กรณีศึกษา BBIK กับการเป็น IPO คอนซัลต์ดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันตัวแรกของไทย
Bluebik x ลงทุนแมน
ถ้าถามว่าปัจจัยที่ 5 ในการดำเนินชีวิตยุคนี้คืออะไร
หนึ่งคำตอบของใครหลายคนก็คือ เทคโนโลยีดิจิทัล
ปัจจุบันคนไทย 70% ของประเทศกำลังใช้งานอินเทอร์เน็ตเฉลี่ยเกือบ 9 ชั่วโมงต่อวัน
สูงเป็นอันดับที่ 9 ของโลก
ผลที่ตามมาคือ ฐานข้อมูลจำนวนมหาศาลที่เรียกว่า Big Data
รวมทั้งพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปอยู่บนโลกออนไลน์มากขึ้นเรื่อย ๆ
ทำให้ผู้ประกอบการหลากหลายอุตสาหกรรมต่างต้องปรับตัวครั้งใหญ่ เพื่อตามทันโลกดิจิทัล
เรื่องนี้กำลังเป็นโอกาสทางธุรกิจครั้งใหญ่ของกลุ่มธุรกิจเทคโนโลยีดิจิทัล
หนึ่งในนั้นคือ Bluebik องค์กรเล็ก ๆ ที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จขององค์กรขนาดใหญ่ใน SET 100 และ SET 50
เช่น กลุ่มธนาคารพาณิชย์, กลุ่มธุรกิจประกัน, กลุ่มค้าปลีก และกลุ่มสื่อสาร
เพื่อช่วยให้สามารถแข่งขันได้ และผลักดันให้เกิดการเติบโตในระยะยาวได้
โดยล่าสุด Bluebik กำลังจะ IPO ในชื่อ BBIK (อ่านว่า บี-บิก) ในตลาดหลักทรัพย์ MAI
ซึ่งจะกลายเป็น บริษัทที่ปรึกษาด้าน Digital Transformation ตัวแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อีกด้วย
ความน่าสนใจของธุรกิจนี้ จะเป็นอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
Digital Transformation เป็นอีกหนึ่งคำคุ้นหูในช่วงเวลานี้
ซึ่งก็คือ การเปลี่ยนแปลงองค์กรแบบพลิกโฉมด้วยเทคโนโลยี เพื่อเข้าสู่โลกดิจิทัล
หลายองค์กรมักจะจ้างที่ปรึกษาหรือ Consulting Firm เข้ามาช่วยดูแล
ซึ่งก็แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ๆ คือ
- ที่ปรึกษาด้านการวางกลยุทธ์ในระดับผู้บริหารหรือ C-Level
ส่วนใหญ่จะเป็นบริษัทที่ปรึกษามีชื่อเสียงระดับโลก เช่น McKinsey, BCG
มักจะมีค่าใช้จ่ายสูง เน้นบริการด้านกลยุทธ์ แต่อาจจะขาดการให้คำปรึกษาด้านการดำเนินการ
- ที่ปรึกษาด้านการดำเนินการ ส่วนใหญ่จะเป็นธุรกิจสัญชาติไทย
ที่มีความเชี่ยวชาญในงานระบบเฉพาะด้านตามความต้องการของลูกค้า
แต่ปัญหาก็คือ มักจะขาดความเชี่ยวชาญด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์
สังเกตไหมว่าตลาด Consulting Firm กำลังมีช่องว่างที่น่าสนใจเกิดขึ้น
และนั่นจึงเป็นที่มาของ Bluebik หรือก็คือ บริษัท บลูบิค กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
ธุรกิจที่ปรึกษาด้าน Digital Transformation ครบวงจร ที่มีบริการ 5 ด้าน ตั้งแต่ต้นน้ำไปยังปลายน้ำเรียกว่า End-to-End Consulting Firm เป็นเจ้าแรกในประเทศไทย
แล้วบริการ 5 ด้านแบบ End-to-End Consulting Firm ของ Bluebik น่าสนใจอย่างไร ?
