ตลอดพรรษานี้ ชวนทุกท่านรักษาอุโบสถศีล เป็นประจำทุกวันพระ
มาร่วมกันเป็นพลังบุญบริสุทธิ์ที่แผ่ไปยังสามแดนโลกธาตุ
การสมาทานอุโบสถศีล
อุโบสถศีล คือการรักษาศีล ๘ ข้อ วันอุโบสถหรือวันพระ
เป็นวันที่เราจะต้องอยู่เยี่ยงพระ คือบำเพ็ญเนกขัมมะนั่นเอง
ศีลแปดที่รักษากันในวันพระ เรียกว่าอุโบสถศีล
ผู้ครองเรือนทั่วไปไม่สะดวกถือศีล ๘ ได้ทุกวัน
ก็ควรหาโอกาสมาถือศีลกันเฉพาะวันพระ
จึงเรียกว่ารักษาอุโบสถศีล
ขั้นตอนที่ ๑ กราบพระพุทธ กราบพระธรรม กราบพระสงฆ์
(เบญจางคประดิษฐ์)
ขั้นตอนที่ ๒ บูชาพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)
ขั้นตอนที่ ๓ อาราธนาศีลอุโบสถ
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ตติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
(กรณีว่าคนเดียวให้เปลี่ยน มะยัง เป็น อะหัง, เปลี่ยน ยาจามะ เป็น ยาจามิ )
ขั้นตอนที่ ๔ นมัสการพระพุทธเจ้า (นั่งพับเพียบ)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
ขั้นตอนที่ ๕ ไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ขั้นตอนที่ ๖ สมาทานศีลอุโบสถ
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะพรหมะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
นัจจะคี ตะวาทิ ตะวิสุกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะ ทาระณะ-
มัณฑะนะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ขั้นตอนที่ ๗ อธิษฐานรักษาศีลอุโบสถ
อิมัง อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง พุทธะปัญญัตตัง อุโปสะถัง อิมัญจะ
รัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง สัมมะเทวะ อะภิรักขิตุง สะมาทิยามิ
ขั้นตอนที่ ๘ สรุปศีลอุโบสถ
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ อัชเชกัง รัตตินทิวัง อุโปสะถะวะเสนะ
สาธุกัง รักขิตัพพานิ
รับ อามะภันเต รับ สาธุ
ขั้นตอนที่ ๙ กราบลาพระ
กราบพระพุทธ กราบพระธรรม กราบพระสงฆ์
ข้าพเจ้าขอสมาทานอุโบสถศีล อันประกอบด้วยองค์ 8 ประการ
ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ จะถือไว้มิให้เสื่อมมิให้ทำลาย สิ้นวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ณ เวลานี้
จะต้องรักษา นับจากที่เราสมาทาน ไปจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ ที่มีแสงสว่างของธรรมชาติ จนสามารถมองเห็นลายมือของตนเองได้ ก็จะหมดไปโดยอัตโนมัติ
ศีลอุโบสถนั้น มีองค์ประกอบทั้งหมด ๘ ข้อ
ถ้าขาดไปข้อใดข้อหนึ่ง ก็ไม่เรียกว่าศีลอุโบสถ
ตามพุทธบัญญัติ เพราะฉะนั้นการล่วงศีลอุโบสถเพียงข้อใดข้อเดียว
ก็ถือว่าขาดศีลอุโบสถ พูดง่ายๆ ว่า ขาดศีลข้อเดียวก็ขาดศีลอุโบสถ
ผู้ที่รักษาอุโบสถศีลจึงต้องสำรวมระวัง เป็นพิเศษ
การอดอาหารหลังเที่ยง ควรรับประทานช่วง 11 โมง
หากรู้สึกหิวในช่วงเย็น สามารถดื่มน้ำปานะ น้ำผลไม้ที่ผลไม่ใหญ่กว่ากำมือได้
