本週三,AIT副處長柯傑民(Jeremy Cornforth)於全球合作暨訓練架構 (#GCTF)「以科技力建構韌性及加速落實永續發展目標」線上國際研討會開幕致詞中強調:「儘管台灣被拒於門外,無法有意義地參與世衛大會及許多其他國際組織,今天的活動將能凸顯台灣仍以許許多多方式分享專長、並運用其科技長才,幫助國際社會解決你我共同面對的種種挑戰。美國會持續致力協助擴大台灣的國際參與空間。」
AIT副處長柯傑民、外交部長吳釗燮、日本台灣交流協會台北事務所代表泉裕泰、美國駐聯合國副大使蒲杰夫(Jeffrey Prescott)及駐紐約台北經濟文化辦事處處長李光章於週三一同參加了全球合作暨訓練架構 (GCTF)「以科技力建構韌性及加速落實永續發展目標」線上國際研討會。自2015年全球合作暨訓練架構啟動以來,這是第一次聚焦探討科技如何能增強韌性並加快實現可持續發展目標的進程。
✅副處長致詞稿請見:https://bit.ly/2Y6NAP8
✅新聞稿請見:https://bit.ly/2Y2aExM
On Wednesday, AIT Deputy Director Jeremy Cornforth, Foreign Minister Joseph Wu, Japan-Taiwan Exchange Association Chief Representative Hiroyasu Izumi, Deputy to the U.S. Ambassador to the United Nations Jeff Prescot and Taipei Economic and Cultural Office in New York Director-General James Lee participated in a virtual Global Cooperation and Training Framework (GCTF) workshop titled “Building Resilience and Accelerating the Sustainable Development Goals (SDG) Through Technology.” Since the GCTF’s 2015 program launch, this is the first event to focus on how technology can bolster resilience and accelerate progress towards meeting the SDGs.
In his opening remarks, Deputy Director Cornforth said, “Although Taiwan is prevented from participating meaningfully in the World Health Assembly and many other international organizations, today’s event will highlight the many ways that Taiwan is sharing its expertise and using its technological prowess to help the international community solve shared challenges. The United States remains committed to expanding Taiwan’s international space.”
✅Deputy Director's remarks: https://bit.ly/3CTcqAs
✅Press release: https://bit.ly/2Y42KEp
同時也有250部Youtube影片,追蹤數超過47萬的網紅Hapa 英会話,也在其Youtube影片中提到,誰かに話しかける際に「ちょっといい?」と一声かけることはよくあると思いますが、英語でも日本語と同様、ある種のお決まりフレーズが存在します。そこで今回は、3つの状況における最も代表的な言い回しをご紹介いたします。 📝今日のレッスンのまとめ📝 =============================...
1 on 1 meeting 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
รู้จัก AUKUS ของสหรัฐ และการโต้กลับด้วย CPTPP ของจีน /โดย ลงทุนแมน
เรื่อง AUKUS เป็นประเด็นใหม่ที่คนทั้งโลกจับตา
สนธิสัญญา AUKUS เป็นข้อตกลงที่สหรัฐฯ และสหราชอาณาจักร จะสนับสนุนการสร้างเรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ให้แก่ออสเตรเลีย
คำว่า AUKUS ย่อมาจาก
Australia (AU)
United Kingdom (UK)
United States (US)
แต่รู้ไหมว่าสนธิสัญญา AUKUS ยังเกี่ยวข้องกับจีน และอาจทำให้เกิดความตึงเครียดในภูมิภาคทะเลจีนใต้ระหว่าง สหรัฐฯ กับ จีน มากขึ้น
เรื่องนี้น่าสนใจอย่างไร ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
สหรัฐฯ และสหราชอาณาจักร อ้างว่า การทำสัญญา AUKUS กับออสเตรเลีย เพราะอยากให้มีความปลอดภัยและสันติภาพ เพิ่มขึ้นในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก
แต่หลายประเทศ เช่น ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย มองว่า สนธิสัญญานี้จะทำลายความสงบสุขในเอเชียมากกว่า เพราะอย่างที่รู้กันคือ สนธิสัญญานี้จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถของกองทัพออสเตรเลีย
การที่ออสเตรเลียได้เรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ในครั้งนี้ ออสเตรเลียจะกลายเป็นประเทศที่ 7 ของโลก ที่มีเทคโนโลยีดังกล่าว
เรื่องทั้งหมดนี้ก็คงเป็นเพราะเหตุผลเบื้องหลังคือ สหรัฐฯ ต้องการคานอำนาจและท้าทายอิทธิพลของจีน ในเขตทะเลจีนใต้
แล้วสำหรับจีน มีมุมมองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไร ?
