitative monetary easing),就是在量化寬鬆以外同時加上質化寬鬆,那麼什麼是質化寬鬆?就是政府設定一個政策目標作為量化寬鬆的方向,例如日本央行在 2016 年設定的 2% 通膨目標。
延伸閱讀:日本銀行-“Price Stability Target” of 2 Percent and “Quantitative and Qualitative Monetary Easing with Yield Curve Control”
廣義上來講,美國聯準會最近無上限 QE 應該也被歸類在 QQE 裡面,因為並非是以一定數量為資產購買計劃的目標,而是以解決短期疫情影響為目標。
量化寬鬆有什麼影響?
QE 之後,最直接的影響就是央行的資產負債表會瘋狂膨脹,最近就看到 FED 的資產負債表抵達史無前例的高了:
聯準會資產負債表,出處:Credit and Liquidity Programs and the Balance Sheet
聽起來好像很可怕,然而以比例來計算的話,FED 目前的資產負債表其實還算安全,可怕的是其他央行,可以看下圖:
出處:Unconventional Monetary Policy Tools: a cross-country analysis
這張圖同樣來自於 BIS 在 2019 年的報告,日本央行以及英國央行的資產負債表在實施 QE 之後,幾乎是膨脹了 90% 左右,日本的 QQE 規模可是高達當年名目 GDP 的 90%,幾乎是傾全國之力來執行 QE 了。相對而言,FED 的 QE 規模以佔 GDP 的百分比來講,從來沒到 BoJ 或 BoE 那麼高。
可能有人會問,還有一個特別高的 SNB,那是怎麼回事?那是瑞士央行,你可以從右圖看到它購買的資產大部份都是外匯,這是當年為了維持 EUR/CHF 的最低匯率才進行的,詳情請參見負利率的文章。
央行的量化寬鬆真的有效嗎?
QE 的成效如何呢?說實在的,大部份央行都覺得成效不錯,至少在實施 QE 的這幾年,我們的確看到全球經濟穩定成長,脫離衰退。然而 FED 則認為俗稱 QE2 的 LSAP2 以及 QE4 的 MEP 相對而言成效不足,至於為什麼會這樣?就留到以後探討未來引導(Forward Guidance)的時候再來講。
其他國家的話,英格蘭央行的四次 QE 表現都不錯;日本央行雖然沒有達到他們理想中的超過 2% 的物價指數成長,然而總體來說,以 GDP 跟通膨的表現來看,至少效果是有出來的;瑞士央行也透過 QE 成功守住他們的匯率保衛戰。因此,政策目標算是都有達成。
然而,QE 沒有負面的影響嗎?事實上還是有的,例如日本央行就發現,市場上日本公債的交易數量以及殖利率的浮動率明顯減少,因為大量的 QQE,自然而然會讓人減少交易日本公債的慾望,長期來看是有可能產生日本公債的流動性問題。
同樣的,瑞典央行也發現市場的流動性以及週轉率有明顯的減少,而英格蘭央行則發現實施 QE 期間,債券價格有錯誤定價的問題,也導致特定債券產生流動性問題。為了解決這些問題,各國央行就使用了 repo 以及未來引導作為配套,來解決債券流動性不足的問題。
那麼,實施 QE 對其他國家的影響呢?當年美國實施 QE 的時候,許多國家其實在資本流入上面都產生了正面的影響。例如 Barroso(2017) 在 “Quantitative easing and United States investor portfolio rebalancing towards foreign assets” 一文中就指出,巴西在美國實施 QE 期間,大概有 50% 左右的資本流入跟美國的 QE 有關。
而香港由於港幣跟美元的聯繫匯率制度,在 2008-2015 之間貨幣儲備量大概增加了 5 倍,且大幅增加了外匯儲備的數量。同樣的,在東南亞四國(印尼、馬來西亞、泰國、菲律賓),比較 2007 年以前的資本流入量跟 2013 年的資本流入量,會發現資本流入也成長了 75%。儘管這些國家也有採取降息的措施,但是在這段期間他們的貨幣對於美元則是強烈升值。
其實當年新台幣兌美元也是有類似的反應, 如果觀察當年央行的資產負債表,會發現台灣的中央銀行在外匯存底也是在當時特別高。2007 年 7 月台灣央行的外匯存底是 2660 億美元,而 2011 年 7 月則是 4000 億美元,在這段期間央行的外匯存底飆升特別快,相對來說到了 2015 年的外匯存底也還維持在 4210 億美元,就不再大幅成長了。
台灣歷年外匯存底,出處:Stock-ai
結論
「資產收購計劃」對於央行來講實在是很好用的招式,然而就像我在一開始所提到的,這個招式需要配合「未來引導」這種透過央行作出承諾的方式來執行,否則威力就會減弱很多,甚至會反過來傷到央行自己。
在如今低利率的環境下,資產購買計劃已經成為了一個主流貨幣政策,因此試圖透過總經分析來投資的人,必須要去了解這一種非典型貨幣政策的成效以及操作方法。我們永遠都可以透過分析其他央行的操作方式,來思考我們關注的央行(例如FED)會怎麼做。
我想,透過這篇文章的介紹,應該能讓讀者明白,認為聯準會降息到零利率之後就沒招了,其實是個錯誤的觀念,因為從日本的經驗來看,聯準會還有很多招數可以用,就算是推出了無上限量化寬鬆,也還沒到盡頭呢!
