#我到底讀了什麼
沙皇伊凡五世(Ivan V)的女兒安娜(Анна Ивановна)生於 1693 年,有可能是歷史上最著名的去死去死團團長。
根據畫像和文獻記載,她有一張大餅一樣的臉,面貌醜陋到她的叔叔彼得大帝(Peter the Great)都在霸凌她:在她嫁給丈夫威廉公爵的時候,他費盡心力從全莫斯科邀請了 70 幾個侏儒在婚禮上大鬧,暗示安娜是個醜陋又粗魯的女人。
(順帶一提,彼得大帝閒暇之餘的興趣就是繁殖侏儒,他也試著繁殖過巨人,付錢讓一個 228 公分高的男人娶一個差不多高的女人,為了生下巨人小孩。)
安娜才結婚兩個月,丈夫就飲酒過度死了,她急著再婚,給家裡寫了超過 300 封信求偶,可是彼得大帝否決了每個條件符合的對象,漸漸的,安娜放棄再嫁,而開始痛恨婚姻。她變得想要懲罰幸福相愛的人,對於婚禮嗤之以鼻。
後來沙皇彼得二世死於天花,最高秘密委員會(Supereme Privy Council)決定委派安娜為女皇,因為安娜怪異、粗魯,臉又超大,看起來心智能力不足,應該會是個好傀儡。她在即位時被迫宣誓永不能再婚。
然而沒想到,安娜掌權之後,執政極其強勢,不僅把兩萬多名高階軍官流放到西伯利亞,還向土耳其發起戰爭。
你應該也不意外,小時候就會寫日記記錄自己如何殺死小動物的安娜變得性情殘酷,她最有名的殘酷行為,和米哈爾.加立森王子(Prince Mikhali Alekseyevich Galitzine)有關。
他是安娜的情人之一,但安娜忍受不了他和他的義大利天主教妻子非常幸福。雖然米哈爾王子的妻子在新婚後不久就死了,但安娜認為這不足以讓她洩憤,她命令米哈爾在會客室裡扮演一隻雞,每次訪客來的時候就假裝下蛋。
聽起來是大賣場的員工也甘於做到的事情,但你要考慮到,這件事對於一個悲痛的鰥夫來說,實在是太過殘忍了。
懲罰並不止步於此,安娜想要對所有人展現愛情與婚姻有多麼荒謬,於是在 1739 年下令建造一座巨大的冰宮,所有的冰塊都黏在一起,牆壁、地盤都是冰做的,冰宮裡是擺好家具的新娘套房:包括冰做的家具、床、枕頭。
她強迫米哈爾王子和她的一位又老又醜的女僕結婚,婚禮上請一群男女打扮成小丑任群眾嘲笑,尾隨在其後的是一群舉止猥瑣、身體殘障的人。最殘忍的部分是:這對新人被迫在冰宮中度過洞房之夜。
一夜過後,米哈爾王子和女僕沒有凍死。你猜,因為他們的愛情是熊熊烈火,不只在他們心中燃燒,也在冰宮中燃燒,火焰使他們戰勝寒冷嗎?
當然不是!其實是因為他們整晚都在冰宮裡狂奔,打破所有能打破的東西,兩個人靠著不停運動活了下來。
坊間傳說這對夫妻大難不死後,過著幸福快樂的日子,還生了一對雙胞胎,是那個恐怖的夜晚在冰床上打炮的成果。——但現在的歷史學家說不可能,本來就非常虛弱的女僕很可能得了肺炎,過了幾天就死了。
但還是很多人寧可相信雙胞胎的結局。至於痛恨愛情的安娜,隔年十月就死於腎病。她沒有留下繼承人,最為人熟知的就是冰宮的故事。
—-
資料來源:《心碎史:十三則史上最糟糕的分手故事》
—-
(沒有很推薦這本書的文筆,但是書中的故事也太妙了吧!)
