“พ่อรวยสอนลูก” 2021
ช่วงนี้อยู่บ้าน มีเวลานั่งเปิดอ่านหนังสือเก่าๆ ที่เคยแปล เคยเขียน เล่มหนึ่งที่ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการทำงานหนังสือของผม ก็คือ Rich Dad Poor Dad หรือ “พ่อรวยสอนลูก” โดย โรเบิร์ต คิโยซากิ
ผ่านเวลา 20 ปี หนังสือเล่มนี้ยังติดอันดับขายดี แถมเนื้อหาก็ยังร่วมสมัย ใช้ได้ไม่ตกยุค ได้เปิดอ่านอีกรอบ เลยอยากสรุปประเด็นที่มองเห็น เมื่อเทียบกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ในมุมมองของตัวเอง เผื่อเป็นประโยชน์กับน้องๆ รุ่นใหม่ที่กำลังเริ่มต้นศึกษาเรื่องเงิน จะได้ประโยชน์เพิ่มขึ้นอีกสักนิดจากการอ่านหนังสือเล่มนี้
6 บทเรียนของพ่อรวย กับยุค 2021 ในมุมมองผู้แปลและเรียบเรียง
1. คนรวยไม่ทำงานเพื่อเงิน
เอาเข้าจริงข้อนี้หลายคนแปลความผิด คิดว่าคนรวยทำงานไม่มุ่งหวังเงินหรือผลตอบแทน จริงๆ แล้วไม่ใช่นะครับ (เวลาทำงานเราก็ควรได้ผลตอบแทนสมน้ำสมเนื้อกับเนื้องานนั่นแหละ) แต่คำว่า คนรวยไม่ทำงานเพื่อเงิน ในที่นี้หมายถึง “คนรวยไม่ติดพันธนาการทางการเงิน” ต่างหาก
ซึ่งพันธนาการที่สำคัญที่สุด ก็คือ การเป็นหนี้จน หนี้ที่ทำเราต้องเหนื่อย ต้องดิ้นรน เพราะเป็นหนี้ที่ไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ และเมื่อไหร่ที่เราติดกับดักหนี้พวกนี้ เราจะคิดถึงแต่ “เงิน” ทำอะไรก็ต้องเอาเงินเป็นตัวตั้ง ไม่ได้เงินไม่ทำ ได้น้อยไม่ทำ (ขยันเพราะหนี้เยอะ กับขยันเพราะอยากสร้างชีวิตให้มั่นคงเร็วๆ ไม่เหมือนกัน)
คนเราเมื่อมี “หนี้” เป็นพันธนาการ วิสัยทัศน์การเงินจะสั้นลง เหลือแค่ไม่เกิน 30 วัน เพราะครบเดือนก็จะถูกติดตามทวงถามกันอีกแล้ว ก็เลยฝันไปไกลหรือคิดไปไกลกว่านั้นไม่ได้ สถานการณ์หนี้ครัวเรือนบ้านเราที่แตะระดับ 90% คือ อันตรายที่บอกเราว่า คนจำนวนไม่น้อยกำลังตกอยู่ในสภาวะแบบนี้
ถ้าคุณไม่มีหนี้ หรือมีภาระหนี้ในระดับที่ควบคุมได้ (กระแสเงินสดต่อเดือนยังเป็นบวก) คุณจะไม่ติดกับดักความคิดเรื่องเงิน และมีโอกาสต่อยอดไปได้ไกลและได้เร็วกว่า ดังนั้นหมั่นควบคุมระดับหนี้ให้ดี อย่าให้เงินผ่อนชำระหนี้ต่อเดือน (DSR) สูงเงินไปนะครับ
2. แยกให้ออกว่าอะไร คือ “ทรัพย์สิน” อะไร คือ “หนี้สิน”
