ฟ้องคดีผู้บริโภค ผ่านออนไลน์ ไม่ต้องไปศาล ไม่เสียค่าใช้จ่าย
.
ในกรณีประชาชนเป็นโจทก์ โดย ล่าสุด ศาลยุติธรรม ได้ปรับปรุงระบบออนไลน์ ให้ประชาชนที่เป็นโจทก์สามารถ ส่งหลักฐานเอกสารผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ด้วย e-filing versions 3 ให้ประชาชนสามารถยื่นฟ้องคดีผู้บริโภคได้ด้วยตนเองผ่านทางออนไลน์ได้เลย ไม่ต้องเดินทางไปศาล ไม่เสียค่าใช้จ่าย เริ่มให้บริการแล้วตั้งแต่วันที่ 3 มิถุนายน 2021 แล้วต้องทำยังไงบ้างไปดูกันเลย
https://www.it24hrs.com/2021/e-filing-3-court-of-justice-thailand/
#ฟ้องคดีผู้บริโภค #ศาลยุติธรรม #efiling
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過68萬的網紅Ceemeagain,也在其Youtube影片中提到,คุยกันต่อกับคุณ โจ้ ธนา เธียรอัจฉริยะ ผู้บริหารระดับสูง ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด(มหาชน) เปิดประเด็นน่าสนใจ AI กับภาพยนตร์ ศาสนา การเมือง จริยธรรม ศาลยุ...
「ศาลยุติธรรม」的推薦目錄:
- 關於ศาลยุติธรรม 在 IT24Hrs - ไอที 24 ชั่วโมง by ปานระพี Facebook 的最佳解答
- 關於ศาลยุติธรรม 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
- 關於ศาลยุติธรรม 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
- 關於ศาลยุติธรรม 在 Ceemeagain Youtube 的最佳解答
- 關於ศาลยุติธรรม 在 เจาะข่าวตื้น Shallow News in Depth Youtube 的精選貼文
- 關於ศาลยุติธรรม 在 เล่าไปเรื่อย Youtube 的精選貼文
- 關於ศาลยุติธรรม 在 สื่อศาล - หน้าหลัก | Facebook 的評價
- 關於ศาลยุติธรรม 在 แนะนำศาลยุติธรรม - YouTube 的評價
ศาลยุติธรรม 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ 60
(อนึ่งบทความนี้ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์แนวหน้า คอลัม นิสต์ ปรีชาทัศน์ วันศุกร์ ที่ 15 กับ 22 มกราคม 2564 หน้า 2)
ภายใต้รัฐ 2560 ได้กำหนดให้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการตีความกฎหมายมหาชน ของพระองค์เองโดยเฉพาะ แยกพิจารณาการออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การใช้พระราชอำนาจของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยกับการใช้พระราชอำนาจของพระองค์เองแต่มิได้เป็นไปตามลำพังพระราชตามอัธยาศัย ดังนี้
1.1 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัย จะมี 2 ลักษณะ คือ
ลักษณะที่ 1 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยที่ไม่เป็นไปตามลำพังพระองค์เอง มีดังต่อไปนี้
1) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ในกรณีที่ไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรหรือทรงประชวร ทรงผนวช ให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ มาตรา 16
2) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 โดยให้คณะองคมนตรีจัดทำร่างกฎมณเฑียรบาลแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลเดิมตามพระราชดำริ นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วแจ้งไปยังประธานรัฐสภาเพื่อให้นำแจ้ง รัฐสภาทราบ ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป มาตรา 20
3) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแต่งตั้งพระรัชทายาท ซึ่งเป็นไปตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 แล้วแจ้งรัฐสภาทราบ มาตรา 20
4) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการถอดถอนฐานันดรศักดิ์และเรียกคืนเครื่องราชอิสรยาภรณ์ มาตรา 9
ลักษณะที่ 2 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยเพียงลำพังพระองค์เอง เช่น
1) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการเลือก แต่งตั้ง ถอดถอนองคมนตรี อันเป็นมรดกตกทอดมาจากในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดินเป็น The Privy Council แบบของอังกฤษ เป็นองค์กรที่ใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ ทำหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่ทรงปรึกษาและหน้าที่อื่น ๆ มาตรา 11
2) การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระมหากษัตริย์ การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย มาตรา 15
3) การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในอันที่จะยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว มาตรา 81 เมื่อรัฐสภาหรือสภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภามีมติให้ความเห็นชอบในร่างกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งแล้ว ประธานรัฐสภาจะต้องส่งร่างกฎหมายนั้นให้แก่นายกรัฐมนตรีเพื่อให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมาย ภายใน 20 วันและเมื่อนายกรัฐมนตรีนำร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภาขึ้นทูลเกล้าฯถวายพระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชวินิจฉัยได้ 3 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ทรงเห็นชอบภายใน 90 วัน พระมหากษัตริย์ทรงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายในราชกิจจานุเบกษา
กรณีที่ 2 ทรงไม่เห็นชอบด้วยในร่างกฎหมายฉบับนั้นและพระราชทานคืนมายังรัฐสภาภายใน 90 วันนับตั้งแต่วันที่นายกรัฐมนตรีทูลเกล้าถวาย อันถือว่าทรงยับยั้ง (veto) โดยชัดแจ้ง
กรณีที่ 3 คือพระมหากษัตริย์ไม่ทรงผ่านพระราชทานร่างกฎหมายที่นายกรัฐมนตรีทูลเกล้าฯ และส่งมายังรัฐสภาภายใน 90 วันซึ่งเมื่อเวลา 90 วันล่วงพ้นไปก็ถือว่าพระมหากษัตริย์ทรง ยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายนั้นโดยปริยาย ซึ่งเมื่อพระมหากษัตริย์จะทรง ยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยายก็ตาม รัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) จะต้องพิจารณาทบทวนร่างพระราชบัญญัติฉบับนั้นอีกครั้งหนึ่ง และหากรัฐสภาลงมติร่างกฎหมายนั้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้ง 2 สภา นายกรัฐมนตรีจะต้องนำร่างกฎหมายฉบับนั้นทูลเกล้าถวายฯอีกครั้งหนึ่ง และหากพระมหากษัตริย์ไม่ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยภายใน 30 วัน นายกรัฐมนตรีจึงนำร่างกฎหมายฉบับนั้นไปประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ทรงได้ลงพระปรมาภิไธย
แต่ถ้ารัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) มีมติยืนยันร่างกฎหมาย ที่พระมหากษัตริย์ทรงยับยั้ง (veto) โดยชัดแจ้งหรือปริยายด้วยคะแนนเสียงไม่ถึง 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ 2 สภา ร่างกฎหมายฉบับนั้นก็ตกไปนำไปประกาศใช้ไม่ได้
พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในอันที่จะยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) แล้วไม่จำเป็นต้องมีองค์กรใดถวายคำแนะนำและไม่จำเป็นต้องมีองค์กรใดลงนามรับรองพระบรมราชโองการซึ่งถือเป็นข้อยกเว้นว่า พระมหากษัตริย์จะทรงใช้พระราชอำนาจที่ไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับองค์กรอื่น
ข้อสังเกต การตีความกฎหมายมหาชนในกรณีพระราชอำนาจเฉพาะที่ใช้โดยพระองค์เป็นไปตามพระราชอำนาจตามอัธยาศัยเพียงลำพังในการยับยั้งร่างกฎหมายที่ไม่เด็ดขาด คือ แม้พระมหากษัตริย์ทรงไม่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายใด จึงไม่ลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมา รัฐสภาก็ยังสามารถลงคะแนนเสียงเพื่อยืนยันการประกาศใช้ร่างกฎหมายที่ถูกยับยั้งได้โดยไม่ต้องผ่านขั้นตอนการลงพระปรมาภิไธย พระราชอำนาจยับยั้งร่างกฎหมายนี้จึงเป็นเพียงการยับยั้งเพื่อการถ่วงเวลาเท่านั้น
4) การใช้พระราชอำนาจตีความตามรัฐธรรมนูญ ทึ่เป็นจารีตประเพณีทางรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามมาตรา 5 วรรค 2
1.2 พระราชอำนาจในการตีความกฎหมายมหาชนที่ไม่เป็นไปตามอัธยาศัย
พระราชอำนาจในการตีความกฎหมายมหาชนที่ไม่เป็นไปตามอัธยาศัยเป็นการใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนผ่านทาง (คือ การใช้พระราชอำนาจที่มีบุคคลกระทำการแทน) รัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) หรือของคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายบริหาร) หรือผ่านทางศาล ภายใต้มาตรา 3 กำหนดไว้ ได้แก่
1. ทรงใช้พระราชอำนาจด้านนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา ดังนี้
1) ทรงแต่งตั้งประธาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธาน รองประธานวุฒิสภา จากสมาชิกแห่งสถาบันนั้นๆ ตามมติของสภามาตรา 116
2) ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร มาตรา 106
3) ทรงเรียกประชุมรัฐสภา ทรงเปิดและทรงปิดประชุม มาตรา 122 เป็นต้น
2. ทรงใช้พระราชอำนาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาล) ได้แก่
1) ทรงมีอำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎรให้มีการเลือกตั้งใหม่ มาตรา 103
2) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี มาตรา 158
3) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งหรือถอดถอนรัฐมนตรี มาตรา 117
4) พระราชอำนาจในการตราพระราชกำหนด มาตรา 172-174
5) พระราชอำนาจในการตราพระราชกฤษฎีกามาตรา 175
6)พระราชอำนาจในการประกาศใช้และยกเลิกกฎอัยการตามลักษณะและวิธีการที่กฎหมายกำหนดมาตรา 176
7) พระราชอำนาจในการประกาศสงครามโดยการเสนอแนะของคณะรัฐมนตรีและต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา มาตรา 177
😎 พระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึกและสัญญาอื่นกับนานาประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศ มาตรา 178
9) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูง
10) การใช้พระราชอำนาจในการรับฎีการ้องทุกข์จากราษฎร ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ
(1) ฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการออกพระราชกฤษฎีกา และตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 179
(1) ฎีการ้องทุกข์ขอความเป็นธรรม ซึ่งได้แก่ ร้องทุกข์ขอยืมเงิน ร้องทุกข์เรื่องการแบ่งมรดกไม่เป็นธรรม ร้องทุกข์ถูกข้าราชการรังแก ร้องทุกข์เรื่องรักษาพยาบาล ร้องทุกข์เรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย เป็นต้น มาตรา 5 วรรค 2
3. ทรงใช้พระราชอำนาจตีความกฎหมายมหาชนผ่านทางตุลาการ ซึ่งประกอบด้วย ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครองและศาลทหาร มาตรา 3 ประกอบมาตรา 188-199
4. ทรงใช้พระราชอำนาจตีความกฎหมายมหาชนแต่งตั้งบุคคลในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญที่ใช้อำนาจ กึ่งบริหาร กึ่งนิติบัญญัติและกึ่งตุลาการผ่านทางวุฒิสภา ได้แก่ คณะกรรมการการเลือกตั้ง มาตรา 222-227 ผู้ตรวจการแผ่นดิน มาตรา 228-231 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มาตรา 232-237 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน มาตรา 238-245 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มาตรา 246-247 เป็นต้น
สรุป นี่คือ พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 ในการตีความกฎหมายมหาชน ดังนั้นการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ที่จะเกิดขึ้นนี้ไม่ว่าจะแก้ไข ในหมวดไหน แม้แต่ยกเว้นห้ามแก้ไขในหมวด 1 หมวด 2 ก็ตาม ก็กระทบกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ทั้งสิ้น
ศาลยุติธรรม 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
ข้อสังเกตเกี่ยวกับพระราชอำนาจการตีความกฎหมายของพระมหากษัตริย์
(ข้อมูลส่วนหนึ่งใน “หลักคิดทั่วไปในทางกฎหมายมหาขน”)
ในกรณีของประเทศไทยภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ได้ให้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการตีความกฎหมายมหาชน ซึ่งเป็นการใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองโดยเฉพาะ แยกพิจารณาการออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การใช้พระราชอำนาจของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยกับการใช้พระราชอำนาจของพระองค์เองแต่มิได้เป็นไปตามลำพังพระราชตามอัธยาศัย ดังนี้
1.1 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัย จะมี 2 ลักษณะ คือ
ลักษณะที่ 1 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยที่ไม่เป็นไปตามลำพังพระองค์เอง มีดังต่อไปนี้
1) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ในกรณีที่ไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรหรือทรงประชวร ทรงผนวช ให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
2) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 โดยให้คณะองคมนตรีจัดทำร่างกฎมณเฑียรบาลแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลเดิมตามพระราชดำริ นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วแจ้งไปยังประธานรัฐสภาเพื่อให้นำแจ้ง รัฐสภาทราบ ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป
3) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแต่งตั้งพระรัชทายาท ซึ่งเป็นไปตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 แล้วแจ้งรัฐสภาทราบ
4) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการถอดถอนฐานันดรศักดิ์และเรียกคืนเครื่องราชอิสรยาภรณ์
ลักษณะที่ 2 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยเพียงลำพังพระองค์เอง เช่น
1) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการเลือก แต่งตั้ง ถอดถอนองคมนตรี อันเป็นมรดกตกทอดมาจากในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดินเป็น The Privy Council แบบของอังกฤษ เป็นองค์กรที่ใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ ทำหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่ทรงปรึกษาและหน้าที่อื่น ๆ
2) การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระมหากษัตริย์ การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
3) การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในอันที่จะยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว เมื่อรัฐสภาหรือสภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภามีมติให้ความเห็นชอบในร่างกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งแล้ว ประธานรัฐสภาจะต้องส่งร่างกฎหมายนั้นให้แก่นายกรัฐมนตรีเพื่อให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมาย ภายใน 20 วันและเมื่อนายกรัฐมนตรีนำร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภาขึ้นทูลเกล้าฯถวายพระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชวินิจฉัยได้ 3 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ทรงเห็นชอบภายใน 90 วัน พระมหากษัตริย์ทรงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายในราชกิจจานุเบกษา
กรณีที่ 2 ทรงไม่เห็นชอบด้วยในร่างกฎหมายฉบับนั้นและพระราชทานคืนมายังรัฐสภาภายใน 90 วันนับตั้งแต่วันที่นายกรัฐมนตรีทูลเกล้าถวาย อันถือว่าทรงยับยั้ง (veto) โดยชัดแจ้ง
กรณีที่ 3 คือพระมหากษัตริย์ไม่ทรงผ่านพระราชทานร่างกฎหมายที่นายกรัฐมนตรีทูลเกล้าฯ และส่งมายังรัฐสภาภายใน 90 วันซึ่งเมื่อเวลา 90 วันล่วงพ้นไปก็ถือว่าพระมหากษัตริย์ทรง ยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายนั้นโดยปริยาย ซึ่งเมื่อพระมหากษัตริย์จะทรง ยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยายก็ตาม รัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) จะต้องพิจารณาทบทวนร่างพระราชบัญญัติฉบับนั้นอีกครั้งหนึ่ง และหากรัฐสภาลงมติร่างกฎหมายนั้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้ง 2 สภา นายกรัฐมนตรีจะต้องนำร่างกฎหมายฉบับนั้นทูลเกล้าถวายฯอีกครั้งหนึ่ง และหากพระมหากษัตริย์ไม่ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยภายใน 30 วัน นายกรัฐมนตรีจึงนำร่างกฎหมายฉบับนั้นไปประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ทรงได้ลงพระปรมาภิไธย
แต่ถ้ารัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) มีมติยืนยันร่างกฎหมาย ที่พระมหากษัตริย์ทรงยับยั้ง (veto) โดยชัดแจ้งหรือปริยายด้วยคะแนนเสียงไม่ถึง 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ 2 สภา ร่างกฎหมายฉบับนั้นก็ตกไปนำไปประกาศใช้ไม่ได้
พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในอันที่จะยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) แล้วไม่จำเป็นต้องมีองค์กรใดถวายคำแนะนำและไม่จำเป็นต้องมีองค์กรใดลงนามรับรองพระบรมราชโองการซึ่งถือเป็นข้อยกเว้นว่า พระมหากษัตริย์จะทรงใช้พระราชอำนาจที่ไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับองค์กรอื่น
ข้อสังเกต การตีความกฎหมายมหาชนในกรณีพระราชอำนาจเฉพาะที่ใช้โดยพระองค์เป็นไปตามพระราชอำนาจตามอัธยาศัยเพียงลำพังในการยับยั้งร่างกฎหมายที่ไม่เด็ดขาด คือ แม้พระมหากษัตริย์ทรงไม่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายใด จึงไม่ลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมา รัฐสภาก็ยังสามารถลงคะแนนเสียงเพื่อยืนยันการประกาศใช้ร่างกฎหมายที่ถูกยับยั้งได้โดยไม่ต้องผ่านขั้นตอนการลงพระปรมาภิไธย พระราชอำนาจยับยั้งร่างกฎหมายนี้จึงเป็นเพียงการยับยั้งเพื่อการถ่วงเวลาเท่านั้น
1.2 พระราชอำนาจในการตีความกฎหมายมหาชนที่ไม่เป็นไปตามอัธยาศัย
