Unity แพลตฟอร์มที่ใช้สร้างวิดีโอเกม ครึ่งหนึ่งของโลก /โดย ลงทุนแมน
แม้ว่าโลกของเราจะมี เกมชื่อดังมากมาย เช่น Pokémon GO, League of Legends, Genshin Impact, Among Us, Garena Free Fire หรือ Overcooked
แต่รู้หรือไม่ว่าเกมที่ยกตัวอย่างมานี้ ถูกพัฒนาขึ้นจาก เกมเอนจิน หรือซอฟต์แวร์ที่ใช้สร้างวิดีโอเกม
ที่ชื่อว่า “Unity” ซึ่งปัจจุบันครอบครองส่วนแบ่งเกินกว่าครึ่งหนึ่งของมูลค่าตลาดซอฟต์แวร์พัฒนาเกมบนโลก
แล้วเรื่องราว Unity มีที่มาที่ไปอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ธุรกิจเกม ถือเป็นหนึ่งในธุรกิจ ที่กำลังเติบโตแบบก้าวกระโดด
ตลาดเกมทั่วโลกในปี 2005 มีมูลค่า 882,000 ล้านบาท
ตลาดเกมทั่วโลกในปี 2020 มีมูลค่า 5,810,000 ล้านบาท
คิดเป็นการเติบโต 6.6 เท่า หรือเติบโตเฉลี่ย 13.4% ต่อปี ตลอดช่วง 15 ปีที่ผ่านมา
ซึ่งการเติบโตนี้ ก็มาจากเกมบนสมาร์ตโฟนเป็นหลัก ที่มีการเติบโตสูงสุดเมื่อเทียบกับเกมบนแพลตฟอร์มอื่นอย่างเช่น PC และเกมคอนโซล และปัจจุบันเกมบนสมาร์ตโฟนก็คิดเป็นสัดส่วนที่มากที่สุดกว่า 45% ของเกมทั่วโลก
หนึ่งในบริษัทที่ได้ประโยชน์จากการเติบโตของเกมบนสมาร์ตโฟนไปเต็ม ๆ ก็คือ “Unity Technologies” ซึ่งเป็นบริษัทผู้พัฒนาเกมเอนจิน หรือแพลตฟอร์มที่ใช้พัฒนาวิดีโอเกม ที่ชื่อว่า “Unity” เพราะบริษัทแห่งนี้มีส่วนแบ่งตลาดซอฟต์แวร์พัฒนาเกมเกินกว่าครึ่งหนึ่งของมูลค่าทั้งหมดบนโลก
นอกจากนี้ ยังมีข้อมูลอื่น ๆ อีก เช่น
- เกมที่ได้รับความนิยมสูงสุด 1,000 อันดับแรกบนสมาร์ตโฟน มี 710 เกมที่พัฒนาโดยใช้ Unity
- แอปพลิเคชันที่สร้างโดยใช้ Unity มียอดดาวน์โหลดรวมกันกว่า 5 พันล้านครั้งต่อเดือน
- คอนเทนต์ทุกรูปแบบที่สร้างโดยใช้ Unity มีผู้ใช้งานรวมกันกว่า 2.5 พันล้านคนต่อเดือน
พูดง่าย ๆ ว่าเราคงเคยผ่านการใช้งานผลิตภัณฑ์ที่ถูกสร้างโดยใช้ Unity มาบ้างแล้ว
Unity เป็นเกมเอนจิน ที่รองรับการใช้งานได้ทุกระบบปฏิบัติการ
ไม่ว่าจะเป็น macOS, Microsoft Windows และเว็บเบราว์เซอร์
ที่ทำภาพได้ทั้งแบบ 2D และจะโดดเด่นเรื่อง 3D เป็นพิเศษ
ในสมัยก่อน บริษัทพัฒนาเกมแต่ละแห่งจะนิยมสร้างเกมเอนจินเป็นของตัวเอง แต่สมัยนี้บริษัทพัฒนาเกมจะหันมาใช้เกมเอนจินมากขึ้น เพื่อประโยชน์ในการประหยัดต้นทุน และความสะดวกรวดเร็ว สามารถปรับแต่งได้ง่าย
ถ้าให้นึกภาพแบบง่าย ๆ ตัวอย่างเช่น งานออกแบบกราฟิก ผู้ออกแบบจะนิยมใช้ซอฟต์แวร์ชื่อ Adobe Illustrator แต่สำหรับการพัฒนาเกมแล้ว Unity จะเป็นซอฟต์แวร์ ที่ผู้พัฒนาเกมนิยมใช้กัน
ผู้พัฒนาเกมที่ใช้งาน Unity ยังสามารถทำเกมออกมาเพียงครั้งเดียว แล้วนำไปใช้กับแพลตฟอร์มได้หลากหลายกว่า 20 แพลตฟอร์ม หรือเรียกว่า “Cross-Platform” โดยไม่ต้องเขียนโคดใหม่อีกรอบ ไม่ว่าจะเป็นเกมในเวอร์ชัน PC, Xbox, PlayStation, Nintendo Switch, iOS และ Android
ที่สำคัญก็คือ Unity เป็นแพลตฟอร์มที่ใช้งานง่ายแต่ประสิทธิภาพสูง จนใครก็ตามที่อยากสร้างเกมเองสามารถใช้งานได้ ไม่จำเป็นต้องเขียนโคดเป็น ไม่ต้องเป็นนักพัฒนามืออาชีพ ไม่จำเป็นต้องมีเงินทุนก้อนใหญ่ นักพัฒนาเกมอินดี้หรือคนที่อยากทำเกมเป็นงานอดิเรกก็สามารถทำได้
ซึ่งจุดนี้ก็ทำให้ Unity ต่างไปจากคู่แข่งคนสำคัญอย่าง Unreal Engine ของบริษัท Epic Games ที่เลือกเจาะตลาดค่ายเกมขนาดใหญ่ ที่พัฒนาเกมคุณภาพกราฟิกสูง และเป็นเกมที่เล่นบน PC และเกมคอนโซลเป็นหลัก ยกตัวอย่างเช่น เกม Fortnite และ PUBG
แล้ว Unity มีจุดเริ่มต้นอย่างไร ?