คนที่อ่านหนังสือพ่อรวยสอนลูก จะท่องได้เหมือนกันหมด “ทรัพย์สิน” คือ สิ่งที่ทำให้เงินไหลเข้ากระเป๋า “หนี้สิน” คือ สิ่งที่ทำให้เงินไหลออกจากกระเป๋า ซึ่งหลักคิดนี้ก็ยังใช้ได้จนถึงปัจจุบันนะ ไม่ล้าสมัย
คำถามสำคัญ คือ ท่องได้แล้วเราเคยสังเกตการจัดเงินของตัวเองหรือเปล่าว่า แต่ละวันเงินที่เราหามาได้ด้วยน้ำพักน้ำแรงนั้น จ่ายไปกับอะไรบ้าง มีไหลไปสะสมเป็นทรัพย์สินบ้างหรือเปล่า หรือส่วนใหญ่จ่ายไปกับค่าใช้จ่าย (ใช้แล้วหมดไป) และหนี้สิน (ใช้แล้วเป็นภาระระยะยาว)
(ทรัพย์สินได้แก่อะไรบ้าง เงินฝาก สลากออมทรัพย์ พันธบัตร หุ้นกู้ หุ้นสหกรณ์ หุ้น ทองคำ กองทุนรวม อสังหาฯ ธุรกิจที่เราไม่ต้องลงมือทำ ลิขสิทธิ์ เหรียญดิจิทัล ฯลฯ)
จะดูว่าคนเราแยกออกไหม ว่าอะไรเป็นทรัพย์สิน-หนี้สิน อาจดูได้จาก อัตราส่วนเงินออมเงินลงทุน ของเขาก็ได้ ว่ามีมากน้อยแค่ไหน ถ้าเดือนหนึ่งหาเงินได้ 100 บาท จ่ายให้ตัวเอง (Pay Yourself) โดยการนำไปออมและลงทุน เกิน 10 บาท อันนี้ถือว่าเข้าใจจริง เพราะนำไปปฏิบัติสม่ำเสมอ (ถ้าถึงระดับ 20% ได้จะเฟี้ยวมาก)
แต่ถ้าออมและลงทุนได้ไม่ถึง 10% ของรายได้ที่หาได้ อันนี้เรียก ทฤษฎีแน่น ปฏิบัตินุ่มนิ่ม ผลลัพธ์ไม่ต้องบอกก็รู้กัน
นอกจากนี้ทุกปี เราอาจลองคำนวณหา ความมั่งคั่งสุทธิ (Net Worth) โดยนำทรัพย์สินรวมทั้งหมดที่มี ลบออกด้วยหนี้สินทั้งหมดในชื่อเราดู ว่าผลลัพธ์สุดท้ายเป็นบวกมั้ย และบวกเพิ่มขึ้นทุกปีหรือเปล่า ถ้าความมั่งคั่งสุทธิเป็นบวก และบวกเพิ่มขึ้นทุกปี อันนี้ถือว่ามีแววครับ
3. สร้างธุรกิจของตัวเอง
ในบทเรียนที่ 3 นี้ เอาเข้าจริงไม่ได้หมายความว่า ให้ทุกคนสร้างธุรกิจของตัวเองหรอกนะครับ ผมคุยกับโรเบิร์ตตอนแปลหนังสือ แกบอกว่าสังเกตดูสิ “ทรัพย์สิน” ทุกอย่างก็อยู่ในรูปธุรกิจทั้งหมดนั่นแหละ ธุรกิจทั่วไปแน่นอนว่าเป็นธุรกิจอันนี้ชัด อสังหาฯให้เช่า ก็คือ ธุรกิจจัดหาที่พักให้แก่ผู้คน ลิขสิทธิ์หนังสือ ก็ถูกนำมาจัดพิมพ์และจัดจำหน่ายในธุรกิจส่ิงพิมพ์ หรืออย่างในปัจจุบัน วิดีโอที่ Youtuber อัพโหลดกัน (เป็นทรัพย์สิน) ก็อยู่ในธุรกิจโฆษณา
ดังนั้นถ้าคุยสะสมอะไรที่มีมูลค่าเพิ่ม หรือให้กระแสเงินสดได้ ก็มองเป็น “ธุรกิจ” ได้ (ฝากเงินธนาคาร ก็เหมือนเราทำธุรกิจสินเชื่อเหมือนกันนะ!)