จีนกล่าวหลังจากทราบเรื่องดังกล่าวว่า สหรัฐฯ นั้นใจแคบ และไร้ความรับผิดชอบ ที่อาจนำพาให้ประเทศอื่นเข้าสู่ยุคสงครามเย็น
และที่ทำให้ทุกคนประหลาดใจ หลังจากการแถลงข่าวเรื่อง AUKUS ได้ 1 วัน รัฐบาลจีนเลยเข้าร่วมข้อตกลงการค้าเสรี CPTPP ในทันที
แล้ว CPTPP คืออะไร ?
CPTPP คือ ข้อตกลงสำหรับประเทศที่อยู่ใกล้เคียงกับมหาสมุทรแปซิฟิก ในประเด็นเรื่อง การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา มาตรฐานแรงงาน และกฎหมายสิ่งแวดล้อม
จริง ๆ แล้ว CPTPP เกิดจากโมเดลของ TPP ที่สหรัฐฯ ออกแบบมา เพื่อกีดกันทางการค้ากับจีนโดยเฉพาะ ดังนั้นหลายคนคิดว่าจีนอาจไม่สามารถปฏิบัติตามข้อกำหนด CPTPP ได้เพราะติดเกณฑ์หลายเรื่องในข้อตกลง
แต่การที่จีนยอมเข้าร่วมข้อตกลง CPTPP นี้ นอกจากจีนจะทำการโต้กลับเรื่อง AUKUS แล้ว จีนคงเห็นอะไรบางอย่างที่จะได้ประโยชน์จากเรื่องนี้
โดยก่อนหน้านี้ ในสมัยที่ดอนัลด์ ทรัมป์ เป็นประธานาธิบดี สหรัฐฯ ได้ออกจากข้อตกลง TPP มาแล้ว ซึ่งการออกจากข้อตกลง TPP ในครั้งนั้นทำให้ขนาดเศรษฐกิจของประเทศทั้งหมดที่อยู่ในข้อตกลง ได้ลดลงจาก 27% ของ GDP โลก มาอยู่ที่ 15%
แต่การเข้ามาของจีนในครั้งนี้ จะทำให้ CPTPP มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็น 30% ของ GDP โลก และมีประชากรรวมเป็น 1,900 ล้านคน หรือ 25% ของประชากรโลกเลยทีเดียว
แต่เรื่องนี้คงต้องติดตามกันอีกยาว ว่าจีนจะเข้าร่วม CPTPP ได้หรือไม่
เพราะตอนนี้หลายประเทศที่อยู่ใน CPTPP ก็ยังคงทำตัวไม่ถูก เนื่องจากในข้อตกลงนี้มีแต่ประเทศที่เป็นมหามิตรของสหรัฐฯ เช่น ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และแคนาดา ในขณะที่ จีนนั้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับสหรัฐฯ อย่างชัดเจน
ซึ่งน่าติดตามว่า พันธมิตรของสหรัฐฯ ในข้อตกลง CPTPP จะคิดเห็นอย่างไร ?