ย้อนกลับไปในปี 2002 หรือเมื่อ 19 ปีก่อน ที่เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก
Nicholas Francis โปรแกรมเมอร์ชาวเดนมาร์ก ที่อาศัยอยู่ในเมืองโคเปนเฮเกน
และ Joachim Ante นักเรียนมัธยมปลาย ที่เรียนอยู่ในประเทศเยอรมนี
ทั้งคู่กำลังพัฒนาเกมเอนจินของตัวเอง และได้รู้จักกันผ่าน OpenGL ซึ่งเป็น API ที่เกี่ยวกับการใช้งานกราฟิก 2D และ 3D
Francis และ Ante พูดคุยกันถูกคอ เลยชวนกันมาพัฒนาระบบช่วยสร้างภาพ 3 มิติ ที่ใช้งานได้บนเกมเอนจินของเขาทั้งคู่ แต่ต่อมาเมื่อทั้งคู่ได้นัดพบและพูดคุยกัน ก็ตัดสินใจล้มเลิกแผนนั้น แล้วหันมาสร้างเกมเอนจินใหม่ด้วยกัน
ทั้งคู่เช่าแฟลตในเมืองโคเปนเฮเกนเพื่อร่วมกันพัฒนาเกมเอนจิน ซึ่งไม่ไกลจากแฟลตที่พวกเขาเช่า ก็คืออะพาร์ตเมนต์ที่เพื่อนของ Francis ที่ชื่อว่า David Helgason อาศัยอยู่
Helgason เป็นนักพัฒนาเว็บไซต์ฟรีแลนซ์ เมื่อเขาได้พูดคุยและเห็นสิ่งที่ Francis และ Ante ร่วมกันทำอยู่หลายเดือน เขาจึงเริ่มสนใจและเข้ามาร่วมทีมด้วยในที่สุด
จนในปี 2004 Francis, Ante และ Helgason ใช้เงินเก็บและเงินจากพ่อของ Ante ราว 1 ล้านบาท มาร่วมกันก่อตั้งสตูดิโอทำเกมควบคู่ไปกับการพัฒนาเกมเอนจินคุณภาพสูง โดยใช้ชื่อบริษัทว่า “Over the Edge Entertainment (OTEE)”
หลังจากเปิดบริษัทไปได้สักพัก พวกเขาก็เปิดรับสมัคร CEO เพราะมองว่าเทคโนโลยีที่ดีอย่างเดียวไม่เพียงพอต่อการเติบโตของบริษัท ต้องมีผู้นำทางธุรกิจที่เก่งด้วย แต่สุดท้ายแล้วพวกเขาก็ไม่เจอคนที่ถูกใจและมีวิสัยทัศน์ตรงกัน
Helgason ซึ่งถูกลงความเห็นว่าเป็นคนที่เหมาะสมที่สุดในพวกเขา 3 คน จึงเป็น CEO ส่วน Francis เป็น COO และ Ante เป็น CTO
หลังจากพวกเขาพัฒนาเกมเอนจินสำเร็จ ก็ทดลองนำมาใช้สร้างเกม จนกระทั่ง OTEE ได้เปิดตัวเกมแรกที่ชื่อว่า GooBall ในเดือนมีนาคม ปี 2005
แต่เกม GooBall ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ซึ่ง Ante ก็ได้วิเคราะห์ว่าคงเพราะเกมเล่นยากเกินไป
แต่ความพยายามที่ผ่านมาก็ไม่ได้สูญเปล่า เพราะพวกเขาได้เห็นแล้วว่าเกมเอนจินที่ร่วมกันพัฒนามา มีศักยภาพสูงพอที่จะต่อยอดไปให้คนมากมายใช้งานได้
ทั้ง 3 คนเลยเปลี่ยนใจจากการทำเกม มาเป็นการพัฒนาเครื่องมือทำเกมแทน ซึ่งพวกเขาได้ใช้เงินที่ได้จากการขายเกม GooBall มาจ้างนักพัฒนาซอฟต์แวร์เพิ่ม
อีก 3 เดือนถัดมา OTEE ได้เปิดตัวเกมเอนจินที่ชื่อ “Unity” ในงาน Apple Worldwide Developers Conference (WWDC) ที่เริ่มจากเป็นเกมเอนจินที่มีเฉพาะใน MAC OS X และหลังจากนั้นไม่นานก็มีให้ใช้งานได้ใน Microsoft Windows และเว็บเบราว์เซอร์
ช่วงแรกที่เปิดตัว ผู้ใช้งานหลักของ Unity ก็คือคนที่ทำเกมเป็นงานอดิเรกและนักพัฒนาอินดี้แบบที่ทางบริษัทได้ตั้งใจไว้ โดย OTEE มีรายได้จากการเก็บค่า Subscription หรือค่าบริการรายเดือนหรือรายปี
ผ่านไป 2 ปี ในปี 2007 บริษัทได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น Unity Technologies
ในปีเดียวกันนี้ บริษัท Apple ก็ได้เปิดตัว iPhone เป็นครั้งแรก
ซึ่งทำให้ Unity ได้เริ่มพัฒนาเป็นแอปพลิเคชันสำหรับใช้งานบน iPhone
แต่ที่สำคัญกว่านั้นก็คือ iPhone ได้กลายมาเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้ตลาดเกมทั่วโลกเติบโตอย่างก้าวกระโดด จากเกมบนสมาร์ตโฟนและแท็บเล็ต จนกลายมาเป็นจุดพลิกผันที่ทำให้ผู้ใช้งาน Unity เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ปี 2009 Unity Technologies ได้ย้ายสำนักงานไปยังเมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นเมืองแห่งเทคโนโลยีที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะกับการเติบโตของสตาร์ตอัป
จนในที่สุด Unity Technologies ก็สามารถระดมทุน Series A ได้จาก Sequoia Capital ซึ่งเป็น Venture Capital อันดับต้น ๆ ของโลก
แต่ในปี 2013 หนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทอย่าง Francis ก็ขอลาออกจากตำแหน่ง COO ของบริษัท
หลังจากนั้นเพียงปีเดียว Helgason ก็ขอลงจากตำแหน่ง CEO แต่ยังคงเป็นกรรมการบริษัทอยู่ ซึ่งเขาให้เหตุผลว่าบริษัทเริ่มใหญ่ขึ้นแล้ว ปัจจุบันมีเพียง Ante ที่ยังคงเป็น CTO ต่อจนถึงปัจจุบัน
CEO ที่ได้รับความไว้วางใจให้มารับตำแหน่งต่อจาก Helgason ก็คือ “John Riccitiello” อดีต CEO ของ Electronic Arts (EA) โดย Helgason บอกว่า Riccitiello คือคนที่เหมาะสมกับตำแหน่งนี้ที่สุด
และก็เป็นไปตามที่ Helgason พูด เพราะตั้งแต่ที่ Riccitiello เข้ามา ก็ได้ทำให้ Unity เป็นมากกว่าเกมเอนจิน
Unity เริ่มให้บริการอื่นเพื่อสนับสนุนผู้พัฒนาเกมในหลาย ๆ ด้าน ให้ครบวงจรมากขึ้น
โดยเฉพาะบริการที่ดูแลเรื่องการหารายได้จากเกมให้กับผู้พัฒนา
ยกตัวอย่างเช่น การเป็นพันธมิตรกับบริษัทโฆษณาขนาดใหญ่เพื่อดึงให้มาโฆษณาในเกม
ซึ่งก็จะทำให้ผู้พัฒนาเกมมีรายได้จากค่าโฆษณา และ Unity ก็ได้ส่วนแบ่งค่าโฆษณานั้นด้วย
และหนึ่งในจุดพลิกผันที่สำคัญที่สุด เกิดขึ้นในปี 2016 เมื่อเกม Pokémon GO ที่สร้างความฮือฮาด้วยการใช้ AR ในเกมบนสมาร์ตโฟน จนได้รับความนิยมแบบถล่มทลายไปทั่วโลก เป็นเกมที่พัฒนาโดยใช้ Unity
ความสำเร็จของ Pokémon GO ก็ทำให้ในปีนั้น Unity กลายเป็นสตาร์ตอัปเนื้อหอมที่ดึงดูดให้นักลงทุนเข้ามาระดมทุนอย่างรวดเร็ว จนบริษัทได้มีมูลค่าประเมินทะลุ 32,000 ล้านบาท กลายเป็นสตาร์ตอัปยูนิคอร์นทันที
ในที่สุด Unity ก็เข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กในปลายปี 2020 ซึ่งปัจจุบันบริษัท Unity มีมูลค่า 1.2 ล้านล้านบาท
แล้วผลประกอบการที่ผ่านมาของ Unity เป็นอย่างไร ?