https://etfs.tw/qe-qqe/?fbclid=IwAR04p7y_e1zq3-29v8JfHzrnohOp_PFaEWYAJcDnn6D13aNvZtGbbihkb18
ecb balance sheet 在 KIM Property Live Facebook 的最佳解答
เข้าใจวิกฤตเศรษฐกิจที่กำลังเกิดทั่วโลกในบทความเดียวต้องอ่านนี้เลยครับ
เขียนดีรู้จริง เจาะลึกต้องเพจนี้เลย
cr. DinoTech5.0
Economics Crisis Trigger : Dollar
.
มีคำกล่าวสุดคลาสสิคคำหนึ่งกล่าวไว้ว่า ‘เงินก็เหมือนกับน้ำ สูบน้ำเข้า ปลาก็ร่าเริง สูบน้ำออก ปลาก็ตาย’ นี่เป็นคำกล่าวที่ไม่ได้เกินจริงแต่อย่างไรในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม หลักฐานที่เห็นได้ชัดและใกล้ตัวคนไทยมากที่สุดคือการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ที่ต่างชาติพากันสูบเงินจากประเทศไทยออกไปอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งต้องปล่อยค่าเงินลอยตัวและภาคธุรกิจค่อยๆ ล้มหายตายจากไปมากมายในช่วงนั้น
.
ส่วนดอลล่าร์ บางคนอาจเห็นมันเป็นเพียงค่าเงินสกุลหนึ่งบนโลกนี้ที่มีความสำคัญมากกว่าค่าเงินอื่นๆ อยู่นิดหน่อยเพราะเป็นค่าเงินของประเทศมหาอำนาจที่ยิ่งใหญ่ที่สุด แต่ความเป็นจริงคือ ในโลกที่เปรียบเงินเสมือนกับสายน้ำนั้น ดอลล่าร์ก็คือสายน้ำสายหลักที่เมื่อพัดไปในทางใด ทางนั้นก็จะเต็มไปด้วยปลาที่เริงร่า ในขณะที่เมื่อสายน้ำที่เรียกว่าดอลล่าร์เหือดหาย เมื่อนั้นเหล่าปลาก็จะมีอาการขาดอากาศหายใจและล้มตายกันไปทีละตัว ดังนั้น ดอลล่าร์จึงเป็นหนึ่งปัจจัยที่มีความสำคัญมากในวงจรของการลงทุน หากเข้าใจดอลล่าร์ จะสามารถเข้าใจเศรษฐกิจภาพใหญ่ได้ชัดเจนมากขึ้น รวมทั้งเห็นโอกาสและความเสี่ยงที่มากับดอลล่าร์ด้วย
.
ประเด็นสำคัญที่สุดที่นักลงทุนควรเข้าใจคือ เมื่อเงินทุนบนโลกใบนี้กำเนิดมาจาก ‘ดอลล่าร์’
.
ดอลล่าร์ เป็นค่าเงินที่มีสิทธิพิเศษหลายอย่าง และหนึ่งในสิทธิพิเศษนั้นคือ สิทธิ์ของการเป็น ‘เงินทุนสำรองระหว่างประเทศ’
.
แล้วสิทธิ์นี้มันสำคัญไฉน ??
.