ให้งดดื่มโอวัลติน โกโก้ นมถั่วเหลือง นมวัว หรือ น้ำเต้าหู้ ถือว่าเป็นอาหาร
อุโบสถศีลประกอบด้วยองค์ ๘ มีดังนี้ คือ
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี
งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป งดเว้นจากการเบียดเบียนสัตว์
๒. อทินนาทานา เวระมะณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
๓. อพรหมจริยา เวระมะณี
งดเว้นจากกรรมอันเป็นข้าศึกต่อการประพฤติผิดพรหมจรรย์ (การร่วมประเวณี
รวมถึงการทำ Masturbation)
๔. มุสาวาทา เวระมะณี
งดเว้นจากการกล่าวเท็จ รวมถึงวจีกรรมในรูปแบบต่างๆ คือ เว้นการพูดส่อเสียด นินทาว่าร้าย
๕. สุราเมรยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี
งดเว้น จากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
๖. วิกาละโภชนา เวระมะณี
งดเว้นจากการบริโภค อาหารในเวลาวิกาล คือหลังเที่ยงวันเป็นต้นไป
๗. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะ-ธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี
งดเว้นจากการฟ้อน รำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการละเล่นอันเป็นข้าศึกต่อกุศล
ลูบทาทัดทรงประดับตกแต่งร่างกายด้วยพวงดอกไม้ ของหอม เครื่องย้อม
เครื่องทาอันจัดว่าเป็นการแต่งตัว
๘. อุจจาสะยะนะมหาสะยะนา เวระมะณี งดเว้นจากการนั่ง และการนอนบนที่นอนสูงใหญ่
อันยัดด้วยนุ่นและสำลี (สูงใหญ่ หมายถึง เมื่อนั่งแล้วหย่อนขาลงไม่ถึงพื้น)
เป้าหมายหลักในการรักษาอุโบสถศีลนั้นก็ เพื่อทำให้จิตใจสงบ
ไม่กวัดแกว่งฟุ้งซ่านไปในเรื่องกามารมณ์ แต่ยึดเอาพระนิพพานเป็นอารมณ์
ถือเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ของคฤหัสถ์ผู้ที่ยังไม่ปรารถนาออกบวช
โดยปกติวันพระ พุทธศาสนิกชน ที่สะดวกก็จะพากันแต่งชุดขาวไปสมาทานอุโบสถศีล
และฟังธรรมที่วัด แล้วพักอาศัยอยู่ที่วัด จนกว่าจะครบกำหนด
ถ้าไม่ได้ไปวัด ก็จะตั้งใจสมาทานศีล ด้วยตนเองที่บ้าน
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสอุปมาถึงอานิสงส์ ของการรักษาอุโบสถศีลไว้ว่า
ถ้าจะนำมาเปรียบกับสมบัติของพระราชา ที่แม้จะครองความเป็นใหญ่ถึง ๑๖ แคว้น ก็ยังไม่ถึงเสี้ยวของผลบุญอันเกิดจากการรักษาอุโบสถเลย เพราะสมบัติมนุษย์เป็นสมบัติหยาบ เหมือนสมบัติของคนกำพร้า
มีความสุขได้ไม่กี่ร้อยปีก็ต้องพลัดพราก นั่นคืออยู่บนโลกมนุษย์ไม่กี่ปีก็ตาย ซึ่งเทียบไม่ได้กับการได้เสวยทิพยสมบัติอันยาวนานในสวรรค์
ที่เกิดจากอานิสงส์ของการรักษาอุโบสถ
การรักษาอุโบสถศีลนี้ แม้ว่าจะมีโอกาสรักษาได้ไม่นาน แต่กลับสามารถส่งผลให้มีอานิสงส์มากมายเกินควรเกินคาดได้
กราบอนุโมทนาสาธุกับทุกท่านครับ
ดนัย จันทร์เจ้าฉาย
ติดตามที่ Facebook มูลนิธิธรรมดี
Official Line มูลนิธิธรรมดี
https://bit.ly/3y1qfLI
อุโบสถศีล คือ 在 Facebook 的最佳貼文
วันนี้วันพระ ชวนทุกท่านสมาทานอุโบสถศีลด้วยกันครับ
อุโบสถศีล คือการรักษาศีล ๘ ข้อ วันอุโบสถหรือวันพระ