ปี 2018 รายได้ 12,400 ล้านบาท ขาดทุน 4,300 ล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 17,700 ล้านบาท ขาดทุน 5,300 ล้านบาท
ปี 2020 รายได้ 25,200 ล้านบาท ขาดทุน 9,200 ล้านบาท
รายได้เติบโตได้ปีละกว่า 40% และบริษัทยังมีอัตรากำไรขั้นต้น หรือรายได้หักต้นทุนสินค้าและบริการสูงถึงเกือบ 80% แต่ที่บริษัทยังขาดทุนก็เพราะว่า Unity ใช้เงินไปกับการลงทุนวิจัยและพัฒนาที่สูงเช่นกัน
ซึ่งสูงในระดับที่เป็นสัดส่วนเกินกว่าครึ่งหนึ่งของรายได้
สำหรับการคิดค่า Subscription ของ Unity จะเป็นระบบ Freemium คือมีทั้งแบบใช้งานได้ฟรีและแบบจ่ายเงิน ที่มีให้เลือก 3 แพ็กเกจ จากระดับราคาน้อยไปมาก คือ Pro, Premium และ Enterprise
Unity ยังกำหนดเพิ่มเติมว่า ผู้พัฒนาจะยังใช้บริการแบบฟรีได้
แต่ถ้ารายได้หรือเงินทุนของผู้พัฒนามากกว่า 3.2 ล้านบาท ใน 12 เดือนที่ผ่านมา จะต้องใช้แพ็กเกจระดับ Plus หรือสูงกว่า และถ้ารายได้หรือเงินทุนของผู้พัฒนามากกว่า 6.4 ล้านบาท ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา จะต้องใช้แพ็กเกจระดับ Pro หรือ Enterprise
อย่างไรก็ตาม รายได้ที่มาจากค่า Subscription กลับไม่ใช่รายได้หลักของ Unity เพราะมีสัดส่วนเพียง 26.5% ของรายได้ทั้งหมด
แต่รายได้หลักของ Unity ที่เป็นสัดส่วนรายได้ 66.8% มาจาก Operate Solutions หรือบริการที่ช่วยสนับสนุนการทำเงินจากเกมให้กับผู้พัฒนาเกม เช่น ค่าโฆษณา ซึ่งเป็นส่วนที่ CEO อย่างคุณ Riccitiello เริ่มต่อยอดมาตั้งแต่เข้ารับตำแหน่ง
ส่วนรายได้อีก 6.7% มาจากบริการอื่น ๆ เช่น จาก Asset Store ที่เป็น Marketplace ให้ผู้ใช้งานไปซื้อขายงานและโคดกันได้
นอกจากวิดีโอเกมแล้ว Unity ยังกลายมาเป็นซอฟต์แวร์ที่นิยมใช้กับงาน 3D ในงานอื่นด้วย อย่างเช่น งานออกแบบ 3D งานภาพยนตร์ งานออกแบบสถาปัตยกรรม หรืองานออกแบบรถยนต์
ยกตัวอย่างเช่น ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่ BMW ใช้สร้างภาพเคลื่อนไหวจำลองเพื่อทดสอบระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ และ Honda ใช้ออกแบบรถ หรือในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่ Disney ใช้ Unity ทำภาพแบ็กกราวนด์ในภาพยนตร์เรื่อง The Lion King เวอร์ชันปี 2019
แต่ที่น่าจับตามองที่สุด ก็คงเป็นเมกะเทรนด์อย่าง AR และ VR ซึ่งข้อมูลในปัจจุบันระบุว่ากว่า 60% ของคอนเทนต์ AR และ VR ทั้งหมด ทำโดยใช้ Unity
ทั้งหมดนี้คือเรื่องราวของ Unity ที่มีจุดเริ่มต้นมาจากการพัฒนาเครื่องมือสร้างวิดีโอเกมให้ใครก็ตามที่อยากสร้างเกมได้ใช้ และต่อยอดจนกำลังจะกลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างโลกเสมือน
ซึ่งก็ไม่แปลกเลยที่ปัจจุบัน บริษัทแห่งนี้ได้กลายเป็นผู้อยู่เบื้องหลังวิดีโอเกม กว่าครึ่งหนึ่งของโลก เลยทีเดียว..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://techcrunch.com/2019/10/17/how-unity-built-the-worlds-most-popular-game-engine/
-https://techcrunch.com/2009/08/14/interview-nicholas-francis-coo-of-unity-the-leading-iphone-game-development-platform/
-https://techcrunch.com/2020/09/10/how-unity-built-a-gaming-engine-for-the-future/
-https://theorg.com/insights/with-news-unity-technologies-is-going-public-the-org-looks-into-the-key
-https://www.cbinsights.com/research/game-engines-growth-expert-intelligence/
-http://web.wpi.edu/Pubs/E-project/Available/E-project-030614-143124/unrestricted/Haas_IQP_Final.pdf
-https://investors.unity.com/overview/default.aspx
同時也有246部Youtube影片,追蹤數超過40萬的網紅David Teo,也在其Youtube影片中提到,Permintaan yang tinggi terhadap telefon pintar menyebabkan muncul pelbagai jenama di dalam pasaran global. KECANGGIHAN KERETA API KELAJUAN TINGGI DI ...
「iphone api」的推薦目錄:
- 關於iphone api 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於iphone api 在 Facebook 的最佳解答
- 關於iphone api 在 Facebook 的最讚貼文
- 關於iphone api 在 David Teo Youtube 的最佳貼文
- 關於iphone api 在 iMoD Official Youtube 的最佳解答
- 關於iphone api 在 iMoD Official Youtube 的最佳貼文
- 關於iphone api 在 蘋果對應iPhone及iPad使用的「Object Capture」API介紹 的評價
- 關於iphone api 在 Facebook SDK for iOS - Documentation - Meta for Developers 的評價
iphone api 在 Facebook 的最佳解答
Hai gã nhà giàu Facebook, Apple "ghét" nhau từ thời Steve Jobs.