ประเทศสมาชิกใน CPTPP ที่ใกล้ชิดกับสหรัฐฯ โดยเฉพาะ ญี่ปุ่นและออสเตรเลีย มองว่าการเข้ามาใน CPTPP ของจีนเป็นภัยคุกคามต่อภูมิภาคแปซิฟิกมากขึ้น
สำหรับญี่ปุ่นยังมีกรณีพิพาทในทะเลจีนใต้กับจีน และนอกจากนั้นญี่ปุ่นเคยเจรจาเรื่อง CPTPP กับไต้หวันไว้ว่าจะยอมรับเข้าเป็นสมาชิก
ดังนั้นไต้หวันย่อมกังวลว่า ถ้าจีนได้เข้าร่วม CPTPP ไต้หวันจะถูกกีดกันในการเป็นสมาชิกของ CPTPP ในอนาคต
สำหรับออสเตรเลียเอง ก็ยังมีข้อพิพาทกับจีนเช่นกัน
โดยจีนได้เพิ่มอัตราการเก็บภาษีนำเข้าสินค้าจากออสเตรเลีย ซึ่งมีเจตนาเพื่อโต้กลับออสเตรเลีย หลังจากที่ออสเตรเลียเรียกร้องให้จีนออกมารับผิดชอบว่าเป็นต้นเหตุของโรคระบาดโควิด
อย่างไรก็ตาม ญี่ปุ่นและออสเตรเลีย อาจไม่มีอำนาจมากพอที่จะห้ามจีนเข้า CPTPP ได้
แต่ทั้ง 2 ประเทศก็คงใช้วิธีเน้นย้ำว่า จีนต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ CPTPP ให้ได้
ที่น่าสนใจก็คือ พันธมิตรของสหรัฐฯ ที่ยังไม่ได้อยู่ใน CPTPP อย่างสหราชอาณาจักร ก็ต้องการเข้าร่วม CPTPP เพื่อขายสินค้าเกษตรกับประเทศอื่นเพิ่มมากขึ้น หลังไม่มีข้อผูกมัดกับสหภาพยุโรปแล้ว
คำถามต่อไปก็คือ จีนจะปฏิบัติตามเกณฑ์ของ CPTPP ได้หรือไม่
โดยในข้อตกลง CPTPP จะเน้นเรื่องความเป็นเสรี และรัฐบาลต้องไม่ไปอุดหนุนรัฐวิสาหกิจเพื่อบิดเบือนตลาด
ซึ่งเรื่องนี้สอดคล้องกับรัฐบาลจีนเองที่มีแผนจะลดเงินสนับสนุนแก่รัฐวิสาหกิจ และดึงเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อผลักดันให้บริษัททำกำไรและดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ
นอกจากนี้ ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ยังได้ประกาศเข้าร่วมพันธกรณีข้อตกลงปารีส และยุติโครงการสร้างโรงงานถ่านหินในต่างประเทศ เพื่อช่วยลดมลพิษทางอากาศและแก้ปัญหาโลกร้อน
ดังนั้น กฎเกณฑ์ในการเข้าร่วม CPTPP ในประเด็นเรื่องรัฐวิสาหกิจ และกฎหมายสิ่งแวดล้อม ก็อาจจะไม่ใช่เรื่องยากสำหรับจีน
อย่างไรก็ตาม จีนยืนยันว่าการเข้าร่วม CPTPP ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องสนธิสัญญา AUKUS เพราะจีนต้องการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ มากกว่าจะผลักดันให้เกิดสงครามเหมือนสหรัฐฯ
แล้วสหรัฐฯ มีท่าทีอย่างไร หลังจีนต้องการเข้าร่วม CPTPP ?