เป็นวันที่เราจะต้องอยู่เยี่ยงพระ คือบำเพ็ญเนกขัมมะนั่นเอง
ศีลแปดที่รักษากันในวันพระ เรียกว่าอุโบสถศีล
ผู้ครองเรือนทั่วไปไม่สะดวกถือศีล ๘ ได้ทุกวัน
ก็ควรหาโอกาสมาถือศีลกันเฉพาะวันพระ
จึงเรียกว่ารักษาอุโบสถศีล
ขั้นตอนที่ ๑ กราบพระพุทธ กราบพระธรรม กราบพระสงฆ์
(เบญจางคประดิษฐ์)
ขั้นตอนที่ ๒ บูชาพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)
ขั้นตอนที่ ๓ อาราธนาศีลอุโบสถ
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ตติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
(กรณีว่าคนเดียวให้เปลี่ยน มะยัง เป็น อะหัง, เปลี่ยน ยาจามะ เป็น ยาจามิ )
ขั้นตอนที่ ๔ นมัสการพระพุทธเจ้า (นั่งพับเพียบ)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
ขั้นตอนที่ ๕ ไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ขั้นตอนที่ ๖ สมาทานศีลอุโบสถ
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะพรหมะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
นัจจะคี ตะวาทิ ตะวิสุกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะ ทาระณะ-
มัณฑะนะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ขั้นตอนที่ ๗ อธิษฐานรักษาศีลอุโบสถ
อิมัง อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง พุทธะปัญญัตตัง อุโปสะถัง อิมัญจะ
รัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง สัมมะเทวะ อะภิรักขิตุง สะมาทิยามิ
ขั้นตอนที่ ๘ สรุปศีลอุโบสถ
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ อัชเชกัง รัตตินทิวัง อุโปสะถะวะเสนะ
สาธุกัง รักขิตัพพานิ
รับ อามะภันเต รับ สาธุ
ขั้นตอนที่ ๙ กราบลาพระ
กราบพระพุทธ กราบพระธรรม กราบพระสงฆ์
ข้าพเจ้าขอสมาทานอุโบสถศีล อันประกอบด้วยองค์ 8 ประการ
ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ จะถือไว้มิให้เสื่อมมิให้ทำลาย สิ้นวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ณ เวลานี้
จะต้องรักษา นับจากที่เราสมาทาน ไปจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ ที่มีแสงสว่างของธรรมชาติ จนสามารถมองเห็นลายมือของตนเองได้ ก็จะหมดไปโดยอัตโนมัติ
ศีลอุโบสถนั้น มีองค์ประกอบทั้งหมด ๘ ข้อ
ถ้าขาดไปข้อใดข้อหนึ่ง ก็ไม่เรียกว่าศีลอุโบสถ
ตามพุทธบัญญัติ เพราะฉะนั้นการล่วงศีลอุโบสถเพียงข้อใดข้อเดียว
ก็ถือว่าขาดศีลอุโบสถ พูดง่ายๆ ว่า ขาดศีลข้อเดียวก็ขาดศีลอุโบสถ
ผู้ที่รักษาอุโบสถศีลจึงต้องสำรวมระวัง เป็นพิเศษ
การอดอาหารหลังเที่ยง ควรรับประทานช่วง 11 โมง
หากรู้สึกหิวในช่วงเย็น สามารถดื่มน้ำปานะ น้ำผลไม้ที่ผลไม่ใหญ่กว่ากำมือได้
ให้งดดื่มโอวัลติน โกโก้ นมถั่วเหลือง นมวัว หรือ น้ำเต้าหู้ ถือว่าเป็นอาหาร
อุโบสถศีลประกอบด้วยองค์ ๘ มีดังนี้ คือ
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี
งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป งดเว้นจากการเบียดเบียนสัตว์
๒. อทินนาทานา เวระมะณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
๓. อพรหมจริยา เวระมะณี
งดเว้นจากกรรมอันเป็นข้าศึกต่อการประพฤติผิดพรหมจรรย์ (การร่วมประเวณี
รวมถึงการทำ Masturbation)
๔. มุสาวาทา เวระมะณี
งดเว้นจากการกล่าวเท็จ รวมถึงวจีกรรมในรูปแบบต่างๆ คือ เว้นการพูดส่อเสียด นินทาว่าร้าย
๕. สุราเมรยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี
งดเว้น จากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
๖. วิกาละโภชนา เวระมะณี
งดเว้นจากการบริโภค อาหารในเวลาวิกาล คือหลังเที่ยงวันเป็นต้นไป
๗. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะ-ธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี
งดเว้นจากการฟ้อน รำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการละเล่นอันเป็นข้าศึกต่อกุศล
ลูบทาทัดทรงประดับตกแต่งร่างกายด้วยพวงดอกไม้ ของหอม เครื่องย้อม
เครื่องทาอันจัดว่าเป็นการแต่งตัว
๘. อุจจาสะยะนะมหาสะยะนา เวระมะณี งดเว้นจากการนั่ง และการนอนบนที่นอนสูงใหญ่
อันยัดด้วยนุ่นและสำลี (สูงใหญ่ หมายถึง เมื่อนั่งแล้วหย่อนขาลงไม่ถึงพื้น)
เป้าหมายหลักในการรักษาอุโบสถศีลนั้นก็ เพื่อทำให้จิตใจสงบ
ไม่กวัดแกว่งฟุ้งซ่านไปในเรื่องกามารมณ์ แต่ยึดเอาพระนิพพานเป็นอารมณ์
ถือเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ของคฤหัสถ์ผู้ที่ยังไม่ปรารถนาออกบวช
โดยปกติวันพระ พุทธศาสนิกชน ที่สะดวกก็จะพากันแต่งชุดขาวไปสมาทานอุโบสถศีล
และฟังธรรมที่วัด แล้วพักอาศัยอยู่ที่วัด จนกว่าจะครบกำหนด
ถ้าไม่ได้ไปวัด ก็จะตั้งใจสมาทานศีล ด้วยตนเองที่บ้าน
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสอุปมาถึงอานิสงส์ ของการรักษาอุโบสถศีลไว้ว่า
ถ้าจะนำมาเปรียบกับสมบัติของพระราชา ที่แม้จะครองความเป็นใหญ่ถึง ๑๖ แคว้น ก็ยังไม่ถึงเสี้ยวของผลบุญอันเกิดจากการรักษาอุโบสถเลย เพราะสมบัติมนุษย์เป็นสมบัติหยาบ เหมือนสมบัติของคนกำพร้า
มีความสุขได้ไม่กี่ร้อยปีก็ต้องพลัดพราก นั่นคืออยู่บนโลกมนุษย์ไม่กี่ปีก็ตาย ซึ่งเทียบไม่ได้กับการได้เสวยทิพยสมบัติอันยาวนานในสวรรค์
ที่เกิดจากอานิสงส์ของการรักษาอุโบสถ
การรักษาอุโบสถศีลนี้ แม้ว่าจะมีโอกาสรักษาได้ไม่นาน แต่กลับสามารถส่งผลให้มีอานิสงส์มากมายเกินควรเกินคาดได้
กราบอนุโมทนาสาธุกับทุกท่านครับ
ดนัย จันทร์เจ้าฉาย
มูลนิธิธรรมดี
Official Line
https://bit.ly/3y1qfLI
อุโบสถศีล คือ 在 Danai Chanchaochai Facebook 的最讚貼文
น้อมนำบุญจากการภาวนา 3 ชั่วโมงต่อเนื่อง เมื่อคืนวันอาสาฬหบูชา
เดินจงกรม 2 ชั่วโมง นั่งสมาธิ 1 ชั่วโมง ให้ทุกดวงจิตได้มีส่วนในบุญกุศล และรับผลโดยถ้วนทั่วกันเทอญ ..
วันนี้เข้าพรรษา ชวนกันรักษาอุโบสถศีล
สวดมนต์ เดินจงกรม นั่งสมาธิด้วยกัน
อย่างน้อย 1 ชั่วโมงนะครับ
ผมตั้งใจปฏิบัติวันละ 3 ชั่วโมง ..