Apple giới thiệu iPad năm 2010 nhưng đến tháng 10/2011 mới có ứng dụng Facebook cho iPad. Trong thời gian này, một kỹ sư Facebook thậm chí còn bỏ cuộc và viết trên blog lý do trì hoãn là vì quan hệ căng thẳng với Apple.
Tháng 7/2011, Giám đốc phần mềm khi đó của Apple là Scott Forstall gửi email cho cựu Giám đốc tiếp thị Phi Schiller và Steve Jobs. Trong thư, ông nói đến chuyện đã trao đổi với Mark Zuckerberg về ứng dụng Facebook iPad. Ông nói với Mark rằng Facebook không nên đưa "ứng dụng được nhúng" vào. "Không bất ngờ khi anh ta không vui vẻ với điều này do anh ta xem chúng là một phần của "trải nghiệm Facebook tổng thể" và không dám chắc họ có nên làm ứng dụng iPad mà không có chúng hay không", Forstall viết.
Thời điểm ấy, Facebook đang biến mạng xã hội thành nền tảng cho game và ứng dụng. Nổi tiếng nhất chính là game nông trại Farmville, nơi người làm vườn trong tài khoản Facebook của họ. Facebook muốn Apple nhượng bộ và đưa ra 4 gợi ý song Steve Jobs muốn loại bỏ gợi ý thứ ba. Đặc biệt, ông còn viết nhầm tên Facebook thành "Fecebook".
Ba ngày sau, Forstall làm theo và đã có cuộc nói chuyện dài với Mark. Facebook không thích ý tưởng cấm ứng dụng Facebook liên kết với Safari của Apple. Schiller phản hồi: "Tôi không hiểu vì sao chúng ta muốn làm điều này. Tất cả ứng dụng này không phải ứng dụng gốc (do Apple phát triển – PV), họ không có quan hệ hay xin phép chúng ta, họ không sử dụng API hay công cụ của chúng ta, họ không dùng cửa hàng của chúng ta…".
Vài năm gần đây, quan hệ giữa hai gã khổng lồ công nghệ Mỹ tiếp tục nóng lên khi năm ngoái, Facebook công khai chỉ trích Apple lạm dụng quyền kiểm soát App Store và iPhone để "làm tổn hại nhà phát triển và người dùng". CEO Apple Tim Cook lại phê phán cách Facebook xử lý quyền riêng tư của người dùng. Apple còn sử dụng Facebook làm ví dụ cho tính năng mới "không theo dõi" trên iOS 14.5.
Trong nhiều năm, Tim Cook của Apple đã nói rằng Facebook coi người dùng của mình như một sản phẩm để kiếm tiền từ quảng cáo và lập lờ về quyền riêng tư của họ. Trong khi đó, Mark Zuckerberg nói rằng các sản phẩm của Apple rất đắt đỏ và nó có động cơ ngầm nhằm hướng chỉ trích tới Facebook.
Năm ngoái, theo New York Times, Apple thậm chí đã cắt bỏ các công cụ dành cho nhà phát triển của Facebook.
Chương mới nhất trong cuộc chiến giữa hai công ty diễn ra vào tuần trước đã làm cho mối quan hệ thậm chí trở nên tồi tệ hơn.
Xát muối vào vết thương
Đầu năm nay, Apple đã thông báo họ sẽ giới thiệu tính năng App Tracking Transparency (Theo dỗi tính minh bạch của ứng dụng) để cho phép mọi người kiểm soát dữ liệu của họ tốt hơn.
Điều quan trọng là khách hàng có thể lựa chọn dữ liệu nào của họ - trước đây được bàn giao theo mặc định - sẽ được sử dụng bởi các ứng dụng như Facebook.
Đó là một vấn đề lớn đối với Facebook, công ty bán các quảng cáo nhắm mục tiêu để kiếm lợi nhuận hấp dẫn. Facebook nói một cách công khai rằng điều này sẽ gây thiệt hại cho hoạt động kinh doanh của công ty họ.
Tuy nhiên, Apple đã hoãn các thay đổi được đề xuất cho đến năm sau, để các nhà phát triển có thời gian chuẩn bị. Trong một bức thư nêu rõ lý do tại sao thay đổi bị trì hoãn vào tuần trước, Jane Hovarth của Apple đã không thể ngừng bình luận nhắm vào công ty của Zuckerberg: "Các giám đốc của Facebook đã nói rõ ý định của họ là thu thập càng nhiều dữ liệu càng tốt. Sự coi thường quyền riêng tư của người dùng này tiếp tục mở rộng."
Facebook phản pháo lại rằng: "Họ đang sử dụng vị trí thống lĩnh thị trường của mình để tự ưu tiên thu thập dữ liệu của riêng mình, trong khi khiến đối thủ cạnh tranh của họ gần như không thể sử dụng cùng một bộ dữ liệu. Họ tuyên bố đó là về quyền riêng tư - nhưng nó là về lợi nhuận."
Điều đó chẳng khác nào xát muối vào vết thương đối với Apple, công ty luôn tự hào về niềm tin rằng mình có một mô hình kinh doanh cao cả hơn Facebook.
Từ năm 2010, người đồng sáng lập Apple Steve Jobs đã cảnh báo Facebook về quyền riêng tư. Và vào năm 2018, ông Cook, giám đốc điều hành hiện tại của Apple, nói rằng ông có thể đã theo chân Facebook, sử dụng dữ liệu để bán quảng cáo nhưng "chúng tôi quyết định không làm điều đó".
Một trong những quảng cáo truyền hình phổ biến nhất ở Mỹ vào mùa thu này là chiến dịch bảo mật của Apple. Trong quảng cáo, nhiều người đã thốt ra những điều đáng xấu hổ mà họ đã tìm kiếm trên internet cho những người lạ ngẫu nhiên. Khẩu hiệu của quảng cáo đó là: "Một số thứ không nên chia sẻ - iPhone giúp bạn giữ kín điều đó."
Vì vậy, Apple rõ ràng tin rằng quyền riêng tư là của mọi người, và thật kỳ lạ nếu Apple phá hoại niềm tin này của họ, như lời Facebook buộc tội.
Không công bằng đối với các nhà phát triển
Tuy nhiên, nhiều bên chính giới đã mô tả Apple là một công ty độc quyền. Công ty này đang thực hiện một loạt các hành động pháp lý, sau khi bị cáo buộc lạm dụng App Store của mình để áp đặt các điều khoản không công bằng cho các nhà phát triển.
Và sau đó có những cáo buộc rằng họ không trả đủ thuế theo lợi nhuận, điều mà Apple đã phủ nhận.