1. ที่ปรึกษาด้านกลยุทธ์และการจัดการ หรือ Management Consulting
เช่น กำหนดทิศทางกลยุทธ์ธุรกิจ, ค้นหาปัจจัยความสำเร็จทางธุรกิจ, กลยุทธ์สร้างมูลค่าเพิ่ม
2. ที่ปรึกษาด้านการบริหารจัดการโครงการเชิงยุทธศาสตร์ หรือ Strategic PMO
เช่น บริหารโครงการขนาดใหญ่, วางโครงสร้างระบบไอทีภายในองค์กร
3. ที่ปรึกษาด้านการพัฒนาระบบดิจิทัลและให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยี หรือ Digital Excellence and Delivery
เช่น การออกแบบประสบการณ์ของผู้ใช้งานและส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้กับระบบ (UX/UI) บนหน้าเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน
4. ที่ปรึกษาด้านการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ และการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงด้วยปัญญาประดิษฐ์ หรือ Big Data & Advanced Analytics เช่น การวางโครงสร้างพื้นฐานข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ด้วย AI
5. ให้บริการทรัพยากรบุคคลชั่วคราวด้านไอที หรือ IT Staff Augmentation เช่น พนักงานที่มีความเชี่ยวชาญด้านไอทีอย่างโปรแกรมเมอร์ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
พูดง่าย ๆ ว่า Bluebik มีบริการครบถ้วนที่จะเปลี่ยนแปลงองค์กรสู่โลกดิจิทัลได้ทุกรูปแบบ
สะท้อนถึงความเป็นมืออาชีพตัวจริงในวงการที่ปรึกษาด้าน Digital Transformation นั่นเอง
ที่สำคัญไม่เพียงจะมี “รูปแบบบริการ” ครบถ้วนทุกขั้นตอนตอบโจทย์ยุค Digital Economy
แต่ Bluebik ยังมี “บุคลากรทำงาน” ที่เป็นตัวจริงในวงการธุรกิจ อีกด้วย
เราจึงเห็น “บอร์ดบริหาร” ล้วนเป็นแนวหน้าหลากหลายธุรกิจชั้นนำของประเทศไทย เช่น
- คุณธนา เธียรอัจฉริยะ ซึ่งเป็นที่ปรึกษาของธนาคารไทยพาณิชย์ และบริษัทในเครือ SCB 10X
- คุณครรชิต บุนะจินดา ซึ่งเป็นกรรมการธุรกิจค้าปลีกชั้นนำ เซ็นทรัล, โรบินสัน
- คุณชลากรณ์ ปัญญาโฉม ซึ่งเป็นกรรมการธุรกิจสายงานดิจิทัลทีวีชั้นนำ เวิร์คพอยท์
- คุณวศิษฐ์ กาญจนหัตถกิจ ซึ่งมีประสบการณ์ด้านธุรกิจสินเชื่อรายย่อย ศรีสวัสดิ์
- คุณพงศ์สุข หิรัญพฤกษ์ ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านธุรกิจสื่อมากกว่า 20 ปี
รวมทั้ง “ทีมผู้บริหารและพนักงาน” ซึ่งเป็นคนรุ่นใหม่ไฟแรง อายุน้อย แต่มากประสบการณ์
จากธุรกิจที่ปรึกษาชั้นนำระดับโลกกว่า 100 คนมารวมกัน
ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญ ที่จะสร้างความน่าเชื่อถือ และความมั่นใจให้กับลูกค้าได้
จึงไม่แปลกใจที่กลุ่มลูกค้า Bluebik ล้วนเป็นธุรกิจยักษ์ใหญ่ใน SET 100 และ SET 50
เช่น กลุ่มธนาคารพาณิชย์, กลุ่มธุรกิจประกัน, กลุ่มค้าปลีก และกลุ่มสื่อสาร
โดยล่าสุด Bluebik ยังได้ร่วมทุนกับ OR ในเครือธุรกิจ ปตท.
จัดตั้งธุรกิจ ORBIT Digital ที่มีทุนจดทะเบียน 50 ล้านบาท
โดยมีสัดส่วนหุ้น Bluebik : OR เท่ากับ 60:40
เป้าหมายก็เพื่อก้าวทันโลก ต่อยอดธุรกิจที่จะสร้างรายได้เติบโตในยุค Digital Economy อีกด้วย
มาถึงตรงนี้ จะเห็นได้ว่า Bluebik เป็นอีกหนึ่งดวงดาวจรัสแสง
ที่ครบถ้วนด้วยบริการเต็มรูปแบบ พร้อมด้วยบุคลากรทำงานคุณภาพ
และกำลังเดินเคียงข้างองค์กรธุรกิจชั้นนำของประเทศไทยสู่ Digital Transformation
แล้วผลประกอบการ Bluebik เป็นอย่างไร ?