แต่ถ้าเราสร้างธุรกิจขึ้นมาได้เองจริงๆ อันนี้ก็ถือว่า “โคตรเฟี้ยว”
อย่างไรก็ดี โดยส่วนตัวผมไม่ค่อยแนะนำใครให้ลาออกจากงานมาลุยงานประจำเลยนะครับ เพราะมันมีความเสี่ยงมาก ที่จะแนะนำคือ ให้เร่ิมสร้างงานที่ 2 อาชีพที่ 3 ธุรกิจที่ 4 เริ่มทำจากเล็กๆ ลองผิดลองถูกในระดับความเสี่ยงที่พอรับได้ก่อน แล้วค่อยๆ พัฒนาระบบของกิจการไป สร้างรายได้หลายทางแบบ Multi-Income Stream จนธุรกิจของเราเริ่มเป็น “ทรัพย์สิน” และเมื่อรายได้ทางที่ 2, 3 และ 4 ของเราเริ่มใกล้เคียงกับงานประจำ ค่อยพิจารณากันอีกที
ทั้งนี้การสร้างธุรกิจของตัวเอง (งานฟรีแลนซ์ต่างๆ นี่ก็ใช่นะ) กับโจทย์โลกการเงินในยุคปัจจุบัน อาจไม่ได้มองแค่เรื่องอยากรวยเร็ว แต่ผมมองเรื่อง “ความมั่นคง” ทางรายได้ ที่ในยุคนี้มีความเสี่ยงจากแต่ก่อนมาก การมีงาน 2,3,4 หรือมีธุรกิจตัวเองไว้ควบคู่ไปด้วย เป็นตัวช่วยทำให้เราสามารถ “ควบคุม” อนาคตทางการเงินของตัวเองได้ (เหมือนที่โรเบิร์ตชอบพูด Control Your Financial Future) โดยไม่ต้องขึ้นกับคนอื่น เป็นสิ่งที่ “ต้องทำ” (a must) ไม่ใช่ “ควรทำ” อีกต่อไปแล้วครับ
4. เข้าใจเรื่องภาษี
“ภาษี” คือ รายจ่ายที่ใหญ่ที่สุดตัวหนึ่งของชีวิต ยิ่งคุณมีรายได้เยอะ มีทรัพย์สินเยอะ คุณจะเข้าใจความหมายของประโยคนี้ได้ดี
***แต่ช้าก่อน ผมไม่ได้บอกหรือพูดว่า คนรายได้น้อยไม่ได้เสียภาษีนะ (อย่าคิดไปเองสิ) เพราะคนเราเสียภาษีกันทุกคน อย่างน้อยก็ภาษีจากการบริโภค อย่างภาษีมูลค่าเพิ่ม
ไม่ว่าอย่างไร คนเราไม่ควรหลีกเลี่ยงหรือหนีภาษี เพราะนั่นเป็นเรื่องผิดกฎหมาย สิ่งที่เราควรทำ คือ การศึกษาข้อกำหนดและกฎหมายภาษี ที่เกี่ยวข้องกับ “ตัวเรา” เพื่อเราสามารถวางแผนภาษีได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย (ย้ำ! ถูกต้องตามกฎหมาย)
หลายคนอ่านหนังสือพ่อรวยสอนลูก แล้วตีความไปว่า ควรเปิดบริษัท เพราะประหยัดภาษีกว่า อันนี้บอกเลยว่าไม่แน่นะครับ ที่ดีคือ เราควรคำนวณภาษีให้เป็น แล้ววางแผนดีกว่าไปยึดอะไรเป็นหลักตายตัวแบบนั้น