ก่อนจะรู้ว่าสิทธิ์ของการเป็นเงินทุนสำรองระหว่างประเทศมันสำคัญอย่างไร เราต้องมาเข้าใจหลักการการสร้าง Supply ของเงินในระบบ หรือพูดให้ง่ายเข้า Supply ของเงินในระบบก็คือสภาพคล่องของเงินที่ถูกสร้าง หรือพิมพ์ เข้ามาในระบบ ให้พวกเราได้ใช้กัน
.
เรื่องนี้ แม้มันอาจจะรู้สึกเหมือนสลับซับซ้อน แต่ความจริงแล้วมันไม่ได้ซับซ้อนอะไรมาก หากจะพูดเรื่องการสร้างสภาพคล่องของเงินในระบบ (Money Supply) มันก็คือการที่ธนาคารกลางในแต่ละประเทศ ไปซื้อทรัพย์สินที่มีความสามารถในการเป็นเงินทุนสำรองระหว่างประเทศ ซึ่งหลักๆ ก็คือ พันธบัตรรัฐบาลสหรัฐ หรือดอลล่าร์ เข้ามาวางเป็นเหมือนหลักทรัพย์ค้ำประกัน จากนั้นค่อยพิมพ์เงินสกุลท้องถิ่นออกมาตามปริมาณเงินทุนสำรอง ในกระบวนการนี้ เราเรียกปริมาณเงินก้อนนี้ว่า M0 (M Zero)
.
จาก M0 ซึ่งเป็น Supply เงินก้อนแรก เมื่อไหลเข้ามาสู่ระบบเศรษฐกิจผ่านธนาคารพาณิชย์ ไหลมายังบริษัทเอกชนขนาดใหญ่ จวบจนกระทั่งถึงมือรายย่อยซึ่งเป็นประชาชนทั่วไป การที่เงินเปลี่ยนมือจากสถาบันหนึ่งไปอีกสถาบันหนึ่ง จากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่ง กระบวนการนี้ในระบบเศรษฐกิจเรียกว่าการหมุนของเงิน ยิ่งเงินมีการเปลี่ยนมือ มีการหมุนเร็วเท่าไหร่ มันยิ่งทำให้สภาพคล่องทางการเงิน หรือ Supply ของเงิน ใหญ่โตมากขึ้น และทำให้เศรษฐกิจประเทศโดยรวมเติบโตได้มากขึ้นผ่านสภาพคล่องทางการเงินที่ใหญ่ขึ้น
.
เรื่องนี้กำลังบอกอะไรเรา ??
.
จากกระบวนการการสร้างสกุลเงินท้องถิ่นที่เล่ามาข้างบน แปลว่า หากต้องการพิมพ์เงินสกุลท้องถิ่นขึ้นมา คุณต้องมีดอลล่าร์มาหนุนอยู่ข้างหลัง ถ้าไม่มีดอลล่าร์ จะไม่เกิด M0 ไม่เกิด M0 แปลว่าไม่เกิดเงินสกุลท้องถิ่น ถ้าเปรียบกับสมัยก่อน เงินสกุลท้องถิ่นใช้ทองคำเป็นสินทรัพย์หนุนหลัง แต่ปัจจุบัน ดอลล่าร์กลับกลายเป็นสินทรัพย์หนุนหลังที่ได้รับความนิยมมากที่สุด จากสาเหตุนี้นี่เอง หากจะพูดว่า เงินสกุลท้องถิ่นบนโลกนี้ถือกำเนิดจากดอลล่าร์ก็คงจะไม่ผิดนัก
.
นอกจากนี้ Supply หรือสภาพคล่องของดอลล่าร์ เมื่อถูกผูกติดกับสภาพคล่องของเงินสกุลท้องถิ่นประเทศต่างๆ บนโลก จึงกลายเป็นว่า หากสภาพคล่องดอลล่าร์สูง สภาพคล่องเงินท้องถิ่นก็ย่อมสูงตามไปด้วย ในทางกลับกัน เมื่อสภาพคล่องดอลล่าร์ต่ำลง สภาพคล่องเงินท้องถิ่นก็ย่อมต้องตกต่ำลง
.