#喜歡用聽的可以聽podcast
#來不及解釋了快上車 https://linktr.ee/kyonPC
privy council 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答
พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ 60
(อนึ่งบทความนี้ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์แนวหน้า คอลัม นิสต์ ปรีชาทัศน์ วันศุกร์ ที่ 15 กับ 22 มกราคม 2564 หน้า 2)
ภายใต้รัฐ 2560 ได้กำหนดให้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการตีความกฎหมายมหาชน ของพระองค์เองโดยเฉพาะ แยกพิจารณาการออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การใช้พระราชอำนาจของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยกับการใช้พระราชอำนาจของพระองค์เองแต่มิได้เป็นไปตามลำพังพระราชตามอัธยาศัย ดังนี้
1.1 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัย จะมี 2 ลักษณะ คือ
ลักษณะที่ 1 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยที่ไม่เป็นไปตามลำพังพระองค์เอง มีดังต่อไปนี้
1) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ในกรณีที่ไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรหรือทรงประชวร ทรงผนวช ให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ มาตรา 16
2) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 โดยให้คณะองคมนตรีจัดทำร่างกฎมณเฑียรบาลแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลเดิมตามพระราชดำริ นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วแจ้งไปยังประธานรัฐสภาเพื่อให้นำแจ้ง รัฐสภาทราบ ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป มาตรา 20
3) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแต่งตั้งพระรัชทายาท ซึ่งเป็นไปตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 แล้วแจ้งรัฐสภาทราบ มาตรา 20
4) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการถอดถอนฐานันดรศักดิ์และเรียกคืนเครื่องราชอิสรยาภรณ์ มาตรา 9
ลักษณะที่ 2 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยเพียงลำพังพระองค์เอง เช่น
1) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการเลือก แต่งตั้ง ถอดถอนองคมนตรี อันเป็นมรดกตกทอดมาจากในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดินเป็น The Privy Council แบบของอังกฤษ เป็นองค์กรที่ใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ ทำหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่ทรงปรึกษาและหน้าที่อื่น ๆ มาตรา 11
2) การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระมหากษัตริย์ การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย มาตรา 15
3) การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในอันที่จะยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว มาตรา 81 เมื่อรัฐสภาหรือสภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภามีมติให้ความเห็นชอบในร่างกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งแล้ว ประธานรัฐสภาจะต้องส่งร่างกฎหมายนั้นให้แก่นายกรัฐมนตรีเพื่อให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมาย ภายใน 20 วันและเมื่อนายกรัฐมนตรีนำร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภาขึ้นทูลเกล้าฯถวายพระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชวินิจฉัยได้ 3 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ทรงเห็นชอบภายใน 90 วัน พระมหากษัตริย์ทรงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายในราชกิจจานุเบกษา
กรณีที่ 2 ทรงไม่เห็นชอบด้วยในร่างกฎหมายฉบับนั้นและพระราชทานคืนมายังรัฐสภาภายใน 90 วันนับตั้งแต่วันที่นายกรัฐมนตรีทูลเกล้าถวาย อันถือว่าทรงยับยั้ง (veto) โดยชัดแจ้ง
กรณีที่ 3 คือพระมหากษัตริย์ไม่ทรงผ่านพระราชทานร่างกฎหมายที่นายกรัฐมนตรีทูลเกล้าฯ และส่งมายังรัฐสภาภายใน 90 วันซึ่งเมื่อเวลา 90 วันล่วงพ้นไปก็ถือว่าพระมหากษัตริย์ทรง ยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายนั้นโดยปริยาย ซึ่งเมื่อพระมหากษัตริย์จะทรง ยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยายก็ตาม รัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) จะต้องพิจารณาทบทวนร่างพระราชบัญญัติฉบับนั้นอีกครั้งหนึ่ง และหากรัฐสภาลงมติร่างกฎหมายนั้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้ง 2 สภา นายกรัฐมนตรีจะต้องนำร่างกฎหมายฉบับนั้นทูลเกล้าถวายฯอีกครั้งหนึ่ง และหากพระมหากษัตริย์ไม่ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยภายใน 30 วัน นายกรัฐมนตรีจึงนำร่างกฎหมายฉบับนั้นไปประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ทรงได้ลงพระปรมาภิไธย