การร่วมมือของสหรัฐฯ ทางการทหาร ผ่านสนธิสัญญา AUKUS อาจไม่พอที่จะหยุดอำนาจของจีนในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก เพราะสหรัฐฯ ยังขาดบทบาทการเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจในเอเชีย
ซึ่งนักธุรกิจ และสมาชิกในสภาคองเกรส ต้องการให้สหรัฐฯ กลับเข้ามาเป็นสมาชิก CPTPP ก่อนประเทศจีน เพื่อลดกำแพงภาษี และรองรับการเป็นสมาชิกของไต้หวันก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินไป
แต่ประธานาธิบดีโจ ไบเดน อาจจะไม่เข้าร่วม CPTPP ในทันที จนกว่าการปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศ หรือนโยบาย “Build Back Better” จะสำเร็จเสียก่อน
ซึ่งนโยบายนี้ กีดกันทางการค้าและเทคโนโลยีกับจีนในทางอ้อม ด้วยการส่งเสริมการใช้วัตถุดิบในประเทศและใช้สินค้าที่ผลิตโดยคนอเมริกัน
ซึ่งดูเหมือนว่า สงครามการค้า หรือ สงครามเทคโนโลยี ระหว่างสหรัฐฯ และจีน ตั้งแต่สมัยทรัมป์ ยังคงดำเนินต่อ เพียงแค่อยู่ในรูปแบบที่เปลี่ยนไป
และสำหรับประเทศที่เหลือบนโลกใบนี้ ก็ยังต้องปรับตัวให้อยู่กับ 2 ขั้วทางการเมือง ที่ไม่น่าจะมีวันมาบรรจบกันได้อย่าง สหรัฐฯ และจีน ไปอีกนานเป็นทศวรรษ..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.reuters.com/world/china/china-officially-applies-join-cptpp-trade-pact-2021-09-16/
-https://apnews.com/article/united-nations-general-assembly-joe-biden-6dd0382e93987500d714f9fa497602af
-https://www.bbc.com/news/world-asia-china-58647481
-https://www.posttoday.com/world/663460
-https://www.prachachat.net/economy/news-765984
-https://www.cnbc.com/2021/09/27/analysts-on-chinas-bid-to-join-cptpp-strategic-competition-with-us.html
-https://www.bbc.com/news/explainers-55858490
-https://www.globaltimes.cn/page/202109/1234584.shtml
-https://www.reuters.com/article/uk-davos-meeting-trade-truss-idUSKBN29Y14U
-https://www.cnbc.com/2021/01/11/control-risks-on-biden-administration-rejoining-tpp-trade-deal.html
-https://www.piie.com/blogs/trade-and-investment-policy-watch/chinas-cptpp-bid-puts-biden-spot
-https://www.economist.com/leaders/2021/09/25/america-is-at-last-getting-serious-about-countering-china-in-asia
-https://www.economist.com/leaders/2021/09/25/america-is-at-last-getting-serious-about-countering-china-in-asia
1 on 1 meeting 在 Hapa Eikaiwa Facebook 的精選貼文
=================================
「Schedule」+「前置詞」の正しい用法
=================================
日常生活やビジネスシーンで予定について会話をする際、「Schedule」を使うことが多いと思いますが、皆さんは正しく使えていますか?多少使い方を間違えても意味が通じないほど致命的な問題にはなりませんが、前置詞との組み合わせを間違えている方が結構多く感じるので、ここでしっかりおさらいしておきましょう。
--------------------------------------------------
1) Scheduled for _____
→「〜に予定されている」
--------------------------------------------------
ミーティングやアポなど、ある出来事が特定の日時に実施されることを「〜に予定されています」といったニュアンスで表現する場合は、「(出来事) is scheduled for (日時).」のようにForを用いて表現します。例えば、「次回のミーティングは月曜日に予定されています。」は「Our next meeting is scheduled for Monday.」になります。曜日を指しているので、うっかり「Scheduled “on” Monday」と言いがちですが、これは間違った言い方になるので注意が必要です。また、「午後7時に予定されています」も「Scheduled “at” 7pm」ではなく、「Scheduled for 7pm」になります。
✔Scheduled forの後は日時に限らず、Scheduled for surgery(手術を受ける予定)のように出来事を入れることも可能。
<例文>
The seminar in Tokyo is scheduled for June 24th.