Vào năm 2014, khi Cook lần đầu tiên công khai chỉ trích Facebook vì coi khách hàng của mình như một sản phẩm, giám đốc điều hành Facebook đã phản pháo lại, nói với tạp chí Time: "Tôi thất vọng là nhiều người ngày càng đánh đồng một mô hình kinh doanh quảng cáo không phù hợp với khách hàng của bạn bằng cách nào đó. Bạn nghĩ sao, vì bạn đang trả tiền cho Apple mà bằng cách nào đó bạn phù hợp với họ? Nếu bạn phù hợp với họ, thì họ sẽ làm cho sản phẩm của họ rẻ hơn rất nhiều".
Trong một phỏng vấn được đăng trên trang bìa của Tạp chí Time năm 2014, người đứng đầu Facebook đã chỉ trích lập trường của Apple và Tim Cook về quyền riêng tư. "Tôi đã rất thất vọng khi ngày càng có nhiều người cho rằng mô hình kinh doanh bằng quảng cáo là không phù hợp với người dùng. Tôi nghĩ thật nực cười", Zuckerberg nói. "Bạn nghĩ rằng mình đang trả tiền cho Apple thì bạn đứng ngang hàng với họ? Nếu bạn là đồng minh với họ thì đã làm cho sản phẩm của họ rẻ hơn rất nhiều rồi".
Cuộc chiến kỳ lạ
Điều kỳ lạ hơn nữa của sự coi khinh lẫn nhau này là sự phụ thuộc của hai công ty vào nhau. iPhone sẽ kém hấp dẫn hơn với nhiều khách hàng nếu Facebook (cùng với WhatsApp và Instagram) không có trên điện thoại của họ. Ngược lại, liệu mọi người có tìm kiếm các nền tảng mạng xã hội khác nếu họ không thể sử dụng Facebook trên iPhone không?
Cả hai công ty có một mối quan hệ làm việc lành mạnh và bền chặt là một viễn cảnh hợp lý, nhưng nó lại không xảy ra.
Chuyên gia của Apple, Carolina Milanesi là một trong số nhiều người tin rằng hai công ty nhìn thế giới theo cách khác nhau và mối hiềm khích giữa họ là văn hóa và cá nhân.
Bà nói: "Về mặt triết lý, họ rất khác nhau. Khi bạn đang nhìn vào Apple, nếu công ty cảm thấy thù ghét về cách Facebook đang hành xử chống lại khách hàng của họ, vậy tại sao chúng tôi lại bao gồm Facebook như một ứng dụng trên các thiết bị của Apple?"
Và đó là điểm mấu chốt của vấn đề. Cho đến nay, đây là cách mà hai công ty không hòa hợp với nhau. Nhưng đó là một cuộc chiến giả: thực sự thì mối quan hệ giữa hai công ty mang tính chất cộng sinh.
Tuy nhiên, những gì Apple hiện đang đề xuất không phải là giả tạo. Nỗi ám ảnh về quyền riêng tư của Apple không phải là một tín hiệu tốt cho Facebook. Các quy tắc mới của Apple sẽ làm tổn thương mạng xã hội này.
Trong tất cả các cặp đối thủ có khả năng xảy ra trong lĩnh vực công nghệ lớn, Facebook và Apple dường như ít có khả năng xảy ra nhất. Google là đối thủ cạnh tranh rõ ràng của Facebook; và Microsoft và Google là của Apple. Nhưng vấn đề về quyền riêng tư đã châm ngòi cho một cuộc chiến dai dẳng giữa Facebook và Apple.
Nguồn: Cafebiz
iphone api 在 Facebook 的最讚貼文
想收到完整M觀點精華摘要嗎?歡迎訂閱免費電子報〔M報〕https://bit.ly/345gBbA
[ 微軟發表 Win11 ]
■ 微軟上禮拜發布了最新的 Win11,將成為最新一代的 Windows。
• 目前預計在今年底,大約是holiday season(從11月底到12月中)時正式發布,到時候 Win10 用戶可以免費升級。
• 這消息一公布,馬上被大家笑,為什麼?因為 Satya Nadella 曾經說過,Win10 將會是微軟最後一代的 Windows。
• 我猜Nadella原本計畫應該是,要搞到像 Office 365 訂閱制這樣,每年不斷更新,一直維持在最新版就好。
• 但為何Nadella食言呢?我認為有兩種可能。
• 第一,我覺得不同層次(layer)的軟體本來就不一樣,像作業系統這種很核心的東西,是很難一直用雲端無痛升級的。有些時候你要做出很大的調整,可能就會讓某些舊東西無法繼續使用,甚至有硬體配合的問題。而Office是在作業系統上的應用軟體,就比較能在雲端上不斷升級,也不會造成舊東西失效或硬體衝突等問題。
• 另一方面,也很可能跟商業策略有關。上周有聊到,Nadella最重要的策略是把微軟從Windows公司轉成雲端服務的公司。
• 微軟的說法是,Windows已經是我們這間公司的過去,不是我們公司的未來。但或許2020年以後的現在,微軟的想法可能又有點改變了,他們在商業策略上也可能會做出一些調整。用英文來說可能比較清楚: Windows is the past.....but maybe not yet.