ข้อนี้ไม่มีอะไรจะแนะนำมากไปกว่า จงเรียนรู้และเข้าใจภาษีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของเรา (ฐานบริโภค ฐานรายได้ และฐานทรัพย์สิน) คิดคำนวณภาษีและวางแผนภาษีตัวเองให้เป็น ไม่ว่าจะคุณจะทำงานประจำ ทำงานฟรีแลนซ์ หรือเป็นเจ้าของกิจการ เพื่อให้สามารถประหยัดภาษีและลดรายจ่ายได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย เพราะมันคือ “สิทธิ” ที่คุณพึงได้ครับ
5 คนรวยสร้างเงินได้เอง
ต้นฉบับภาษาอังกฤษใช้คำว่า “The Rich Invent Money” ผมก็ไม่กล้าแปล Invent ว่า “ประดิษฐ์” (ออกแนวพิมพ์แบงค์) กลัวมีปัญหา 555 จะให้ใช้คำว่า “คิดค้น” ก็ออกแนววิทยาศาสตร์ไป หัวใจสำคัญของบทเรียนนี้ ก็คือ คนรวยสร้างเงินจาก “ไอเดีย” ได้นั่นเอง
โดยโรเบิร์ตเน้นในหนังสือว่า คนที่จะสร้างเนื้อสร้างตัวให้มั่งคั่ง ต้องรู้จักวิธีแปลง “ไอเดีย” ให้เป็น “ธุรกิจ” ที่ทำเงินให้ตัวเอง โดยใช้เงินตัวเองไม่มาก หรือไม่ใช้เงินตัวเองเลย (ในหนังสือใช้คำว่า “พลังทวี” หรือ Leverage)
ซึ่งการใช้ Leverage ที่ว่านี้ ก็มีอยู่หลากหลายวิธี ตั้งแต่วิธีดั่งเดิมอย่างการใช้สินเชื่อสถาบันการเงิน การเข้าหุ้นส่วน การหยิบยืมคนใกล้ตัว (พ่อแม่ลงทุนให้) การใช้สิทธิส่งเสริมจากภาครัฐ (Grant) กลุ่มทุนร่วมลงทุน (Venture Capital) การระดุมทุนผ่านประชาชนอย่าง Crowd Funding และปัจจุบันที่ไปถึงการใช้พลังทวีจากเหรียญดิจิทัลแล้ว
เข้าสู่ปี 2021 การ Leverage อาจไม่ใช่การใช้พลังทวีจากเงินทุนอย่างเดียวก็ได้ เพราะบางครั้งธุรกิจก็สามารถขยายกิจการด้วยกำไรของตัวเอง ดังนั้น เครื่องมืออีกตัวที่ช่วยให้ธุรกิจเติบโต ก็คือ พลังทวีจากการตลาด (Marketing Leverage) อย่างโซเชียลมีเดีย และเครื่องมือออนไลน์อื่นๆ อีกมาย
ทั้งหมดทั้งมวลเริ่มจากจุดเริ่มต้นในข้อที่ 3 ก็คือ เริ่มสร้างงาน อาชีพ หรือธุรกิจ เพื่อเป็นแหล่งรายได้ที่ 2, 3 และ 4 แล้วค่อยๆต่อยอดไป คิด-ลงมือทำ-เรียนรู้ เพื่อพัฒนาเครื่องผลิตเงิน (ธุรกิจ) ของเรา ให้เติบโตและสามารถเลี้ยงดูค่าใช้จ่ายเราได้ โดยพักจากการทำงานได้บ้าง (มีอิสรภาพการเงิน)
6. คนรวยทำงานเพื่อเรียนรู้
ข้อนี้คนก็ตีความและเข้าใจผิดไปเยอะนะครับ ทำงานเพื่อ “เรียนรู้” ในที่นี้ ไม่ได้หมายความ เรียนเยอะเรียนแยะ เรียนกันจัง แต่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการทำให้ “ทรัพย์สิน” เติบโต จริงอยู่ว่าการพัฒนาตัวเองเป็นสิ่งสำคัญ แต่ก็ต้องมี “ทิศทาง” ที่ถูกต้องด้วย