อีกทั้งสภาพคล่องของดอลล่าร์ยังส่งผลต่อค่าเงินสกุลท้องถิ่นต่างๆ บนโลกอย่างหลบเลี่ยงไม่ได้ เพราะเมื่อสภาพคล่องดอลล่าร์ต่ำลง ดอลล่าร์ที่อยู่ภายนอกสหรัฐก็ย่อมต้องถูกโยกย้ายกลับบ้านเพื่อมาทดแทนเม็ดเงินที่หายไป ดอลล่าร์หายากขึ้นและมีราคาแพงขึ้น ในขณะที่ประเทศอื่นๆ ที่อยู่บน Dollar Ecosystem ยังคงต้องการใช้ดอลล่าร์เพื่อเป็นเงินทุนสำรอง รวมทั้งใช้ในการซื้อขายแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ การที่ดอลล่าร์แพงขึ้นจึงกระทบกับการเติบโตของประเทศอื่นๆ ทันที ด้วยปัจจัยพื้นฐานเพียงเท่านี้ก็ทำให้ราคาค่าเงินประเทศอื่นๆ อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับดอลล่าร์ได้แล้ว
.
หรือหากจะเปรียบให้เห็นภาพชัดๆ ก็อาจจะเปรียบได้ว่า เมื่อประเทศสหรัฐเป็นผู้ส่งออกดอลล่าร์ไปสร้างความเติบโตให้ประเทศอื่นๆ ในทางกลับกัน ยามที่สหรัฐทวงดอลล่าร์คืน ก็ย่อมเป็นช่วงเวลาที่ประเทศอื่นๆ ต้องประสบกับการถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างช่วยไม่ได้นั่นเอง
.
เมื่อเราเข้าใจถึงความสำคัญของความมีอยู่และสภาพคล่องของดอลล่าร์แล้ว สิ่งที่เราควรจะรู้เพิ่มเติมต่อไปก็คือ แล้วมีปัจจัยอะไรบ้าง ที่จะส่งผลต่อปริมาณดอลล่าร์ นักลงทุนหลายสำนักใช้เงื่อนไขสภาพคล่องของดอลล่าร์ในการกำหนดยุทธศาสตร์การลงทุน คนไทยมักได้ยินคำว่า ‘Fund Flow’ หรือ เงินลงทุนจากต่างชาติ เงินเหล่านี้คือเงินร้อนที่พร้อมจะมาและพร้อมจะไปบนการหากำไรจากตลาดเงินตลาดทุนในประเทศต่างๆ แน่นอนว่าการแข็งค่าและการอ่อนตัวของดอลล่าร์เป็นปัจจัยหนึ่งในขนเงินเข้าและขนเงินออก ซึ่งมีผลโดยตรงกับราคาทรัพย์สินในตลาดเงินและตลาดทุน
.
ปัจจัยแรกที่ส่งผลต่อสภาพคล่องดอลล่าร์คืออัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยเป็นเครื่องมือทางการเงินสำหรับเพิ่มและลดสภาพคล่องในระบบอยู่แล้ว ยามที่เศรษฐกิจดี มีความร้อนแรงมากเกินไป รัฐบาลควรยับยั้งความร้อนแรงนั้นๆ เพราะหากเศรษฐกิจร้อนแรงเกินไปอาจนำมาซึ่งความชะล่าใจและการก่อหนี้ไม่มีที่สิ้นสุด การเพิ่มอัตราดอกเบี้ยทำให้ค่าใช้จ่ายทางการเงินเพิ่มขึ้นทันที และคนเริ่มหันมาให้ความสนใจพันธบัตรรัฐบาลที่มีดอกเบี้ยสูงขึ้น การที่บริษัทมีค่าใช้จ่ายมากขึ้นก็ดี หรือคนทั่วไปหันมาเก็บเงินในพันธบัตรมากขึ้นก็ดี เหล่านี้ล้วนเป็นการดูดเงินออกมาจากกระเป๋าตังค์ภาคส่วนต่างๆ ทำให้สภาพคล่องในระบบมีขนาดลดลง เป็นการลดความร้อนแรงของเศรษฐกิจได้ ดังนั้น เมื่อธนาคารกลางสหรัฐออกนโยบายขึ้นอัตราดอกเบี้ย จึงแปลความหมายได้ว่าสภาพคล่องกำลังถูกดูดออกจากระบบ และดอลล่าร์ควรจะค่อยๆ มีความตึงตัวมากขึ้น
.
อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมา แม้สหรัฐจะใช้นโยบายขึ้นอัตราดอกเบี้ย แต่ดอลล่าร์ในระบบกลับไม่ได้ตึงตัวอย่างที่ควรจะเป็น สาเหตุเพราะหลังจากสหรัฐประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ย ยุโรปก็ประกาศต่อว่าจะเป็นผู้ทำ QE และกำหนดนโยบายดอกเบี้ยติดลบ ด้วยเหตุนี้ เงินลงทุนจากยุโรปจึงหันไปหาพันธบัตรสหรัฐอเมริกาอย่างพร้อมเพรียง เพราะสุดท้าย การลงทุนก็ย่อมต้องหวังผลตอบแทน การที่ยุโรปพิมพ์เงินและใช้นโยบายดอกเบี้ยติดลบเป็นการผลักเงินลงทุนจำนวนมากในยุโรปไปยังสหรัฐทันที ความท้าทายคือ โปรแกรมการพิมพ์เงินของธนาคารกลางยุโรป (ECB) กำลังจะสิ้นสุดลงในปีนี้ ถ้าดอลล่าร์ยังคงแข็งค่าอย่างต่อเนื่องและมีความตึงตัวเพิ่มมากขึ้น กลุ่มประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะในกลุ่ม Emerging Market (กลุ่มประเทศเกิดใหม่ - EM) จะทนรับมือการไหลออกของดอลล่าร์ได้ถึงขนาดไหน
.
นอกจากนั้น ปัจจัยที่จะเพิ่มและลดสภาพคล่องของดอลล่าร์ ก็มีเรื่องของนโยบายการเพิ่ม หรือลด ขนาดของงบบัญชีธนาคารกลาง หรือที่เราได้ยินบ่อยๆ ในข่าวเกี่ยวกับการลดบาลานซ์ชีท (Balance Sheet) ก่อนหน้านี้ งบบัญชีธนาคารกลางบวมขึ้นอย่างรวดเร็วเพราะนโยบายการทำ QE หรือ การพิมพ์เงินเพิ่ม เพื่ออัดฉีดสภาพคล่องในระบบ ในช่วงเวลานั้นเราจะเห็นได้ชัดว่า สินทรัพย์ทั่วโลกมีราคาสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เศรษฐกิจทั่วโลกเจริญเติบโต เพราะดอลล่าร์จำนวนมหาศาลที่ธนาคารกลางสหรัฐพิมพ์ใส่เข้ามา ทำให้เหล่าปลาทั้งหลายมีความร่าเริงเป็นอันมาก ตลาดหุ้นทั่วโลกร้อนแรงขึ้นทันตาเห็น
.
แต่เมื่อในขณะนี้ ธนาคารกลางกลับจะลดขนาดของงบบัญชี แปลได้ว่าธนาคารกลางจะไม่เติมเงินกลับเข้าไปในระบบอีก แม้พันธบัตรรัฐบาลและเอกชนที่อยู่ในมือธนาคารกลางสหรัฐจะหมดอายุ แต่ธนาคารกลางจะไม่กลับเข้าไปซื้อใหม่ ทำให้ขนาดของทรัพย์สินที่ธนาคารกลางสหรัฐถือไว้ค่อยๆ เล็กลงเรื่อยๆ และการที่เจ้าของพันธบัตรต้องหาผู้ซื้อรายใหม่มาทดแทน ก็เป็นการดูดสภาพคล่องของเงินในระบบออกไปอย่างแนบเนียน
.
อีกหนึ่งปัจจัยที่น่าสนใจคือการดำเนินนโยบายขาดดุลการค้าของสหรัฐอเมริกา นี่เป็นวิธีในการส่งออกดอลล่าร์วิธีหนึ่ง หากสหรัฐดำเนินนโยบายขาดดุลการค้า แปลว่าประเทศอื่นย่อมได้กระแสดอลล่าร์กลับไปสร้างเศรษฐกิจให้เติบโต ขับดันตัวเลข GDP ในประเทศนอกสหรัฐให้สูงขึ้น พลอยทำให้ตลาดเงินตลาดทุนภายนอกสหรัฐมีความคึกคักและเติบโตขึ้น เรียกให้นักลงทุนไปลงทุนในประเทศอื่นๆ ที่ไม่ใช่สหรัฐ
.
ในทางกลับกัน เมื่อสหรัฐมีความต้องการดำเนินนโยบายเกินดุลการค้า แปลว่ากระแสของดอลล่าร์ถูกดูดให้กลับประเทศผ่านการค้าที่เกินดุล เป็นการดูดสภาพคล่องจากกลุ่มประเทศภายนอกสหรัฐ พลอยทำให้นักลงทุนพากันย้ายเงินลงทุนจากประเทศอื่นๆ กลับสู่ประเทศสหรัฐอเมริกาไปด้วย
.