(東京でのセミナーは6月24日に予定されています。)
Your interview is scheduled for Wednesday, June 21st at 10am.
(インタビューは6月21日、水曜日、午前10時に予定されています。)
I am scheduled for my annual checkup next week.
(来週は、年に一度の健康診断が予定されています。)
--------------------------------------------------
2) Scheduled to _____
→「〜する予定になっている」
--------------------------------------------------
今後の予定について、ほとんど確定しているが断言するまでには至らないニュアンスで「〜する予定です」と言いたい場合にピッタリの表現方法で、この場合に用いる前置詞はToになります。例えば、「明日ジョンさんと会う予定になっています」は「I’m scheduled to meet with John tomorrow.」、「彼は来月、帰国する予定になっています」は「He is scheduled to return home next month.」という具合に使われます。
✔Supposed to(〜のはず)と意味は似ているが、Schedule toのほうが予定が確定されているニュアンスがある。Supposed toの解説は関連記事『日常英会話における「Supposed to」の使い方』をご覧ください。
✔Scheduled toの後は動詞がフォローする。
<例文>
I'm scheduled to arrive at 5pm
(午後5時に到着する予定です。)
She is scheduled to give a speech at the event next week.
(彼女は来週のイベントでスピーチをする予定になっています。)
Our app is scheduled to launch in July.
(我々のアプリは7月に発売される予定です。)
--------------------------------------------------
3) On schedule
→「予定通り」
--------------------------------------------------
企画や計画が予定通りに進んでいることを示す場合は、Scheduleの前に前置詞Onを付け加えOn scheduleと表現します。例えば、上司にプロジェクトの進捗状況を聞かれた際、「We are on schedule.(予定通りです)」と言うことができます。
✔予定より遅れている場合はbehind schedule、予定より早い場合はahead of scheduleと表す。
<例文>
You should check online to see if the flight is on schedule.
(フライトがスケジュール通りに出発するかネットで確認した方がいいよ。)
We are a few days behind schedule but we'll get it done by the end of the week.
(予定より数日遅れていますが、今週末までには終わらせます。)
I finished this project ahead of schedule.
(このプロジェクトを予定より早く終わらせました。)
ブログ記事URL:https://hapaeikaiwa.com/?p=13237
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
無料メルマガ『1日1フレーズ!生英語』配信中!
通勤・通学などのちょとした合間を利用して英語が学べるメルマガ『1日1フレーズ!生英語』を平日の毎朝6時に配信中!ただ単にフレーズを紹介しているだけではなく、音声を使った学習プロセスが組み込まれているので、メルマガを読むこと自体が学習方法!
https://hapaeikaiwa.com/mailmagazine/
~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
1 on 1 meeting 在 Hapa 英会話 Youtube 的最讚貼文
誰かに話しかける際に「ちょっといい?」と一声かけることはよくあると思いますが、英語でも日本語と同様、ある種のお決まりフレーズが存在します。そこで今回は、3つの状況における最も代表的な言い回しをご紹介いたします。
📝今日のレッスンのまとめ📝
===================================
1. Do you have a minute/second?(ちょっといい?) 0:34
・Hey Peter. Do you have a minute? Can you come to my office?(ピーターさん、ちょっといいですか?私のオフィスに来てくれませんか?)
・Hey, do you have a sec? We should talk about Mike's birthday .(ちょっといい?マイクの結婚式について話しておかなきゃと思って)
・Do you have a minute? I want to talk to you about the upcoming project.(ちょっといい?今後のプロジェクトについて話したいのですが)
2. Can I borrow you for a minute? (ちょっといい?) 2:12
・Hey Bob. Can I borrow you for a minute? I'm looking for accommodation in Chicago and I know you're familiar with that city.(ボブ、ちょっといい?シカゴのホテルを探しているんだけど、たしかボブはシカゴに詳しかったよね?)