ถ้าคุณเป็นนักลงทุน สิ่งที่คุณจะต้องเรียนรู้ ก็คือ หลักและวิธีการลงทุน ความเข้าใจในทรัพย์สินที่เลือกลงทุน ธรรมชาติของตลาด
แต่ถ้าคุณทำธุรกิจ ทักษะที่จำเป็นต่อความสำเร็จ (สังเกตใช้คำว่า “ทักษะ” เพราะมากกว่าแค่ “รู้” แต่ต้อง “ทำได้”) ก็คือ 1) การขายและการตลาด 2) การบริหารกระแสเงินสด 3) การจัดการระบบ (Operation) และ 4) การบริหารบุคลากร
ทุกครั้งที่จะศึกษาอะไร ตอบคำถามตัวเองเพื่อเช็คทิศทางก็ดีครับ ว่าสิ่งที่เราเรียนจะ “ช่วยให้ธุรกิจและการลงทุนของเราดีขึ้นได้อย่างไร?” จะได้โฟกัสกับการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ก่อน และไม่ทำให้การเรียนรู้สะเปะสะปะเกินไป
นอกจากสิ่งที่เรียนรู้แล้ว วิธีการเรียนรู้ (How to Learn) ก็เป็นสิ่งที่สำคัญมาก โรเบิร์ตจะเน้นเรื่องของการ “ลงมือทำ” เรียนรู้จากประสบการณ์จริง การแก้ปัญหาจริงเป็นสำคัญ และนำไปสู่ทัศนคติต่อการเรียนรู้ที่ยอดเยี่ยม ที่ผมเองก็ยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ “เมื่อเจอปัญหา จงรู้ไว้เลยว่า นั่นคือโอกาสที่จะช่วยให้เราเก่งขึ้น”
ปัญหา --> แก้ปัญหา --> ทักษะในด้านนั้นที่สูงขึ้น
ปัญหาการเงิน ---> ลงมือแก้ปัญหา ---> ความฉลาดทางการเงินที่สูงขึ้น ---> จัดการเรื่องเงินได้ดีขึ้น
และหมุนเป็นวงจรเรียนรู้ไปไม่มีวันจบสิ้น เหมือนที่วันนี้ผ่านมา 20 ปีเศษแล้ว ผมก็ยังต้องเรียนรู้เรื่องทรัพย์สินใหม่ๆ การเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นอยู่บนโลกเราเสมอ (เด็กรุ่นใหม่เก่งกันจังวุ้ย)
หวังว่าบทสรุปจากการนั่งอ่านหนังสือ Rich Dad Poor Dad หรือพ่อรวยสอนลูกอีกรอบ และเล่ามุมมองกับโลกที่หมุนไปเร็วเหลือเกินในฐานะผู้แปล จะเป็นประโยชน์กับทุกท่านบ้าง ไม่มากก็น้อย
#TheMoneyCoachTH
grant funding 在 Jing Wong Facebook 的精選貼文
現場音樂 x 踢躂舞 x 編作劇場
《我們在此漂流》
✈️圓滿落幕 感謝各位✈️
上一次的旅程是何年?上一次遠程的地點是何地?又是與誰一起打包出發?
接近兩年的限制出境,被迫困了在原地,沒有各種壯觀風景的視覺衝擊,只能時不時翻閱手機內各類打卡照,在社交媒體發放各種「無得去旅行」的心酸文,與朋友一起圍爐取暖。
沒有辦法出走異地,步伐並沒有因此停頓,目標也沒有因此而擱置,是否也是重整身心的最好時刻?