แต่ถ้ารัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) มีมติยืนยันร่างกฎหมาย ที่พระมหากษัตริย์ทรงยับยั้ง (veto) โดยชัดแจ้งหรือปริยายด้วยคะแนนเสียงไม่ถึง 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ 2 สภา ร่างกฎหมายฉบับนั้นก็ตกไปนำไปประกาศใช้ไม่ได้
พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในอันที่จะยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) แล้วไม่จำเป็นต้องมีองค์กรใดถวายคำแนะนำและไม่จำเป็นต้องมีองค์กรใดลงนามรับรองพระบรมราชโองการซึ่งถือเป็นข้อยกเว้นว่า พระมหากษัตริย์จะทรงใช้พระราชอำนาจที่ไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับองค์กรอื่น
ข้อสังเกต การตีความกฎหมายมหาชนในกรณีพระราชอำนาจเฉพาะที่ใช้โดยพระองค์เป็นไปตามพระราชอำนาจตามอัธยาศัยเพียงลำพังในการยับยั้งร่างกฎหมายที่ไม่เด็ดขาด คือ แม้พระมหากษัตริย์ทรงไม่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายใด จึงไม่ลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมา รัฐสภาก็ยังสามารถลงคะแนนเสียงเพื่อยืนยันการประกาศใช้ร่างกฎหมายที่ถูกยับยั้งได้โดยไม่ต้องผ่านขั้นตอนการลงพระปรมาภิไธย พระราชอำนาจยับยั้งร่างกฎหมายนี้จึงเป็นเพียงการยับยั้งเพื่อการถ่วงเวลาเท่านั้น
4) การใช้พระราชอำนาจตีความตามรัฐธรรมนูญ ทึ่เป็นจารีตประเพณีทางรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามมาตรา 5 วรรค 2
1.2 พระราชอำนาจในการตีความกฎหมายมหาชนที่ไม่เป็นไปตามอัธยาศัย
พระราชอำนาจในการตีความกฎหมายมหาชนที่ไม่เป็นไปตามอัธยาศัยเป็นการใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนผ่านทาง (คือ การใช้พระราชอำนาจที่มีบุคคลกระทำการแทน) รัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) หรือของคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายบริหาร) หรือผ่านทางศาล ภายใต้มาตรา 3 กำหนดไว้ ได้แก่
1. ทรงใช้พระราชอำนาจด้านนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา ดังนี้
1) ทรงแต่งตั้งประธาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธาน รองประธานวุฒิสภา จากสมาชิกแห่งสถาบันนั้นๆ ตามมติของสภามาตรา 116
2) ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร มาตรา 106
3) ทรงเรียกประชุมรัฐสภา ทรงเปิดและทรงปิดประชุม มาตรา 122 เป็นต้น
2. ทรงใช้พระราชอำนาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาล) ได้แก่
1) ทรงมีอำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎรให้มีการเลือกตั้งใหม่ มาตรา 103
2) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี มาตรา 158
3) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งหรือถอดถอนรัฐมนตรี มาตรา 117
4) พระราชอำนาจในการตราพระราชกำหนด มาตรา 172-174
5) พระราชอำนาจในการตราพระราชกฤษฎีกามาตรา 175
6)พระราชอำนาจในการประกาศใช้และยกเลิกกฎอัยการตามลักษณะและวิธีการที่กฎหมายกำหนดมาตรา 176
7) พระราชอำนาจในการประกาศสงครามโดยการเสนอแนะของคณะรัฐมนตรีและต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา มาตรา 177
😎 พระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึกและสัญญาอื่นกับนานาประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศ มาตรา 178
9) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูง
10) การใช้พระราชอำนาจในการรับฎีการ้องทุกข์จากราษฎร ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ
(1) ฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการออกพระราชกฤษฎีกา และตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 179
(1) ฎีการ้องทุกข์ขอความเป็นธรรม ซึ่งได้แก่ ร้องทุกข์ขอยืมเงิน ร้องทุกข์เรื่องการแบ่งมรดกไม่เป็นธรรม ร้องทุกข์ถูกข้าราชการรังแก ร้องทุกข์เรื่องรักษาพยาบาล ร้องทุกข์เรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย เป็นต้น มาตรา 5 วรรค 2
3. ทรงใช้พระราชอำนาจตีความกฎหมายมหาชนผ่านทางตุลาการ ซึ่งประกอบด้วย ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครองและศาลทหาร มาตรา 3 ประกอบมาตรา 188-199
4. ทรงใช้พระราชอำนาจตีความกฎหมายมหาชนแต่งตั้งบุคคลในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญที่ใช้อำนาจ กึ่งบริหาร กึ่งนิติบัญญัติและกึ่งตุลาการผ่านทางวุฒิสภา ได้แก่ คณะกรรมการการเลือกตั้ง มาตรา 222-227 ผู้ตรวจการแผ่นดิน มาตรา 228-231 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มาตรา 232-237 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน มาตรา 238-245 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มาตรา 246-247 เป็นต้น
สรุป นี่คือ พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 ในการตีความกฎหมายมหาชน ดังนั้นการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ที่จะเกิดขึ้นนี้ไม่ว่าจะแก้ไข ในหมวดไหน แม้แต่ยกเว้นห้ามแก้ไขในหมวด 1 หมวด 2 ก็ตาม ก็กระทบกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ทั้งสิ้น