・Excuse me, Jackie. Can we borrow John for the meeting today?
We need someone who can speak Japanese.(ジャッキー、来週のミーティングにジョンの同席をお願いできますか?日本語が話せる人が必要なんです。)
・Hey Traci. I know your husband is really good with computers. Can we borrow him this weekend to help set up our new computers?(トレイシーさん、旦那さんパソコンに詳しいよね?今週末、うちの新しいパソコンのセットアップをお願いできないかな?)
3. Is this a good time to talk? (今、よろしいでしょうか?) 4:42
・Hello. My name is Steve. I'm calling from the city hall to discuss your daughter's daycare situation. Is this a good time to talk?(もしもし、市役所のジャキーと申します。娘さんの保育園状況について話したいのですが、今、お電話よろしいでしょうか?)
・Excuse me, Larry. I'd like to discuss my salary with you. Is this a good time?(ラリーさん、私の給料について相談したいのですが、今よろしいでしょうか?)
・Hey Matt. What's going on? I want to talk to you about the party next weekend. Is this a good time to talk?(マット、元気。来週末のパーティーについて話したいんだけど、今って大丈夫?)
☆ネイティブっぽい英語を話すには必須フレーズ「It’s not that」☆
ネイティブは会話の中でよく“It’s not that ~”という表現を使いますが、これは物事を完全に否定するのではなく部分的に否定をするときに使われる表現で、「~というわけじゃないんだけど」といった意味になります。自然な英語を話すのに役立つ表現なので、ぜひ覚えておきましょう!https://youtu.be/LxXJNBwkOz8
===================================
☆【Hapa Buddies】Hapa英会話オンラインコミュニティ
英語が好きな仲間と一緒に楽しく英語を学びませんか?
https://hapaeikaiwa.com/buddies/
☆インスタやツイッターでも日常会話で使える実践的なフレーズを毎日投稿しています!
・インスタ: https://www.instagram.com/hapaeikaiwa
・ツイッター:https://twitter.com/hapaeikaiwa
☆【Hapa英会話Podcast】生の英語を楽しく学べる
毎週金曜日、台本を一切使わないアメリカ人のリアルな日常英会話を配信。
http://hapaeikaiwa.com/podcast/
☆【Hapa英会話メルマガ】1日1フレーズ!生英語
通勤中ちょとした合間を利用して無理なく英語が学べるメルマガ『1日1フレーズ!生英語』平日の毎朝6時に配信。http://hapaeikaiwa.com/mailmagazine/
#Hapa英会話
#日常英会話
#ロサンゼルス
1 on 1 meeting 在 Henry & Donny Youtube 的最佳貼文
📮 Turn on Subtitles CC 📮|English , 中文 , German , French , Español , Russian , 日本語 , 한국어 , ไทย , Indonesia , Português
Go and visit @Sasha Kolotova Youtube chanel ❤️
Henry IG https://www.instagram.com/henryamouriq/
Donny IG https://www.instagram.com/donny.lin/
My FB https://www.facebook.com/HenryAmouric/
Hello everyone,
We hoped you guys liked the video if you could help us by sharing it and give us alike!👍🏻
You also could comment below, we will reply as much as we can ❤️
Love you all 💙
Donny & Henry❣️
大家好,Donny&Henry❣️
我們希望你們喜歡這個影片👍🏻
你們可以在下面留言,我們將盡可能的回覆你們❤️
愛你們所有人💙
亨利·IG https://www.instagram.com/henryamouriq/
Donny IG https://www.instagram.com/donny.lin/
我的FB https://www.facebook.com/HenryAmouric/
相機 : Canon EOS M5
1 on 1 meeting 在 朱學恒的阿宅萬事通事務所 Youtube 的最佳解答
Twitch傳送門: https://www.twitch.tv/otakuarmy2
好啦,看起來郭正亮可以吃到雞排了,因為如果府院黨疫苗農耕隊都出來收割的話,那就表示十拿九穩了,但是收割也就算了,你還想要拉台積電打郭台銘,甚至要把郭台銘主動爭取的記憶通通抹去,這種手段就太過分了~~~
我的立場一向很簡單啦,郭台銘這一役用民間力量衝撞東省西省,甚麼都只買兩百萬劑,還厚著臉皮參加covax跟窮國搶疫苗的的我國政府,逼得他們一定得要在堅持國產疫苗讓全國人體實驗上讓步,光這一點我就覺得很感謝。
但問題就是,主導這整件事情的府方人士,又要爭功,又要諉過,連續透過各種關係試圖修改人民對這整件事情的記憶,搞到好像變成都是總統府,都是蔡英文深謀遠慮才讓這些bnt疫苗可以成行,但我知道的就不是這樣啊!民間要救命,結果政府實質上各種拖延,你不能又要拖延,又要收割,又要把自己掏錢捐贈五百萬劑的郭台銘踢到一邊去啊,你今天可以這樣對待郭台銘,之後你會怎麼樣對付慈濟?人命關天,民調難道比人命重要,比真相重要嗎?