• 那就來看看Win11這次發布了什麼東西吧。
■ Windows 使用介面的調整(UI / Live Tiles 動態磚)
• 第一個,可能是第一眼看到的變動,把一直以來預設在最左下腳的「開始」按鈕,移到下方列的中間,但使用者也可以自行調回左邊。
• 有些人認為這可能是致敬 ChromeOS + MacOS。我個人是覺得還好,因為我對於 UI 層級的改變沒有興趣,這只是一種習慣性的差異,對我來說只是雞毛蒜皮小事,根本沒差。
• 不過在UI方面,微軟有了一個大改變,正是終結了Live Tiles動態磚的概念,這算是一件大事。
• 這東西是從Windows Phone 7 開始引進的概念,到Windows 8 時開始搬到電腦上。
• 但實驗了幾年,可能認為這個概念無法真的讓消費者與市場接受。所以微軟決定取消動態磚。
• Windows 也正式取消了它們的平板模式(Tablet Mode),這可能是因為使用者太少,加上多一種模式可能製造更多的bug問題。雖然可惜,
• 但其實我覺得 Tablet Mode 是平板與手機的最佳操作模式,比iPhone跟Android的操作模式都好,可惜微軟沒辦法在這種操作模式上建立生態系。所以雖然可惜,但我認為確實是正確決定。
■ Teams / Skype
• 剛剛第一個使用者介面的調整,我覺得沒有那麼重要,但接下來幾個就蠻重要了。
• 第二個重點,是微軟要把 視訊會議與通訊軟體的Teams,整合進 Windows。以後電腦一安裝完,就會內建 Teams。
• 很明顯的,微軟是要放棄之前強推的 Skype,把公司的要進攻通訊軟體的主力,押寶在 Teams 上。
• 為什麼會做出這個選擇,答案很簡單,因為Teams在去年大幅成長,而Skype相對已經不在大家討論的核心裡面。這當然對 Teams 的推廣上會有很大的幫助。
• Teams 目前的主要使用場域,當然是企業內部的通訊應用為主,而且在很多公司內部根本就是最核心的軟體。當然不能用LINE,因為LINE只是消費級軟體,而Teams是企業級的。
• 現在微軟把Teams放到Win11,象徵性意義就是不只要讓 Teams成為企業內部的溝通軟體,還要把目標推廣到一般大眾生活通訊的使用,就像當年的 MSN Messenger ,或現在台灣人使用LINE這樣。
• 這個策略能否產生更廣泛的使用,還有待觀察。畢竟這年代要只靠內建,就打倒已經有生態系的應用的軟體 (像是ZOOM、LINE、FB-MESSENGER),其實沒那麼容易,而且Windows的影響力已經不如當年。
• 以前微軟的Teams只免費放在企業版的Windows裡,家用版是無法使用的。但現在微軟打算把Teams也內建到一般人常用的版本,就可以用來做生活上的溝通。
• 當年微軟做了一件很蠢的事情,就是放棄在全世界有很多用戶的MSN Messenger,改用Skype。如果當年微軟沒放棄MSN Messenger,我認為或許現在台灣最主流的通訊軟體就不會是LINE了。
• 不過 Teams 的確算微軟現在有競爭力的產品,所以我認為放棄 Skype,主打 Teams 的確是合理的做法。
■ 支援 Android App + Amazon App Store
• 第三個重點,也可能是這次 Win11 發表引起最大討論的點,就是Win11正式支援了Android App,會透過Amazon App Store在Windows上安裝Android App。
• 以前要這樣做,你需要另外安裝模擬器。未來直接透過Amazon App Store就能直接使用。
• 這個策略我覺得非常強大,一口氣大幅增強了 Windows 內部的軟體生態系。以後你可以在電腦上,直接使用大多數的 Android 應用,而且即使這些應用軟體沒有推出 Windows 版本,你也可以在電腦上使用。這就會讓你使用電腦時,不用分心另外用手機。
• 這件事對微軟有兩個意義,一個是會增強Windows作業系統的能力。另一個是,這將會大幅加強微軟在安卓生態系的話語權。
• 以前你推出一個 Android App,當然考量的主要是 Google Play 上的表現,換句話說,擁有話語權的是Google公司。
• 但如果你是Android App開發商,未來很可能你也會考慮在 Windows 平台上的收入。
• 很有趣的是,微軟這次挑選的合作對象,也是他的競爭對手,是AMZN 的App Store 來合作。其實這些科技巨頭彼此都是相互競爭的關係,你說微軟這次跟AMZN合作,是因為他跟GOOG關係比較差,跟AMZN關係比較好嗎,這倒未必,畢竟兩者在雲端市場可是超級競爭的。
• 不過微軟跟AMZN發現,他們在另一個戰場,可以採用與競爭對手結盟來打更強的競爭對手,也就是 GOOG 與AAPL。
• 而AMZN 在 APP STORE 生態系這塊,一直表現很普通,如今也可以透過跟 Windows 的合作來加強地位。也就是未來會多了幾億台的裝置,上面會安裝有AMZN 的App Store。這也會加強AMZN在安卓生態系的話語權。
• 其實在中國,安卓手機可以安裝很多不同的應用商店,因為中國沒有Google Play;但在歐美只有Google Play一家獨大。現在微軟跟AMZN合作,就讓Android體系終於有個能跟Google Play競爭的競爭者。這會讓歐美市場比較像目前的中國市場。
• 這件事對Android軟體開發商也是好事,這代表競爭會變得很激烈,未來Google Play無法再壟斷。如果微軟跟AMZN合作,未來能占到整個安卓生態系的20-30%,雙方就要競爭誰比較好。簡單來說,把AAS做大,可以增加安卓生態系開發商的利益。
■ 微軟也宣布了Microsoft Store的一些改變,這被認為是針對蘋果而來。
• 第一,在Microsoft Store裡面,非遊戲的應用程式可做到不抽成(不使用微軟的金流的狀況下)。對比之下,蘋果是要抽30%的。這對非遊戲的應用程式,當然是很強大的誘因。
• 這點我個人是很期待的。因為大多數的Windows軟體廠商,你要買他們的線上版軟體非常麻煩,除了要上他們官網下載,還要在另外輸入序號,這是非常老派的作法了。現在這個年代的做法,應該是開個應用程式商店,讓消費者直接在上面刷卡購買,日後換電腦也可以直接安裝。總之,現在微軟做這件事,對非遊戲的軟體開發商應該有很強的誘因。
• 微軟這次的做法,跟蘋果的App Store有個很大的差別是,他們開放外部付費。也就是說不強制綁定微軟的金流,甚至可以讓消費者連到開發商自己的網站上付費。
• 這對於Spotify 應該是最有感的,Spotify應該很痛恨他們在蘋果App Store要被抽30%這件事,巴不得使用者直接去他們網站訂閱。但在iPhone上的App Store,是沒辦法讓使用者外連到其他網站的。
• 還有另一件事,微軟Microsoft Store可以接受「AppStore within AppStore」,允許在他們的Microsoft Store裡,可以有其他的應用程式商店。這件事是被蘋果禁止的,所以你看不到App Store裡有Steam或Epic Games Store。
• 這基本上就是打臉蘋果,而且我認為會對蘋果造成蠻大的壓力。
• 我們必須把微軟這次Win11的發表,當成是微軟全面和蘋果開戰的訊號。
■ Windows as a platform
• Satya Nadella 這次就出來談平台這件事。他說,一個好的平台,是要能夠讓他的平台上能長出比平台更偉大的東西。
• 這很明顯是針對 AAPL 而來,會替蘋果在反壟斷上創造很大的壓力。畢竟,微軟都可以這樣做了,為何你不能。
• 也就是微軟要以一個開放性的平台(Open Platform),來挑戰蘋果的封閉性平台。
• 理論上,開放性平台這個大旗子,應該是GOOG要舉的,但GOOG很明顯在捍衛開放性平台這件事情上,沒有領袖風範。我覺得微軟這次的策略,會對手機與電腦軟體產業,會帶來很大的改變。
• Nadella就說,微軟未來開放的Win11,所有第三方廠商軟體,可以接觸跟微軟自家軟體完全相同的 API,所有的API都開放。這跟蘋果的差別待遇不同,因為蘋果有很多API是只有他們家的第一方軟體可以用。
• 這個思考是我覺得為何微軟重新把Windows當成他們核心的原因之一,他們看到了蘋果封閉型平台缺點的趨勢,而這個缺點是開放性平台有機會取而代之的。
• 這次微軟的幾個策略,也代表了微軟要重新回到平台戰爭裡。我認為相當有趣,而我也看好微軟,因為現在的微軟有很清楚的願景,它知道一個平台在開放時,能得到什麼利益。
• 這跟蘋果的封閉型平台策略,到底誰輸誰贏呢?我覺得可能不會有哪一方真正勝出,但開放性的概念,我覺得會很受整個生態系的歡迎。
(想看其他主題的重點整理嗎?歡迎訂閱M報)
https://bit.ly/345gBbA
iphone api 在 David Teo Youtube 的最佳貼文
Permintaan yang tinggi terhadap telefon pintar menyebabkan muncul pelbagai jenama di dalam pasaran global.