ปี 2561 รายได้รวม 133 ล้านบาท กำไรสุทธิ 19 ล้านบาท
ปี 2562 รายได้รวม 185 ล้านบาท กำไรสุทธิ 32 ล้านบาท
ปี 2563 รายได้รวม 201 ล้านบาท กำไรสุทธิ 44 ล้านบาท
ส่วนในช่วง 6 เดือนแรกของปีนี้ มีรายได้จากการขายและบริการ 126.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 39.47% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และกำไรสุทธิ 30.06 ล้านบาท คิดเป็นอัตราทำกำไรสุทธิที่ 23.67%
จะเห็นได้ว่า Bluebik มีรายได้และกำไรสุทธิเติบโตอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ ยังมีงานในมือ (Backlog) 161 ล้านบาท ที่จะทยอยรับรู้รายได้ภายใน 1-2 ปีนี้
ทั้งนี้ ยังไม่ได้นับรวมรายได้ที่จะมาจาก ORBIT Digital จากการร่วมมือกับ OR อีกด้วย
มาถึงตรงนี้ คงปฏิเสธไม่ได้ว่า เรากำลังเดินทางเข้าสู่โลกดิจิทัลมากขึ้นเรื่อย ๆ
รู้หรือไม่ว่า ตลาด Digital Transformation ในประเทศไทยปี 2564
ถูกคาดการณ์ว่าจะมีมูลค่า 280,000 ล้านบาท และจะขยายตัวเป็น 442,000 ล้านบาทในอีก 4 ปีข้างหน้า
ภายใต้เทรนด์ Digital Transformation ที่กำลังเปลี่ยนโลกนี้เอง
เราจะได้เห็น Bluebik หรือ BBIK หุ้นที่ปรึกษาด้าน Digital Transformation ตัวแรกของประเทศไทย จะนำพาธุรกิจก้าวเข้าสู่ยุคใหม่นี้ได้อย่างสมบูรณ์แบบ
ด้วยจุดเด่นด้านบริการ End-to-End Consulting Firm และทีมบุคลากรคุณภาพระดับผู้บริหาร และระดับบุคลากรทำงาน
ซึ่งโอกาสเติบโตของ Bluebik หรือ BBIK หุ้นที่กำลังจะ IPO ในครั้งนี้ อาจจะกลายมาเป็นธุรกิจยักษ์ใหญ่ ในตลาด Consulting Firm ระดับโลก ด้าน Digital Transformation ก็เป็นได้..
คำเตือน: บทความนี้ไม่ได้เป็นการชี้นำให้ซื้อหรือขายหุ้นนี้แต่อย่างใด การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจลงทุน
Reference
- บทสัมภาษณ์ผู้บริหาร บริษัท บลูบิค กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「data augmentation」的推薦目錄:
- 關於data augmentation 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
- 關於data augmentation 在 台灣物聯網實驗室 IOT Labs Facebook 的最佳貼文
- 關於data augmentation 在 CommonWealth Magazine Facebook 的最佳貼文
- 關於data augmentation 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的精選貼文
- 關於data augmentation 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於data augmentation 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
- 關於data augmentation 在 AugLy: A new data augmentation library to help build more ... 的評價
data augmentation 在 台灣物聯網實驗室 IOT Labs Facebook 的最佳貼文
靠AI訂餐廳、快速做人臉辨識,LINE推出3大商用產品要瞄準那些行業?
2020.12.18 by 高敬原
LINE把過去的兩大AI產品線,整併為「LINE CLOVA」,台灣技術長陳鴻嘉說,2021年將與台灣在地企業合作,把LINE的AI技術應用在產品中。
攤開過去LINE的財報,在金融事業、人工智慧(AI)的策略性投資,帶給LINE不少虧損,許多對外發表的應用與技術,仍離商業落地有段距離,LINE財務長黃仁埈曾表示,這些投資都是為了2~3年後的突破做準備。
經過過去一年的努力,現在LINE終於開始要用AI賺錢了!