privy council 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
ข้อสังเกตเกี่ยวกับพระราชอำนาจการตีความกฎหมายของพระมหากษัตริย์
(ข้อมูลส่วนหนึ่งใน “หลักคิดทั่วไปในทางกฎหมายมหาขน”)
ในกรณีของประเทศไทยภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ได้ให้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการตีความกฎหมายมหาชน ซึ่งเป็นการใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองโดยเฉพาะ แยกพิจารณาการออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การใช้พระราชอำนาจของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยกับการใช้พระราชอำนาจของพระองค์เองแต่มิได้เป็นไปตามลำพังพระราชตามอัธยาศัย ดังนี้
1.1 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัย จะมี 2 ลักษณะ คือ
ลักษณะที่ 1 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยที่ไม่เป็นไปตามลำพังพระองค์เอง มีดังต่อไปนี้
1) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ในกรณีที่ไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรหรือทรงประชวร ทรงผนวช ให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
2) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 โดยให้คณะองคมนตรีจัดทำร่างกฎมณเฑียรบาลแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลเดิมตามพระราชดำริ นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วแจ้งไปยังประธานรัฐสภาเพื่อให้นำแจ้ง รัฐสภาทราบ ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป
3) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการแต่งตั้งพระรัชทายาท ซึ่งเป็นไปตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 แล้วแจ้งรัฐสภาทราบ
4) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการถอดถอนฐานันดรศักดิ์และเรียกคืนเครื่องราชอิสรยาภรณ์
ลักษณะที่ 2 การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระองค์เองเป็นไปตามพระราชอัธยาศัยเพียงลำพังพระองค์เอง เช่น
1) พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในการเลือก แต่งตั้ง ถอดถอนองคมนตรี อันเป็นมรดกตกทอดมาจากในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดินเป็น The Privy Council แบบของอังกฤษ เป็นองค์กรที่ใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ ทำหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่ทรงปรึกษาและหน้าที่อื่น ๆ
2) การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนของพระมหากษัตริย์ การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการในพระองค์พ้นจากตำแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
3) การใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนในอันที่จะยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว เมื่อรัฐสภาหรือสภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภามีมติให้ความเห็นชอบในร่างกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งแล้ว ประธานรัฐสภาจะต้องส่งร่างกฎหมายนั้นให้แก่นายกรัฐมนตรีเพื่อให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมาย ภายใน 20 วันและเมื่อนายกรัฐมนตรีนำร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภาขึ้นทูลเกล้าฯถวายพระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชวินิจฉัยได้ 3 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ทรงเห็นชอบภายใน 90 วัน พระมหากษัตริย์ทรงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายในราชกิจจานุเบกษา
กรณีที่ 2 ทรงไม่เห็นชอบด้วยในร่างกฎหมายฉบับนั้นและพระราชทานคืนมายังรัฐสภาภายใน 90 วันนับตั้งแต่วันที่นายกรัฐมนตรีทูลเกล้าถวาย อันถือว่าทรงยับยั้ง (veto) โดยชัดแจ้ง
กรณีที่ 3 คือพระมหากษัตริย์ไม่ทรงผ่านพระราชทานร่างกฎหมายที่นายกรัฐมนตรีทูลเกล้าฯ และส่งมายังรัฐสภาภายใน 90 วันซึ่งเมื่อเวลา 90 วันล่วงพ้นไปก็ถือว่าพระมหากษัตริย์ทรง ยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายนั้นโดยปริยาย ซึ่งเมื่อพระมหากษัตริย์จะทรง ยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยายก็ตาม รัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) จะต้องพิจารณาทบทวนร่างพระราชบัญญัติฉบับนั้นอีกครั้งหนึ่ง และหากรัฐสภาลงมติร่างกฎหมายนั้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้ง 2 สภา นายกรัฐมนตรีจะต้องนำร่างกฎหมายฉบับนั้นทูลเกล้าถวายฯอีกครั้งหนึ่ง และหากพระมหากษัตริย์ไม่ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยภายใน 30 วัน นายกรัฐมนตรีจึงนำร่างกฎหมายฉบับนั้นไปประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ทรงได้ลงพระปรมาภิไธย