พระราชอำนาจในการตีความกฎหมายมหาชนที่ไม่เป็นไปตามอัธยาศัยเป็นการใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนผ่านทาง (คือ การใช้พระราชอำนาจที่มีบุคคลกระทำการแทน) รัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) หรือของคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายบริหาร) หรือผ่านทางศาล ภายใต้มาตรา 3 กำหนดไว้ ได้แก่
1. ทรงใช้พระราชอำนาจด้านนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา ดังนี้
1) ทรงแต่งตั้งประธาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธาน รองประธานวุฒิสภา จากสมาชิกแห่งสถาบันนั้นๆ ตามมติของสภา
2) ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
3) ทรงเรียกประชุมรัฐสภา ทรงเปิดและทรงปิดประชุม
2. ทรงใช้พระราชอำนาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาล) ดังนี้
1) ทรงมีอำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎรให้มีการเลือกตั้งใหม่
2) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
3) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งหรือถอดถอนรัฐมนตรี
4) พระราชอำนาจในการตราพระราชกำหนด
5) พระราชอำนาจในการตราพระราชกฤษฎีกา
6)พระราชอำนาจในการประกาศใช้และยกเลิกกฎอัยการตามลักษณะและวิธีการที่กฎหมายกำหนด
7) พระราชอำนาจในการประกาศสงครามโดยการเสนอแนะของคณะรัฐมนตรีและต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา
😎 พระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึกและสัญญาอื่นกับนานาประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศ
9) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูง
10) การใช้พระราชอำนาจในการรับฎีการ้องทุกข์จากราษฎร ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ
(1) ฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการออกพระราชกฤษฎีกา และตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
(1) ฎีการ้องทุกข์ขอความเป็นธรรม ซึ่งได้แก่ ร้องทุกข์ขอยืมเงิน ร้องทุกข์เรื่องการแบ่งมรดกไม่เป็นธรรม ร้องทุกข์ถูกข้าราชการรังแก ร้องทุกข์เรื่องรักษาพยาบาล ร้องทุกข์เรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย เป็นต้น
3. ทรงใช้พระราชอำนาจตีความกฎหมายมหาชนผ่านทางตุลาการ ซึ่งประกอบด้วย ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครองและศาลทหาร
4. ทรงใช้พระราชอำนาจตีความกฎหมายมหาชนแต่งตั้งบุคคลในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญที่ใช้อำนาจ กึ่งบริหาร กึ่งนิติบัญญัติและกึ่งตุลาการผ่านทางวุฒิสภา ได้แก่ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นต้น
ศาลยุติธรรม 在 Ceemeagain Youtube 的最佳解答
คุยกันต่อกับคุณ โจ้ ธนา เธียรอัจฉริยะ ผู้บริหารระดับสูง ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด(มหาชน) เปิดประเด็นน่าสนใจ AI กับภาพยนตร์ ศาสนา การเมือง จริยธรรม ศาลยุติธรรม การศึกษาและความรัก จะมามีส่วนร่วมกันได้อย่างไรในชีวิตปัจจุบัน
- AI ช่วยเดท ผ่านแอปหาคู่ เชื่อถือได้แค่ไหน
- ภาพยนตร์เกียวกับ AI ในอนาคตจะเป็นจริงได้มั้ย
- การศึกษาด้านไหน ที่จะเหมาะกับยุคสมัยปัจจุบันและอนาคต
- จริยธรรม ควรมาก่อน หรือ ความก้าวหน้า ควรมาก่อน
- เทคโนโลยี DeepFake ปลอมหน้าคนในวิดิโอโป๊ นำมาประยุกต์ใช้ในด้านดีได้มั้ย
- AI ช่วยตัดสินความยุติธรรมในชั้นศาล เหมาะสมหรือไม่
- พระ AI ไม่ได้ถือศีล แต่มาเทศนาธรรม เห็นด้วยหรือไม่
Ceemeagain Podcast
SoundCloud : https://soundcloud.com/ceemeagain/the-futurist-ep4
ApplePodcasts : https://apple.co/39StWaM
Spotify : https://spoti.fi/2XsTc2B
Please Subscribe:
http://Youtube.com/chatpawee
http://Facebook.com/chatpawee
http://Twitter.com/ceemeagain
ติดต่อโฆษณากับรายการ : Sociallab.co.ltd 091-819-7925
--------------------------------------------------
ศาลยุติธรรม 在 เจาะข่าวตื้น Shallow News in Depth Youtube 的精選貼文
ร่วมเป็นผู้สนับสนุนให้เรามีกำลังผลิตงานต่อไปได้ทาง บัญชีกสิกรไทย
0193426433
บริษัท สโป๊คดาร์ค จำกัด
นะครับ ขอบพระคุณมากครับ
หรือจะร่วมเป็นผู้สนับสนุนแบบรายเดือนให้พวกเราก็คลิกที่ลิงค์นี้ได้เลยครับ
https://www.youtube.com/c/ShallowNewsinDepth/join
แล้วเข้ามาดูของแปลกกันในกลุ่มนะ 555 ?