過去LINE的AI業務,可以分為針對企業的B2B業務「LINE BRAIN」,以及面向用戶的AI技術品牌「LINE CLOVA」,而今年(2020)LINE 台灣開發者大會(LINE TAIWAN TECHPULSE 2020)上的重要焦點,就是LINE把這兩大AI產品線,整併為「LINE CLOVA」。
更重要的是,這些AI技術不再只是概念,LINE台灣技術長陳鴻嘉表示,2021年將與台灣在地企業合作,把LINE的AI技術應用在產品中,解決使用者生活和商業上的繁瑣問題。
推出三大商用產品,LINE開始要用AI賺錢了
針對台灣市場,LINE將會發展「CLOVA Chatbot(聊天機器人)」、「CLOVA Face(臉部辨識)」、「CLOVA OCR(光學字元辨識)」三大人工智慧商用產品,並推出兩大人工智慧解決方案,分別為LINE eKYC和LINE AiCall。
上述的這些應用,背後用到了NLU(自然語言理解)、Face(臉部辨識)、OCR(光學字元辨識)、STT(語音辨識)等AI技術,事實上,無論是eKYC或是LINE AiCall,這些應用在2019年的LINE日本開發者大會上,都已經對外發布,不過礙於語言、技術等因素,還無法在台灣市場落地應用。
2020 年LINE 台灣開發者大會
LINE技術長陳鴻嘉表示,這次釋出的AI技術,本來就已經存在於LINE團隊當中,「會把技術開放出來,是因為我們發現它有效果,想提供給外部開發者,進一步推廣到台灣市場。」過去一年台灣LINE積極地跟日本總部合作,針對中文資料做蒐集、訓練與調教,才能實現商業應用。
「LINE會跟台灣的技術夥伴合作,以 LINE CLOVA 技術提高商業服務的價值,」陳鴻嘉預告,LINE接下來會推出做出不同領域的應用案例,讓 LINE CLOVA 的應用融入台灣市場,這麼做的好處是,能減輕企業自行開發的負擔,最重要的是,能提供用戶更方便的服務。
技術一:CLOVA 聊天機器人
先前CLOVA聊天機器人,因為無法支援日文以外的語言,技術遲遲無法出海,現在這個障礙終於被打破。
根據LINE統計,使用CLOVA聊天機器人(CLOVA chatbot)的服務,在全球已上線超過44個,所累積的問答資料庫達100萬筆、使用超過1億人次,累積的使用者對話保守估計約有17億之多,豐富的資料庫,讓NLU(自然語言理解)技術成為LINE在人工智慧發展的核心,
CLOVA聊天機器人的優勢在於運用LINE的亞洲市場利基,與豐富資料累積,能更精確地判讀使用者的發話意圖和對話內容,對於辨識相對困難的亞洲語言格外擅長。
不只LINE自己發展人工智慧聊天機器人,LINE也提供Chatbot builder這個平台,讓企業開發者減少耗費訓練成本,更彈性、快速地打造聰明的人工智慧聊天機器人,打造好之後,即使是LINE以外的服務或平台,也可以很容易地與其串接。
以LINE內部來說,已經運用Chatbot builder上線的服務像是LINE官方帳號內的Smart chat(AI自動回應訊息)功能,LINE客服小幫手官方帳號,以及已經完成開發的自動報帳系統,陳鴻嘉表示,CLOVA Chatbot從現在起,正式開放台灣企業夥伴合作洽談。
技術二:CLOVA 臉部辨識
「安全性跟速度,是LINE人臉辨識的主要優勢。」許多科技公司都有佈局人臉辨識技術,陳鴻嘉表示,因為LINE以亞洲作為主要市場,因此在臉部辨識技術具有一定優勢基礎。
「CLOVA Face」具備四大功能,以階段性進行辨識作業,首先透過影像做人臉偵測,接著,會讀取臉部特徵和表情做內部校正,最後,以擷取到的特徵值進行辨識和比對,進一步還可藉由臉部樣貌讀取出更細微的資訊,包含年齡、性別和當下心情。
在今年的LINE 台灣開發者大會上,就是使用「CLOVA Face」技術,在30分鐘內完成上千人次入場報到流程。LINE在去年的日本開發者大會上,首次採用自家的人臉辨識技術,完成報到入場,根據記者實測,不像蘋果的FaceID在辨識時會有需要等一下的感覺,「CLOVA Face」整體的辨識速度非常快,幾乎是人臉瞄準鏡頭的當下就完成,體驗相當好。
陳鴻嘉表示,「CLOVA Face」可用平板、智慧型手機等各種裝置,可以一次辨識多張臉部影像,目前也針對年齡識別、辨識速度進行優化,此外,應用範範圍很廣,像是有些公司就將「CLOVA Face」用在差勤系統上。
技術三:CLOVA OCR
「CLOVA OCR」是將OCR(光學字元辨識)與人工智慧技術結合,透過OCR(光學字元辨識)與資料增強法(Data Augmentation),有效提供辨識結果的準確度,並開發出不同模式的OCR產品,包含文字單元辨識極高的general OCR,以及針對特定樣式和規格的specialized OCR,和操作介面簡易且具有AI運算邏輯的OCR Builder。