我們籌備的這兩年,幕前幕後跟疫情共同進退,就算擊不退的疫情,也抵擋不了我們更想努力活著的勇氣。病菌愈頑劣,我們愈頑強。
感謝觀眾放下忙碌的工作,利用寶貴的休息時間,走進劇場,進入了《我們在此漂流》的世界,刷新了不一樣的觀感和聽感。
這個旅程沒有答案,也沒有終點,中途站也是我和我們的休憩室,也是你和你們的選擇。
希望觀眾找到屬於自己的出走聲音,也找到那個和你共同進退的人。期待各位觀眾與我們分享令你動容的歌曲、情節等。
我們在此漂流,我們在此一起。
最後,再次感謝觀眾,幕前幕後大鞠躬致意🔥✈️
Photo Credit: Jenna Fan
電子場刊:https://bit.ly/2WBhRV9
==========
🎨藝術團隊:
導演、原創音樂 | 黃靖 Jing Wong
文學總監 | 王樂儀 Yvette Wong
演出顧問 | 甄詠蓓 Olivia Yan
踢躂舞指導及演員 | CAL
文字整理、創作及演員 | 洪芷纓 JINK
演員 |
陳莉寶 BO CHAN
鍾宛姍 Olga Chung
馮寶彥 Poey Fung
容兆霆 Stanley Yung
現場樂隊|
Jovin Lee
盧潤其 Clark Lo
譚方琮 Felix Tham
🎧製作團隊:
製作經理 | 周怡
執行舞台監督 | 袁建雯
助理舞台監督 | 李凱欣
助理舞台監督 | 方蕙心
助理舞台監督 | 張婉濤
助理舞台監督 | 林沚蔚
燈光設計 | 楊子欣
音響設計 | 岑明珠
服裝設計 | 洪榮賢
樂器設計 | 吳澤霖
電機師 | 李蔚心
舞台設計 | 張正和
舞台助理 | 招偉亮
舞台助理 | 孫國華
舞台助理 | 聶潁同
燈光助理 | 陳煒樺
燈光助理 | 尹詩欣
服裝助理 | 廖晴程
現場混音工程師 | 李伯健
監聽混音工程師 | 葉珮君
音響工程師 | 馮縈瑋
音響製作統籌 | 陳衍昊
音響助理 | 王梓健
音響助理見習 | 吳晨鷺
🎬影像:
大會攝影 / 海報設計 | Winnie Yeung@Visual Voices
幕後花絮攝影 | BillyElvis / Jenna / Peterson
錄像導演 | 羅川竣
攝影師 | Chan Tin Shun / Wong Chun yat / Lai Ching Tung Phoebe / Ng Sing Yu / Anson
錄像製作助理 | Chan Shing Hong Marco
錄像操作員 | Kwok Sze Yan
💻行政:
監製 | 林敏華 Kaki Lam
執行監製 | 楊皓敏 Liz Yeung
票務助理|李淑嫻 Candace
市場推廣及企劃支援 | Frenzi Music/ Vicky Fung/ Victor Tse
市場推廣及企劃助理 | Chloe Lui / Nicole Fung /Joyce Wong
社交媒體編輯|NGAN WING / Sunnie
🎥師友計劃 - 製作組:
周籽言 Chiyin
范樂瑶 Jenna
李淑嫻 Candace
梁紫妍 Lamtie
梁子謙 Peterson
顏穎欣 NGAN WING
邱冰瑞 Sunnie
余安琳 Helen
🎼鳴謝 The Drifters’ video credits:
Dickson
Saicar
Henry
Chak
🎹特別鳴謝:
香港兆基創意書院
香港大學學生發展及資源中心
HKU (CEDARS)
Academy of Film, HKBU
文藝復興基金會搶耳音樂
Every Life Is A Song 一個人一首歌
🎻項目計劃資助 Project Grant:
藝能發展資助計劃
Arts Capacity Development Funding Scheme
香港特別行政區政府 HKSAR Government
主辦 Jing Wong Creations
漂流伙伴 Victorinox, Converse, Popticket, J-reamy
grant funding 在 Taipei Ethereum Meetup Facebook 的最讚貼文
📜 [專欄新文章] 如何將 Gitcoin Grants 實踐到現實社會的公益活動
✍️ Johnson Chen
📥 歡迎投稿: https://medium.com/taipei-ethereum-meetup #徵技術分享文 #使用心得 #教學文 #medium
Gitcoin Grants 是開源軟體的募資平台,以民主的方式分配基金池裡的資金給獲得較多人支持的線上開源專案,簡單來說是一個公共財的競爭市場。這個機制有沒有可能在現實生活的社區中實踐,讓對社區有貢獻的地方團體能夠以更有效、更民主的方式分配政府提供的補助金,這是本篇文章將討論的主題:在地方社區實踐公共財市場的核心基礎 — 數位社區貨幣。
社區貨幣(或地方貨幣)顧名思義是限制在一特定地理區域內能夠使用的貨幣,如果要將社區貨幣用作促進地方上的公益活動,那它應該怎麼被發行?