這件事我不能接受,一般人也不能接受,因為太噁心了。不信真理喚不回,不容青史竟成灰;沒想到才不到一個月我就可以看到青史成灰的系統性焚燒術,好厲害啊!
其中風傳媒那篇還把郭台銘描述成動輒生氣的狂派,於是我查證了一下,本次捐贈疫苗的知情人士表示【並非事實】。而且我可以用這三篇連續的大內宣來證明這是我國政府系統性為之的作法,
https://time.com/6074333/taiwan-recruits-tsmc-foxconn-to-secure-biontech-vaccines/
時代雜誌網路版六月十八日幾乎無時差的就出了一篇:【Taiwan Recruits TSMC, Foxconn to Secure BioNTech Vaccines】台灣徵召台積電,富士康來採購bnt疫苗?【Taiwanese President Tsai Ing-wen expanded efforts to buy vaccines from Germany’s BioNTech Friday, meeting with leaders of two tech giants in an attempt to reach a deal hindered by complications involving China.】內文寫的還是台灣總統蔡英文周五時為了更努力採購德國的bnt疫苗,和兩個科技巨人會面,以便達成因牽涉到中國的複雜事務而被拖延的合約。有沒有搞錯啊?這版報導連參與的不是富士康而是永齡基金會都搞不清楚,請問是誰為了這三個掛名記者錯誤消息? Miaojung Lin, Cindy Wang and Debby Wu.
https://www.reuters.com/business/healthcare-pharmaceuticals/exclusive-taiwans-terry-gou-tsmc-reach-initial-agreements-biontech-vaccines-2021-07-02/?fbclid=IwAR33ByuSQA6BJBT8p9L2uExuZF4BRqIXPm5SWnUYQhEicz7C2FsQZkuyphI
【TAIPEI, July 2 (Reuters) - Terry Gou, the billionaire founder of Taiwan's Foxconn (2317.TW), along with TSMC (2330.TW) reached initial agreements to each buy 5 million doses each of BioNTech SE's (22UAy.DE) COVID-19 vaccine on Friday, three sources with knowledge of the situation told Reuters.】路透社的這篇更妙了,內文引述的三個消息來源都是台灣,本文記者寫得很持平,而且還特別列出來查證的結果,上海復星拒絕評論,BioNtech拒絕評論,德國政府外交部拒絕評論。也就是台灣這三個消息來源放話的結果,對方通通都不願意證實。裡面還有一段特別有趣,【Another source said the German government, which has said it was trying to help Taiwan obtain the BioNTech vaccines, had been trying to speed up the talks.
"The German government doesn't want to leave the impression that they didn't sell vaccines to Taiwan due to the Chinese pressure, so it has been pushing the company to speed up its talks with Taiwan," the source said, referring to BioNTech.