#เจาะข่าวตื้น SpokeDark Shallow News in Depth : กลับมาอีกครั้งกับรายการข่าวบั่นทอนสติปัญญาของท่านกับนายจอห์น วิญญู และ พ่อหมอ เกิดเหตุการณ์สะเทือนถึงดวงดาว เมื่อผู้พิพากษาในจังหวัดยะลา คณากร เพียรชนะ ใช้ปืนยิงตัวเองเพื่อประท้วงว่าตนถูกแทรกแซงคำตัดสิน ทำให้คดีเปลี่ยนจากหน้ามือเป็นหลังมือ จากยกฟ้องกลายเป็นประหารชีวิตจำเลย มาดูว่าเนื้อหาในคำแถลงทั้ง 25 หน้า พูดถึงอะไรบ้าง! หลักการพิจารณาคดีที่เป็นสากลคืออะไร ความยุติธรรมไทยอยู่ตรงไหน? จะย้อนกลับไปสู่ยุคกฎหมายตรา 3 ดวงเลยดีไหมเนี่ย!? ทั้งหมดนี้ใน “ผู้พิพากษาใจเด็ดกับเรื่องคาใจระบบยุติธรรม : เจาะข่าวตื้น 226”
#ผู้พิพากษา #เจาะข่าวตื้น #ความยุติธรรม
ศาลยุติธรรม 在 เล่าไปเรื่อย Youtube 的精選貼文
สิ่งที่จะพูดถึงต่อไปนี้เป็นระบบศาลของอเมริกาทั้งสิ้น ซึ่งจะแตกจากศาลในไทยหลายๆอย่าง แต่สิ่งที่พวกเราคุ้นหูหรือเคยได้ยินกันมา ก็คงจะเป็นเหล่าคณะลูกขุนซึ่่งเป็นคนธรรมดา ที่ถูกคัดเลือกมาเป็นตัวชี้วัดของคดีนั้น หากแต่ว่าการตัดสินดังกล่าวนี้ จะไม่ได้เน้นความยุติธรรมมากนัก เพราะต้องใช้ชั้นเชิงสเต็ปของทนาย และหลักฐานการสืบพยานต่างๆ แต่ถึงยังไงก็ตามครับ เพราะระบบศาลดังกล่าวนั้น ในบางครั้งระบบศาลเองก็ล้มเหลวในการแก้ปัญหา เมื่อผลตัดสินค้านสายตาแก่คนทั่วไป และนี่คือคดีที่ยังคงเถียงกันจนถึงปัจจุบัน
---------------
Facebook : https://www.facebook.com/Laopairauy/
Google+ : https://goo.gl/wEqKz1
รับชมเพิ่มเติม : https://goo.gl/LF5ExB
---------------
เพลย์ลิสต์ เล่าไปเรื่อย
สาระรอบโลก : https://goo.gl/6JKf5C
เรื่องดังในอดีต : https://goo.gl/Rh29GV
ลึกลับ สยองขวัญ : https://goo.gl/ERvgD5
---------------
background music
turn up burn up - diamond ortiz
triumph - yung logos
trap unboxing - jimmy fontanez
SK - text me records
TFB3 - vibe tracks
Shake - vibe tracks
ได้รับอนุญาตภายใต้ ใบอนุญาต Creative Commons Attribution
https://creativecommons.org/licenses/
---------------
ถ้าชอบคลิปนี้ อย่าลืม กดไลค์ กดแชร์ กันด้วยนะครับ
ขอบคุณทุกท่านที่รับชมครับ
ศาลยุติธรรม 在 แนะนำศาลยุติธรรม - YouTube 的美食出口停車場
แนะนำ ศาลยุติธรรม. 15K views 3 years ago. COJ CHANNEL. COJ CHANNEL. 36.5K subscribers. Subscribe. 55. I like this. I dislike this. ... <看更多>
ศาลยุติธรรม 在 สื่อศาล - หน้าหลัก | Facebook 的美食出口停車場
ศาลยุติธรรม เชิญชวนประชาชนร่วมแสดงข้อคิดเห็น-ข้อมูล ตรวจคุณสมบัติผู้สมัคร ก.ต.ผู้ทรงคุณวุฒิ พร้อมรับข้อมูลทุกช่องทาง ไปรษณีย์-แฟกซ์-อีเมล เริ่ม 20-27 ม.ค.นี้. ... <看更多>