KECANGGIHAN KERETA API KELAJUAN TINGGI DI CHINA.
https://youtu.be/3kGJwSAN9hs
AKHIRNYA MH370 DITEMUI
https://youtu.be/eYkEA3YECXs
LANGKAH MENGGUNAKAN HAND SANITIZER DENGAN BETUL
https://youtu.be/IJ0yIKCbpqY
SIMPTOM COVID-19 YANG ANDA PERLU TAHU!!
https://youtu.be/0cNpZOSmy5A
GEMPA BUMI MENGGEGARKAN KEPULAUAN MALUKU, INDONESIA!
https://youtu.be/yYYiEDprugE
#InfoKini #Iphone #Samsung #IsuSemasa #trending #viral
====================================================
Subscribe Youtube DavidTeo : https://www.youtube.com/user/davidteoMETROWEALTH
Instagram : https://www.instagram.com/davidteo99
Facebook : https://www.facebook.com/davidteo99
SILA LIKE, COMMENT, SUBSCRIBE, & SHARE.
Copyright By / Hakcipta Terpelihara : MIG Pictures.Sdn.Bhd
iphone api 在 iMoD Official Youtube 的最佳解答
ฟีเจอร์เด่นใน iOS 15 ที่เปิดตัวในงาน WWDC21 เมื่อ 7 มิ.ย. 2021 ที่ผ่านมา
เน้นย้ำและให้ความสำคัญเรื่องการเชื่อมต่อ เช่น FaceTime
- FaceTime : รองรับ Spatial Audio ให้ความรู้สึกเหมือนอยู่ในห้องเดียวกัน
- FaceTime : ตัดเสียงรบกวนจากไมค์ เพื่อให้โฟกัสที่เสียงพูด
- FaceTime : มี Grid View เพื่อให้เห็นผู้คนใน FaceTime ได้มากขึ้น
- FaceTime : รองรับ Portrait (หน้าชัดหลังเบลอ)
- FaceTime Link : สร้างลิงก์ห้องประชุมเพื่อเชิญส่งคนอื่นเข้าร่วมได้ทางช่องทางต่าง ๆ
- Share Play : ฟังเพลง ดูวิดีโอ แชร์หน้าจอร่วมกัน ระหว่างการสนทนา FaceTime ได้
- SharePlay API : สำหรับนักพัฒนาเพื่อนำไปใช้ในแอปตัวเองได้ เช่น Disney+, Hulu, TikTok,
twitch
- Share Play : รองรับทุกอุปกรณ์ที่ใช้ FaceTime ได้
- Message : ดูภาพหลายภาพในห้องสนทนาได้ง่ายขึ้น
- Share with you : ดูได้ว่ามีใครส่งลิงก์ให้เราอ่านแล้วไม่ได้อ่านบ้าง ใช้ได้ทั้ง Apple - Music, Photo, News, Safari, Apple TV, Podcast
- Focus : เพื่อให้ความสำคัญกับสิ่งที่ควรสำคัญ สร้างโฟกัสในแบบของตัวเองได้
- Focus : Notification จัดกลุ่มการแจ้งเตือนให้ดูง่ายขึ้น
- Focus : หากเปิด Do not disturb จะมีข้อความแสดงในห้องสนทนาว่าเราไม่ว่าง และปิดการแจ้งเตือนต่าง ๆ
- Focus : สร้างและจัดกลุ่มแอป กิจกรรม ที่เราต้องการ Focus ได้ เพื่ออนุญาตให้แอปแจ้งเตือนได้ เช่น โหมดทำงาน โหมดนอน
- Live Text : ใช้กล้อง iPhone ถ่ายข้อความจากภาพ แล้วแปลงข้อความจากภาพถ่ายเป็นข้อความเพื่อนไปใช้งานต่อได้
- Live Text : เลือกรูปที่มีข้อความมาแปลงเป็นข้อความได้เลย เช่น เบอร์โทร (ไม่รองรับภาษาไทย)
- Virtual Look up : จดจำภาพที่หน้าจอว่าเป็นภาพอะไร
- Spotlight ฉลาดขึ้น ค้นหาข้อมูลในอุปกรณ์ได้มากกว่าเดิม
- Photo Memories : แถบ For You สร้างวิดีโอจากภาพ ใส่เพลงได้, นำเพลงจาก Appe Music มาใส่ในรูปภาพหรือวิดีโอได้ ปรับแต่งภาพด้วย Memory Mixes
- Photo Memories : เลือกเพลงให้เข้ากับรูปภาพจาก Apple Music มีแนะนำเพลงให้เข้ากับ Mood ภาพด้วย
- Wallet : เพิ่มกุญแจเข้าไปในแอป Wallet เช่น CarKey ของ BMW
- Wallet : สแกนบัตรต่าง ๆ เช่น ใบขับขี่ใส่ Wallet ได้ (สหรัฐ)
- Weather : ปรับดีไซน์ใหม่ ใส่ข้อมูลที่จำเป็นเข้าไป เปลี่ยนกราฟิกของสภาพอากาศด้วย
- Weather : ภาพพื้นหลังเคลื่อนไหวที่ถูกออกแบบมาอย่างสวยงาม ซึ่งจะแสดงตำแหน่งของดวงอาทิตย์รวมถึงปริมาณฝน ปริมาณหิมะได้แม่นยำยิ่งขึ้น
- Maps : เพิ่มรายละเอียดแผนที่ไปในประเทศอื่น ๆ มากขึ้น (ไม่มีไทย)
- Maps : เพิ่มรายละเอียดของสถานที่สำคัญต่าง ๆ เช่น สีถนน สีตึก สีสะพาน
- Maps : มี Driving Mode แบบ 3 มิติ ที่จะทำให้การขับขี่ในเมืองดีขึ้น มีการเพิ่มรายละเอียดบนถนนมากขึ้น เช่น จุดกลับรถ เลนรถสาธารณะ
- Maps : สแกน และบอกเส้นทางด้วย AR ได้ (ไม่มีในไทย)
?อุปกรณ์ที่ได้อัปเดต iOS 15
ทุกรุ่นที่ใช้งาน iOS 14 ได้สามารถอัปเดต iOS 15 ได้เช่นกัน นั่นหมายความว่า iPhone 6s, 6s Plus ที่เปิดตัวตั้งแต่ปี 2015 ก็ยังสามารถอัปเดตได้
- iPhone 12
- iPhone 12 mini
- iPhone 12 Pro
- iPhone 12 Pro Max
- iPhone SE (รุ่นที่ 2)
- iPhone 11
- iPhone 11 Pro
- iPhone 11 Pro Max
- iPhone XS
- iPhone XS Max
- iPhone XR
- iPhone X
- iPhone 8
- iPhone 8 Plus
- iPhone 7
- iPhone 7 Plus
- iPhone SE (รุ่นที่ 1)
- iPhone 6s
- iPhone 6s Plus
- iPod touch (รุ่นที่ 7)
⁉️ iOS 15 จะอัปเดตได้เมื่อไหร่?