บน Dollar Ecosystem ที่โลกของเราใช้กันมานานถึง 100 ปี โลกเราเกิดวิกฤติเศรษฐกิจกันมาแล้วนับครั้งไม่ถ้วน ไม่ว่าจะเป็นลูกเล็กหรือลูกใหญ่ แต่สิ่งที่เกิดซ้ำไปซ้ำมาตลอดเวลาคือ ทุกครั้งที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ มันคือช่วงเวลาที่ดอลล่าร์ไหลออกจากประเทศใดประเทศหนึ่งอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าสาเหตุของการไหลออกของดอลล่าร์มันคืออะไร แต่การไหลออกของดอลล่าร์ย่อมแปลได้ว่าความมั่งคั่งที่อยู่ในตลาดเงินตลาดทุน และความมั่งคั่งของรัฐบาล รวมไปถึงภาคเอกชน ถูกรีดออกไปในนามของดอลล่าร์ เพราะเหตุนี้ ทุกครั้งที่เกิดวิกฤติ การกลับของเศรษฐกิจมักขึ้นอยู่กับการปรับโครงสร้างหนี้ หรือการขายสินทรัพย์ภายในประเทศ เพื่อแลกกับเงินใหม่ สภาพคล่องใหม่ ที่จะกลับมาเติมให้กับระบบ ซึ่งทุกครั้งมักมาในรูปของการช่วยเหลือผ่าน IMF ที่มีเงื่อนไขต่างๆ มากมาย
.
และเหตุการณ์เหล่านี้ก็เกิดขึ้นวนไป ซ้ำแล้วซ้ำเล่า เหมือนเข็มนาฬิกาที่เดินวนเป็นวงกลมซ้ำๆ อยู่ที่เดิม
.
Mei
.
#Dinotech #Dollar #MacroEconomics #Crisis
ecb balance sheet 在 不負責任金融研究中心 Facebook 的最讚貼文
09/05/2017:不負責任感想
文:梧杞杬
最近呢幾個月忙緊搞啲新嘢(finance but not speculation-related),所以除咗平時月底嘅放鬆之旅之外,有時候都要去見吓人同埋應酬吓,nowadays I'm really living up to the name--「不負責任」,喺香港嘅時間越嚟越少(都唔可以成日靠賴叔啦)。所以如果其他有料之人想搵個竇寫嘢嘅話,不妨可以考慮吓呢度。
唉,老實講,香港呢個地方真係越嚟越唔適合人住,可以嘅話真係想搬去上海或者台北住囉,但係老實講,講機會中港台嘅話始終係香港最多而且相對嚟講最容易嘅......
Anyway,呢篇都係諗住hea寫,不喜勿插啦屌。
其實最近都同唔少嘅朋友行家私底下討論過,2017年開始到而家,亞洲升得最撚勁嘅其中兩隻貨幣竟然係韓圜同台幣(在下個個月去台北所以特別feel到),所以好自然咁就梗係會睇吓呢兩個market啦。台灣央行嘅monetary policy基本上係跟南韓嘅(咁係direct competitor嘛,跟機好撚正常),所以如果齋講股票嘅話,其實台灣股市入面都不乏dividend同growth play(南韓growth play多,dividend play少啲)--又可以收息兼又可以賺匯水,所以其實台灣股市今年年初開始都破嗮頂(話嗮都打橫行咗好撚柒多年)。咩股票係dividend play咩係growth play在下就唔講啦,大家只要做吓功課就好容易搵到出嚟。不過大家要記得嘅係台灣同南韓都有收股息稅。