มาร่วมสร้างพลัง "บุญใน" กันครับ
เข้าพรรษานี้ ผมขอเชิญชวนทุกท่านร่วมกันตั้งสัจจะอธิษฐาน
รักษาศีล 5 ตลอดสามเดือน และสวดมนต์ นั่งสมาธิภาวนา
อย่างน้อยวันละ 1 ชั่วโมง (ผมตั้งใจภาวนาวันละอย่างน้อย 3 ชั่วโมง)
และชวนกันรักษาอุโบสถศีล ทุกวันพระ
เพื่อเป็นการฝึกฝนตนเอง และสั่งสมความเพียรในการปฏิบัติ
ให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้นเรื่อยๆ ...
ทำได้แค่ไหน เรียนเชิญตามความสะดวกและจิตศรัทธาครับ
แต่มารวมพลังบุญญาบารมี เป็นกองบุญใหญ่ด้วยกัน
และฝากเชิญชวนกัลยาณมิตรผู้ใจบุญด้วยนะครับ
ในขณะที่พระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ท่านเร่งความเพียรช่วงเข้าพรรษา
พวกเราเหล่าฆราวาส ก็ควรเดินตามแบบอย่างที่ดีงาม
================================
การรักษาอุโบสถศีล
อุโบสถศีล คือการรักษาศีล ๘ ข้อ วันอุโบสถหรือวันพระนั้น
เป็นวันที่เราจะต้องอยู่เยี่ยงพระ คือ บำเพ็ญเนกขัมมะนั่นเอง
ศีลแปดที่รักษากันในวันพระ เรียกว่า อุโบสถศีล
ผู้ครองเรือนทั่วไปไม่สะดวกถือศีล ๘ ได้ทุกวัน
ก็จะหาโอกาสมาถือศีลกันเฉพาะวันพระ จึงเรียกว่ารักษาอุโบสถศีล
ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างอุโบสถศีลกับศีล 8
อุโบสถศีล กับ ศีล 8 มีข้อห้าม 8 ข้อเหมือนกัน
คำอาราธนา (ขอศีล) แตกต่างกัน
อุโบสถศีล มีวันพระเป็นแดนเกิด สมาทานรักษาได้เฉพาะวันพระเท่านั้น
ส่วนศีล 8 สมาทานรักษาได้ทุกวัน
อุโบสถศีล มีอายุ 24 ชั่วโมง (วันหนึ่งคืนหนึ่ง)
ส่วนศีล 8 ไม่มีกำหนดอายุในการรักษา
อุโบสถศีล เป็นศีลสำหรับชาวบ้านผู้ครองเรือน หรือเป็นศีลของชาวบ้าน
ผู้บริโภคกาม (กามโภคี) ส่วนศีล 8 เป็นศีลสำหรับชาวบ้านผู้ไม่ครองเรือน เช่น แม่ชี [1]
คำอาราธนานอุโบสถศีล (คนเดียว)
อะหังภันเต ติสะระเณนะะสะหะ อัฎฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถังยาจามิ
ทุติยัมปิ อะหังภันเต ติสะระเณนะะสะหะ อัฎฐังคะสะมันนาคะตัง
อุโปสะถังยาจามิ
ตะติยัมปิ อะหังภันเต ติสะระเณนะะสะหะ อัฎฐังคะสะมันนาคะตัง
อุโปสะถังยาจามิ
ข้าพเจ้าขอสมาทานอุโบสถศีล อันประกอบด้วยองค์ 8 ประการ
ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ จะถือไว้มิให้เสื่อมมิให้ทำลาย
สิ้นวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ณ เวลานี้
(จะต้องรักษา นับจากที่เราสมาทาน ไปจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่
ที่มีแสงสว่างของธรรมชาติ จนสามารถมองเห็นลายมือของตนเองได้
ก็จะหมดไปโดยอัตโนมัติ)
ศีลอุโบสถนั้น มีองค์ประกอบทั้งหมด ๘ ข้อ
ถ้าขาดไปข้อใดข้อหนึ่ง ก็ไม่เรียกว่า ศีลอุโบสถ
ตามพุทธบัญญัติ เพราะฉะนั้นการล่วงศีลอุโบสถเพียงข้อใดข้อเดียว
ก็ถือว่าขาดศีลอุโบสถ พูดง่ายๆ ว่า ขาดศีลข้อเดียวก็ขาดศีลอุโบสถ
ผู้ที่รักษาอุโบสถศีลจึงต้องสำรวมระวัง เป็นพิเศษ