The German Foreign Ministry declined to immediately comment.】
啊這不就外交部自吹自擂的口吻,說德國政府有讓BNT加速跟台灣的談判。如果這是外交運作,可以為了搶功拿出來講嗎?如果不是為了搶功,以後德國政府是不是會被指責說只幫台灣不幫世界其他國家嗎?更別提這個放話獲得的德國外交部回應是,不予回應。更重要的是,德國駐台代表德國在台協會處長王子陶(Thomas Prinz)博士六月三號就說過了【我們注意到近來關於疫苗取得的爭議。請相信,德國政府,特別是聯邦經濟部部長Altmaier本人,對於台灣與BioNTech間持續的溝通協調,盡了好一番努力。然而,契約簽訂與否與條件,並非在政府的掌控下,而是取決於契約雙方。倘若契約雙方能夠達成共識,聯邦政府自然樂見其成。】這跟台灣放話德國政府介入談判差別是不是很大?
結果咧,郭台銘今天早上自己發布聲明特別強調,【路透引述知情人士報導指出,鴻海創辦人郭台銘、台積電與BNT代理商上海復星簽署購買疫苗的初步協議。郭台銘4日回應,轉載國際媒體無法證實的消息來源,可能妨害台灣取得疫苗的時程,呼籲勿臆測BNT疫苗採購進度,要大家別上當了!】
https://www.storm.mg/article/3791288
【幕後》BNT要來了?「護國神山」成疫苗大戰關鍵角色 連郭台銘也消火】
【台積電有備而來 郭台銘圓桌會後從逼宮叫陣到怒氣漸消
都想買疫苗,但台積電鴨子滑水,郭台銘則展現老虎軍團非贏不可的氣勢。一直到6月16日,BNT回信件給郭台銘,明白地講只會賣疫苗給政府,不會賣給政府以外的其他團體;又傳出德國BNT無意跟郭台銘談,又氣又急的郭董,幾乎以「逼宮」的方式叫陣要面見蔡英文。
據指出,蔡政府評估,防疫緊張關頭,必須穩住發怒的郭老虎,他們想到也表達要買疫苗,且早已全世界探詢的台積電。】
風傳媒的這篇尤其奇妙,把整個過程講的好像記者躲在總統府會議桌下,還描述整個會議很多地方用英文進行,是英文補習班廣告嗎?因為內文實在太扯,根據我直接查證當天在現場人士的結果,本次捐贈疫苗的知情人士表示【並非事實】,嘻嘻。
而且風傳媒的內文是這樣寫的,【知情人士表示,台積電進場最大的幫助有2個層面:第一,台積電確實在國際產業上有很高地位、公信力強;第二,台積電長期與各國做的是「高階商務談判」,非常清楚各國法規、法律工程該怎麼處理。
該人士表示,在買BNT上,台積電幫很大的忙,最主要的是包括整個談判法律架構,怎麼樣讓它從原先會受到「各種干擾」,調整出一個可行方案,讓想代政府去買的單位,如鴻海、慈濟去接洽的時候有本可循。】問題是你現在捧台積電捧上天,但之前陳時中和食藥署說的都是沒有原廠授權書就是不行,還要八大文件,怎麼這裡就不再提甚麼八大文件原廠授權書,忽然之間變成台積電很厲害很會處理了?那之前指揮中心在幹嘛?我國政府在幹嘛?中華民國政府沒有很高地位、沒有公信力嗎?;第二,中華民國政府不清楚各國法規、不清楚法律工程嗎?
前後標準不一,明明就是被民意逼著要低頭,現在還想救民調,人民的性命到底在你們眼中算甚麼啊?
阿宅萬事通語錄貼圖上架囉 https://reurl.cc/dV7bmD
【加入YT會員按鈕】 https://reurl.cc/raleRb
【訂閱YT頻道按鈕】 https://reurl.cc/Q3k0g9
購買朱大衣服傳送門: https://shop.lucifer.tw/