講吓大六。前一兩年唔知係因為dumb money多得滯定點啦,當時只要你有tech-related嘅project嘅話(尤其係Fintech),要攞funding簡直容易過去香檳大廈搵蝦條。咁而家香檳大廈都摺咗啦,而同時間大六嘅tech project亦都唔已經唔係好似以前咁咁容易搵到funding。在下最近發現嘅係,Fintech類嘅project其實仲有好多,不過係唔係quality就見人見智。其實如果有朋友幫過腦細執數搞IPO都應該會發現,特別係呢一兩年又大六嘔出嚟嘅好project數量越嚟越少,但係爭生意嘅人越嚟越多,咁咪即係個市而家得返一大堆爛橙(老實講好嘅project都唔論到普通街外人有得玩),但係爭爛橙嘅人就與日俱增。淋病選特首之前竟然仲有人放風話7月1號之後SFC阿頭要換人,在下心諗如果真係咁嘅話,香港財金界呢三五年最引以為傲嘅「啤殼」業真係成行摺鳩埋都唔掂。
又咁講啦,啤細殼股嘅莊家其實一直以嚟都有,就等於你永遠都會聽到身邊總有人炒細價股發咗達一樣。呢啲嘢有demand就自然有supply(都唔撚洗在下講個demand來自邊度囉可),只要一日仲有demand就會有supply(以後仲可能會再貴啲添)。而喺呢個有兵亦有賊嘅世界入面,當賊玩得太過份嘅時候,兵就會做嘢;話說當年因為某隻8字頭炒得太癲上嗮報紙而激發到SFC收緊GEM仔條例,所以之前有線單嘢出咗街之後在下其實有理由相信收緊主版啲例其實只係時間問題。喺可見嘅未來,相信啲股仔會越嚟越難玩,而且刁structure應該會越嚟越複雜。
唔講呢啲。
法國大選總算完滿落幕,而FOMC亦都暗示咗呢一兩個月嘅data只係幻覺嚟架啫,imply緊六月應該會再加多次息。香港跟唔跟機在下講咗N咁多次亦唔想再多講(每隔幾個月就攞返呢啲嘢出嚟翻炒,你唔悶在下都覺得悶撚死),反而在下想講嘅係--其實當呢個加息週期再維持過多一年嘅時候,美元其實好難唔強勢。咁當然啦,interest rate differential呢樣嘢係相對嘅,唔想美元強勢而其他貨幣轉弱,咁咪大家一齊加息囉(咁有無條件加就係另外一個問題啦)。
而且,FOMC而家嘅討論點已經唔係if或when或how much嘅問題,而係佢地喺未來嘅時間入面點樣去縮返自己個balance sheet。咁縮balance sheet嘅話就無可避免要減低monetary base架囉喎,即係所謂嘅收水。在下認為收唔收已經係FOMC嘅討論點,值得討論嘅係個balance sheet可以俾佢地縮到幾多。同時間大家睇吓歐洲嗰邊,雖然絕對唔可以話有recovery,但係亦已經唔再係谷底,在下推算嘅係其實ECB亦真係會有可能會部署喺未來一兩年內加息收水。而日本,最近嘅labour market situation亦見有所收緊。即係話,用年嘅時間去計嘅話,全世界最大嗰三間央行其實真係會收水的。咁呢啲經濟週期嘅嘢一定會有循環架喎,而家連人行都想諗藉口夾返高啲利息啦。尋日FT先講完話World Bank出咗份report話其實大六嘅影子銀行規模不跌反升,所以最近人行先係咁放風話要deleverage。
今日傍晚無啦啦條街係咁瘋傳大江又可能會東去,都唔撚知第幾次肛交棒,呢啲嘢在下都係奉勸大家咪諗咁多,聽吓就算,到時係真嘅先再算。不過話時話,今年係十九大,應該又勁撚多呢啲似是而非嘅政治動作。在下相信呢啲嘢唔會郁到個市嘅又,不過肯肯定嘅係花生價格肯定會大升。
最後,而家Trump捱過咗100日,而之前講嘅競選承諾亦開始續忽續忽成型(玩完Obamacare就玩tax reform),在下依然最擔心呢條友嘅地方係佢究竟會喺未來呢一兩年點樣樣玩啲trade policies,因為呢樣嘢就真係有可能郁到全世界嘅經濟(注意唔係講股市)。Economic forces係郁得好撚慢嘅,不過其實若然未到就只係時辰未到架姐,而當時辰到嘅時候,無乜嘢可以阻到佢。
而在下覺得恆指而家嘅問題係咩:就係而家H股開始連A股都唔係好跟,咁當一個市場本身已經無咩fundamentals可以睇嘅時候,究竟仲有啲咩可以用嚟做benchmark?而且大家要留意嘅係,其實港匯陰啲陰啲已經跌到7.785;同埋,無論係VHSI定係VIX都好,都已經跌到去一個十分低嘅位,即係暗示咗其實個市已經側埋咗一邊。嗱在下唔係話短其內一定會出咩事,不過可以肯定講嘅係--假如以後有咩事發生嘅時候,一定會人踩人咁解啫。
9up完。
ecb balance sheet 在 What's on the balance sheet of the ECB? - YouTube 的美食出口停車場
... <看更多>