การอดอาหารหลังเที่ยง ควรรับประทานช่วง 11 โมง ให้เต็มที่เลย
หากรู้สึกหิวในช่วงเย็น สามารถดื่มน้ำปานะ น้ำผลไม้ที่ผลไม่ใหญ่
กว่ากำมือได้
ให้งดดื่มโอวัลติน โกโก้ นมถั่วเหลือง นมวัว หรือ น้ำเต้าหู้
ถือว่าเป็นอาหาร
อุโบสถศีลประกอบด้วยองค์ ๘ มีดังนี้ คือ
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี
งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป งดเว้นจากการเบียดเบียนสัตว์
๒. อทินนาทานา เวระมะณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
๓. อพรหมจริยา เวระมะณี
งดเว้นจากกรรมอันเป็นข้าศึกต่อการประพฤติผิดพรหมจรรย์
(การร่วมประเวณี รวมถึงการทำ Masturbation)
๔. มุสาวาทา เวระมะณี
งดเว้นจากการกล่าวเท็จ รวมถึงวจีกรรมในรูปแบบต่างๆ
คือ เว้นการพูดส่อเสียด นินทาว่าร้าย
๕. สุราเมรยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี
งดเว้น จากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
๖. วิกาละโภชนา เวระมะณี
งดเว้นจากการบริโภค อาหารในเวลาวิกาล คือหลังเที่ยงวันเป็นต้นไป
๗. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะ-ธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี
งดเว้นจากการฟ้อน รำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการละเล่น
อันเป็นข้าศึกต่อกุศล ลูบทาทัดทรงประดับตกแต่งร่างกายด้วย
พวงดอกไม้ ของหอม เครื่องย้อม เครื่องทาอันจัดว่าเป็นการแต่งตัว
๘. อุจจาสะยะนะมหาสะยะนา เวระมะณี
งดเว้นจากการนั่ง และการนอนบนที่นอนสูงใหญ่ อันยัดด้วยนุ่นและสำลี
(สูงใหญ่ หมายถึง เมื่อนั่งแล้วหย่อนขาลงไม่ถึงพื้น)
เป้าหมายหลักในการรักษาอุโบสถศีลนั้นก็ เพื่อทำให้จิตใจสงบ
ไม่กวัดแกว่งฟุ้งซ่านไปในเรื่องกามารมณ์ แต่ยึดเอาพระนิพพานเป็นอารมณ์
ถือ เป็นการประพฤติพรหมจรรย์ของคฤหัสถ์ผู้ที่ยังไม่ปรารถนาออกบวช
โดยปกติวันพระ พุทธศาสนิกชน ที่สะดวกก็จะพากันแต่งชุดขาว
ไปสมาทานอุโบสถศีล และฟังธรรมที่วัด แล้วพักอาศัยอยู่ที่วัด
จนกว่าจะครบกำหนด
ถ้าไม่ได้ไปวัด ก็จะตั้งใจสมาทานศีล ด้วยตนเองที่บ้าน
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสอุปมาถึงอานิสงส์ ของการรักษาอุโบสถศีลไว้ว่า
ถ้าจะนำมาเปรียบกับสมบัติของพระราชา ที่แม้จะครองความเป็นใหญ่ถึง ๑๖ แคว้น ก็ยังไม่ถึงเสี้ยวของผลบุญอันเกิดจากการรักษาอุโบสถเลย
เพราะสมบัติมนุษย์เป็นสมบัติหยาบ เหมือนสมบัติของคนกำพร้า
มีความสุขได้ไม่กี่ร้อยปีก็ต้องพลัดพราก นั่นคือ อยู่บนโลกมนุษย์
ไม่กี่ปีก็ตาย ซึ่งเทียบไม่ได้กับการได้เสวยทิพยสมบัติอันยาวนาน
ในสวรรค์ ที่เกิดจากอานิสงส์ของการรักษาอุโบสถ
การรักษาอุโบสถศีลนี้ แม้ว่าจะมีโอกาสรักษาได้ไม่นาน
แต่กลับสามารถส่งผล ให้มีอานิสงส์มากมายเกินควรเกินคาดได้