垃圾收集器的必備基礎
記憶體洩漏( Memory leaks ) 和迷途指標( dangling pointers )是手動記憶體管理的主要問題。 你在連結串列中刪除了父節點,卻忘了先刪除它的所有子節點ーー你的記憶體正在洩漏。 你以正確的順序刪除一個物件鏈ー但是突然你的程式崩潰了,因此你忘記了這個資源的第二個所有者,這個資源現在試圖取消參考( dereference ) 一個空指標( null-pointer )。
為了避免這些問題,大多數現代高階程式語言實現了自動記憶體管理。 你可以手動分配物件的記憶體,但是不必擔心它們的釋放: 一個特殊的程式,垃圾收集器,知道如何正確地自動釋放物件,並回收它們以供將來重複使用。
在“垃圾收集器必備基礎”課程中,我們學習了與自動記憶體管理相關的所有不同的技術和演算法,這些技術和演算法現在已經在實踐中得到了應用。
https://softnshare.com/essentials-of-garbage-collectors/
null pointer 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳解答
เข้าใจ Linked List ในวิชา Data structure ด้วยภาพเดียว!
Linked List คือโครงสร้างข้อมูลประเภทหนึ่ง ลักษณะโครงสร้างชนิดนี้ จะมี node เก็บข้อมูล แถมมันยังมีตัวชี้ หรือ pointer ชี้ไปยัง node ถัดไป
โดย node ตัวสุดท้ายจะถือว่าไม่มีค่า เรียกว่า null ...ดังนั้น ถ้าลอกข้อสอบต่อๆ กันแบบ Linked List ในรูปนี้ ได้ศูนย์คะแนน นะครัช
โดยจุดเด่นของ Linked List สามารถเพิ่มหรือลดข้อมูลได้ง่าย
ส่วนข้อเสียคือ เวลาลอกข้อสอบ ..เฮยไม่ช่าย เวลาเข้าถึงข้อมูลจะช้า เพราะต้องไล่จาก Node ตัวแรก กว่าจะไปหา Node ที่ต้องการเจอ
ดังนั้น Linked List จึงเหมาะกับงานที่จำนวนข้อมูลไม่แน่นอน สามารถเพิ่ม-ลบ ข้อมูลได้บ่อยๆ แต่ไม่จำเป็นต้องเข้าถึงข้อมูลบ่อยๆ
นอกจากนี้แล้ว Linked List ยังถูกนำมาดัดแปลงเป็นโครงสร้างประเภทอื่นๆ เช่น Queue , Stack เป็นต้น นับว่าเป็นโครงสร้างที่พบบ่อยเวลาเขียนโปรแกรม (ปกติแต่ละภาษาก็จะมีไลบรารี่ หรือวิธีการใช้งาน Linked List อยู่แล้ว ไม่ยาก)
null pointer 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳貼文
เข้าใจ Linked List ในวิชา Data structure ด้วยภาพเดียว!
Linked List คือโครงสร้างข้อมูลประเภทหนึ่ง ลักษณะโครงสร้างชนิดนี้ จะมี node เก็บข้อมูล แถมมันยังมีตัวชี้ หรือ pointer ชี้ไปยัง node ถัดไป
โดย node ตัวสุดท้ายจะถือว่าไม่มีค่า เรียกว่า null ...ดังนั้น ถ้าลอกข้อสอบต่อๆ กันแบบ Linked List ในรูปนี้ ได้ศูนย์คะแนน นะครัช
โดยจุดเด่นของ Linked List สามารถเพิ่มหรือลดข้อมูลได้ง่าย
ส่วนข้อเสียคือ เวลาลอกข้อสอบ ..เฮยไม่ช่าย เวลาเข้าถึงข้อมูลจะช้า เพราะต้องไล่จาก Node ตัวแรก กว่าจะไปหา Node ที่ต้องการเจอ
ดังนั้น Linked List จึงเหมาะกับงานที่จำนวนข้อมูลไม่แน่นอน สามารถเพิ่ม-ลบ ข้อมูลได้บ่อยๆ แต่ไม่จำเป็นต้องเข้าถึงข้อมูลบ่อยๆ
นอกจากนี้แล้ว Linked List ยังถูกนำมาดัดแปลงเป็นโครงสร้างประเภทอื่นๆ เช่น Queue , Stack เป็นต้น นับว่าเป็นโครงสร้างที่พบบ่อยเวลาเขียนโปรแกรม (ปกติแต่ละภาษาก็จะมีไลบรารี่ หรือวิธีการใช้งาน Linked List อยู่แล้ว ไม่ยาก)