其中,在Specialized OCR會主要開發台灣最多使用者需要的樣式,例如:健保卡、車票、發票和身分證,更便利大眾的日常生活;而OCR builder則提供一個介面友善的平台,透過機器深度學習達到區域辨識和文字辨識,讓技術更簡單拓展應用面。更進一步,當OCR技術結合Face(臉部辨識),即能發展出AI解決方案LINE eKYC,提供企業界以更數位的方式辨識用戶身分。
應用一:eKYC
許多公司在提供服務之前,會先要求顧客提供證件等個人資料,這個步驟稱為「認識你的客戶(Know your customer),簡稱:KYC」,目的是為了預防身份盜竊、金融詐騙、洗錢及恐怖主義融資,傳統上會要求用戶透過影印的方式提供,通常需要耗費許多時間。
未來「CLOVA Face」也能用於KYC,像是去年四月,LINE Pay在日本推出eKYC技術,用戶只需要拿著證件面對手機鏡頭,拍一張照片,文件及臉部辨識完成後,就等同完成數位化認證作業,就能使用LINE Pay轉帳。
CLOVA Face自現在起正式開放台灣企業夥伴合作洽談,純網銀LINE Bank也即將開幕營運,陳鴻嘉預告,未來也有機會將「CLOVA Face」技術,應用在純網銀的eKYC流程中。
應用二:LINE AiCall
LINE在去年的日本開發者大會上,正式宣布於日本推出AI訂位技術服務「AiCall(AI訂位技術服務)」,這是一款結合語音識別、聊天機器人和語音合成做自然語言處理(NLP),能以極為自然的方式,跟來電訂位的顧客對話。
NAVER AI部門主管都旻兌(KyoungTae Doh)曾分享,根據內部調查,即便手機網路普及,仍有高達65%民眾在訂位時會優先選擇播打電話,然而訂位過程中,因為雙方溝通不良,有很高的機率導致訂位資訊出錯;加上日本勞動力不足,有許多餐廳業者傾向縮減人力,導致電話訂位成餐廳經營的痛點之一。LINE AiCall的出現,就是希望在餐廳尖峰時段,透過AI協助消費者完成電話訂位登記。
LINE AiCall透過STT(語音辨識)和NLU(自然語言理解)兩項技術結合,擅長辨識日常隨興的對話內容和較長的語句,並且在噪音環境內的辨識能力也相當突出。
陳鴻嘉表示,LINE AiCall在日本大多使用在餐飲業訂位的情境,現在支援中文進軍台灣,同樣看好應用在餐飲業,不過要克服的技術困難仍不少,陳鴻嘉舉例,要在台灣落地應用,必須將LINE AiCall與餐廳的POS系統連結,才能做到同步確認當日訂位狀況,「現正逐步完善技術面,關注台灣餐飲市場的需求,同時徵求試行合作案例,為在台商用做準備。」
附圖:LINE 台灣技術長陳鴻嘉預告,LINE接下來會推出做出不同領域的應用案例,讓 LINE CLOVA 的應用融入台灣市場
2020 年LINE 台灣開發者大會
在今年的LINE 台灣開發者大會上,就是使用「CLOVA Face」技術,在30分鐘內完成上千人次入場報到流程。
ekyc
去年四月,LINE Pay在日本推出eKYC技術。
今年(2020)LINE 台灣開發者大會(LINE TAIWAN TECHPULSE 2020)上的重要焦點,就是LINE把過去的兩大AI產品線,整併為「 LINE CLOVA」。
LINE AiCall
陳鴻嘉表示,LINE AiCall在日本大多使用在餐飲業定位的情境,現在支援中文進軍台灣,同樣看好應用在餐飲業,不過要克服的技術困難仍不少。
高敬原攝影
資料來源:https://www.bnext.com.tw/article/60614/line-techpulse-2020-?fbclid=IwAR3Otjiw-cxkCjwgDOGNTGMfaV-Py07AiZ2G_nVcv9LDOgwkiKmg80CjuUw
data augmentation 在 CommonWealth Magazine Facebook 的最佳貼文
"Leaders should not be fearful of embracing managerial automation, nor of accepting the power of data and AI to augment their personal effectiveness."
● Is the Age of Management Over?
→ https://goo.gl/6ZWHKW
#management #leadership #data #AI #automation #augmentation #WEF
data augmentation 在 AugLy: A new data augmentation library to help build more ... 的美食出口停車場
Data augmentations are vital to ensure robustness of AI models. If we can teach our models to be robust to perturbations of unimportant attributes of data, ... ... <看更多>