iOS 15 ปล่อยให้นักพัฒนาได้อัปเดตแล้วที่ developer.apple.com ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป สำหรับเวอร์ชันทดสอบสำหรับบุคคลทั่วไปจะปล่อยให้ลองในเดือนกรกฎาคม 2021 ส่วนการเปิดให้ใช้งานพร้อมกันทั่วโลกนั้นจะเป็นช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม 2021 นี้
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม https://www.iphonemod.net/apple-annouce-ios-15.html
? สรุปเปิดตัวซอฟต์แวร์อื่น ๆ
- เปิดตัว macOS 12 Monterey https://youtu.be/-fNZbOJLl4Y
- เปิดตัว watchOS 8 https://youtu.be/Xt3qI41Ac1s
- เปิดตัว iPadOS 15 https://youtu.be/9hoEo3hcnvA
#iOS15 #iOS #WWDC21 #iMoD
iphone api 在 iMoD Official Youtube 的最佳貼文
เปิดตัวแล้ว iOS 15 มาดู iPhone รุ่นไหนบ้างที่ได้อัปเดตต่อกันบ้าง
✅ รุ่นที่รองรับ iOS 15
iPhone 12
iPhone 12 mini
iPhone 12 Pro
iPhone 12 Pro Max
iPhone SE (รุ่นที่ 2)
iPhone 11
iPhone 11 Pro
iPhone 11 Pro Max
iPhone XS
iPhone XS Max
iPhone XR
iPhone X
iPhone 8
iPhone 8 Plus
iPhone 7
iPhone 7 Plus
iPhone SE (รุ่นที่ 1)
iPhone 6s
iPhone 6s Plus
iPod touch (รุ่นที่ 7)
?ฟีเจอร์เด่นใน iOS 15
เน้นย้ำและให้ความสำคัญเรื่องการเชื่อมต่อ เช่น FaceTime
FaceTime : รองรับ Spatial Audio ให้ความรู้สึกเหมือนอยู่ในห้องเดียวกัน
FaceTime : ตัดเสียงรบกวนจากไมค์ เพื่อให้โฟกัสที่เสียงพูด
FaceTime : มี Grid View เพื่อให้เห็นผู้คนใน FaceTime ได้มากขึ้น
FaceTime : รองรับ Portrait (หน้าชัดหลังเบลอ)
FaceTime Link : สร้างลิงก์ห้องประชุมเพื่อเชิญส่งคนอื่นเข้าร่วมได้
Share Play : ฟังเพลง ดูวิดีโอ แชร์หน้าจอร่วมกัน ระหว่างการสนทนา FaceTime ได้
SharePlay API : สำหรับนักพัฒนาเพื่อนำไปใช้ในแอปตัวเองได้ เช่น Disney+, Hulu, TikTok, twitch
Share Play : รองรับทุกอุปกรณ์ที่ใช้ FaceTime ได้
Message : ดูภาพหลายภาพในห้องสนทนาได้ง่ายขึ้น
Share with you : ดูได้ว่ามีใครส่งลิงก์ให้เราอ่านแล้วไม่ได้อ่านบ้าง ใช้ได้ทั้ง Apple Music, Photo, News, Safari, Apple TV, Podcast
Focus : เพื่อให้ความสำคัญกับสิ่งที่ควรสำคัญ
Focus : Notification จัดกลุ่มการแจ้งเตือนให้ดูง่ายขึ้น
Focus : หากเปิด Do not disturb จะมีข้อความแสดงในห้องสนทนาว่าเราไม่ว่าง และปิดการแจ้งเตือนต่าง ๆ
Focus : สร้างและจัดกลุ่มแอป กิจกรรม ที่เราต้องการ Focus ได้ เพื่ออนุญาตให้แอปแจ้งเตือนได้ เช่น โหมดทำงาน
Live Text : ใช้กล้อง iPhone ถ่ายภาพข้อความจากภาพ แล้วแปลงข้อความจากภาพถ่ายเป็นข้อความได้
Live Text : เลือกรูปที่มีข้อความมาแปลงเป็นข้อความได้เลย เช่น เบอร์โทร (ไม่รองรับภาษาไทย)
Virtual Look up : จดจำภาพที่หน้าจอว่าเป็นภาพอะไร
Spotlight ฉลาดขึ้น ค้นหาข้อมูลในอุปกรณ์ได้มากกว่าเดิม
Photo Memories : แถบ For You สร้างวิดีโอจากภาพ ใส่เพลงได้ดีขึ้น, นำเพลงจาก Appe Music มาใช้ได้, ปรับแต่งได้ด้วย Memory Mixes
Photo Memories : เลือกเพลงให้เข้ากับรูปภาพจาก Apple Music มีแนะนำเพลงให้เข้ากับ Mood ภาพด้วย
Wallet : เพิ่มกุญแจใส่ Wallet ได้ เช่น CarKey ของ BMW
Wallet : สแกนบัตรต่าง ๆ เช่น ใบขับขี่ใส่ Wallet ได้ (สหรัฐ)
Weather : ปรับดีไซน์ใหม่ ใส่ข้อมูลที่จำเป็นเข้าไป เปลี่ยนกราฟิกของสภาพอากาศด้วย
Weather : ใส่ข้อมูลคุณภาพอากาศด้วย
Maps : เพิ่มรายละเอียดแผนที่ไปในประเทศอื่น ๆ มากขึ้น (ไม่มีไทย)
Maps : เพิ่มรายละเอียดของสถานที่สำคัญต่าง ๆ เช่น สีถนน สีตึก สีสะพาน
Maps : มี Driving Mode เพิ่มรายละเอียดบนถนนมากขึ้น เช่น จุดกลับรถ เลนรถสาธารณะ
Maps : สแกน และบอกเส้นทางด้วย AR ได้
ข้อมูลเพิ่มเติม https://www.iphonemod.net/apple-annouce-ios-15.html
#iOS15 #WWDC21 #ไอโอเอส15
iphone api 在 Facebook SDK for iOS - Documentation - Meta for Developers 的美食出口停車場
Integrate your iOS app with Facebook to build engaging social apps by using the Facebook SDK for iOS. ... <看更多>
iphone api 在 蘋果對應iPhone及iPad使用的「Object Capture」API介紹 的美食出口停車場
蘋果對應 iPhone 及iPad使用的「Object Capture」 API 介紹—mashdigi.com. 242 views · 2 months ago ...more. Mash Yang. 1.37K. Subscribe. ... <看更多>