แต่ถ้ารัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) มีมติยืนยันร่างกฎหมาย ที่พระมหากษัตริย์ทรงยับยั้ง (veto) โดยชัดแจ้งหรือปริยายด้วยคะแนนเสียงไม่ถึง 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ 2 สภา ร่างกฎหมายฉบับนั้นก็ตกไปนำไปประกาศใช้ไม่ได้
พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในอันที่จะยับยั้ง (veto) ร่างกฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) แล้วไม่จำเป็นต้องมีองค์กรใดถวายคำแนะนำและไม่จำเป็นต้องมีองค์กรใดลงนามรับรองพระบรมราชโองการซึ่งถือเป็นข้อยกเว้นว่า พระมหากษัตริย์จะทรงใช้พระราชอำนาจที่ไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับองค์กรอื่น
ข้อสังเกต การตีความกฎหมายมหาชนในกรณีพระราชอำนาจเฉพาะที่ใช้โดยพระองค์เป็นไปตามพระราชอำนาจตามอัธยาศัยเพียงลำพังในการยับยั้งร่างกฎหมายที่ไม่เด็ดขาด คือ แม้พระมหากษัตริย์ทรงไม่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายใด จึงไม่ลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมา รัฐสภาก็ยังสามารถลงคะแนนเสียงเพื่อยืนยันการประกาศใช้ร่างกฎหมายที่ถูกยับยั้งได้โดยไม่ต้องผ่านขั้นตอนการลงพระปรมาภิไธย พระราชอำนาจยับยั้งร่างกฎหมายนี้จึงเป็นเพียงการยับยั้งเพื่อการถ่วงเวลาเท่านั้น
1.2 พระราชอำนาจในการตีความกฎหมายมหาชนที่ไม่เป็นไปตามอัธยาศัย
พระราชอำนาจในการตีความกฎหมายมหาชนที่ไม่เป็นไปตามอัธยาศัยเป็นการใช้พระราชอำนาจการตีความกฎหมายมหาชนผ่านทาง (คือ การใช้พระราชอำนาจที่มีบุคคลกระทำการแทน) รัฐสภา (ฝ่ายนิติบัญญัติ) หรือของคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายบริหาร) หรือผ่านทางศาล ภายใต้มาตรา 3 กำหนดไว้ ได้แก่
1. ทรงใช้พระราชอำนาจด้านนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา ดังนี้
1) ทรงแต่งตั้งประธาน รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธาน รองประธานวุฒิสภา จากสมาชิกแห่งสถาบันนั้นๆ ตามมติของสภา
2) ทรงแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
3) ทรงเรียกประชุมรัฐสภา ทรงเปิดและทรงปิดประชุม
2. ทรงใช้พระราชอำนาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาล) ดังนี้
1) ทรงมีอำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎรให้มีการเลือกตั้งใหม่
2) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
3) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งหรือถอดถอนรัฐมนตรี
4) พระราชอำนาจในการตราพระราชกำหนด
5) พระราชอำนาจในการตราพระราชกฤษฎีกา
6)พระราชอำนาจในการประกาศใช้และยกเลิกกฎอัยการตามลักษณะและวิธีการที่กฎหมายกำหนด
7) พระราชอำนาจในการประกาศสงครามโดยการเสนอแนะของคณะรัฐมนตรีและต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา
😎 พระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึกและสัญญาอื่นกับนานาประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศ
9) พระราชอำนาจในการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูง
10) การใช้พระราชอำนาจในการรับฎีการ้องทุกข์จากราษฎร ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ
(1) ฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการออกพระราชกฤษฎีกา และตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
(1) ฎีการ้องทุกข์ขอความเป็นธรรม ซึ่งได้แก่ ร้องทุกข์ขอยืมเงิน ร้องทุกข์เรื่องการแบ่งมรดกไม่เป็นธรรม ร้องทุกข์ถูกข้าราชการรังแก ร้องทุกข์เรื่องรักษาพยาบาล ร้องทุกข์เรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย เป็นต้น
3. ทรงใช้พระราชอำนาจตีความกฎหมายมหาชนผ่านทางตุลาการ ซึ่งประกอบด้วย ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครองและศาลทหาร
4. ทรงใช้พระราชอำนาจตีความกฎหมายมหาชนแต่งตั้งบุคคลในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญที่ใช้อำนาจ กึ่งบริหาร กึ่งนิติบัญญัติและกึ่งตุลาการผ่านทางวุฒิสภา ได้แก่ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นต้น
privy council 在 The Judicial Committee of the Privy Council 的相關結果
The Judicial Committee of the Privy Council (JCPC) is the court of final appeal for the UK overseas territories and Crown dependencies. ... <看更多>
privy council 在 Privy Council 的相關結果
The Privy Council is the mechanism through which interdepartmental agreement is reached on those items of Government business which, for historical or other ... ... <看更多>
privy council 在 Privy Council of the United Kingdom - Wikipedia 的相關結果
The Privy Council formally advises the sovereign on the exercise of the royal prerogative, and as a body corporate (as Queen-in-Council) it issues executive ... ... <看更多>