社區貨幣的發行方式
讓我們先假想一個地方社區,居民約五萬人口,一組軟體營運團隊準備發行 3000 顆社區貨幣。首先,既然是為了促進公益活動,所以就把 3000 顆貨幣發給地方上已經具有公信力的團體,如社區發展協會、老人服務中心、地方創生組織等,假設三個團體分別持有了 1000 顆社區貨幣,他們必須想辦法發給地方上的居民,例如到社區發展協會幫忙的居民、在服務中心幫助老人的志工、在創生基地打工的學生等,如此下來,首次發行的 3000 顆社區貨幣就會慢慢流向地方上的個人。
一個重點是,這裡的社區貨幣並沒有與新台幣做連結,也就是說,不會有一個窗口讓居民能夠將社區貨幣換成新台幣,或者將新台幣換成社區貨幣。
獎助金爭奪賽:一個公共財的市場
總有一天,原本各自擁有 1000 顆社區貨幣的地方團體會將社區貨幣發完,此時,社區貨幣在居民之間流通,要如何再回到地方團體手上呢?那就是辦一場「獎助金爭奪賽」讓貨幣回流到籌辦公益活動的組織。
這場爭奪賽就是一個公共財的競爭市場,會從一筆政府的獎助金(假設是 10 萬元新台幣)開始,地方上的公益團體必須到平台上登入自己的公益活動內容,在一定的競賽期間內,居民可以將手上持有的社區貨幣投給自己偏好的公益團體,假設社區中有三個老奶奶將 5 顆社區貨幣投給了老人服務中心舉辦的健康養身操活動(Grant 1),有一個文藝青年將 10 顆社區貨幣投給地方創生組織舉辦的藝文活動(Grant 2),有一個高中生將 5 顆社區貨幣投給另一組創生團體想舉辦的海灘派對(Grant 3)。
此時,就像 Gitcoin Grants 一樣,地方團體能夠獲得居民投給他們的社區貨幣之外,還能配對到一筆新台幣的補助金,補助金的金額將會依照一條數學公式去分配總金額 10 萬元的新台幣,依上段的例子:健身操活動(Grant 1)將獲得 15 顆社區貨幣及 75000 的新台幣,藝文活動(Grant 2)將獲得 10 顆社區貨幣及 16666 元的新台幣,海灘派對(Grant 3)將獲得 5 顆社區貨幣及 8333 元的新台幣。詳細的分配方式請參考 Quadratic Funding。
技術困境
這個社區貨幣使用以太坊的智能合約來開發,會面臨到兩個問題:
以太坊的 gas fee 怎麼處理?
如何限制社區貨幣只能在該社區中使用?
以太坊交易費問題
這裡需要做到的一點是,使用社區貨幣的居民不需要持有以太幣就能進行社區貨幣的轉帳。這裡我目前參考 argent 的智能合約採取的作法,他們是參考 EIP-1077 來達到 ETH-less 的錢包帳戶。
依我的理解,可以將以太坊的手續費外包給第三方去支付,套用在社區貨幣的場景,會有一筆資金負責營運整個社區所有的交易費,這筆資金可以是由社區籌資負擔或是由地方政府負擔,但在技術上必須能做到由第三方幫忙支付交易費的功能。
限制社區貨幣只能在社區中使用
這是比交易費還要棘手的問題,依據我在 Ethereum Research 上發起的討論:How to Implement Digital Community Currencies with Ethereum?,總結得到的答案可以分成兩類:
會員制
地理柵欄
會員制
這是比較可行的方式,可以利用 EIP-1261 Membership Verification Toke 來製作合約。KYC 的部分最踏實的方式就是請居民親自拿身分證來作驗證,或者用比較方便的方式,由一個已經是會員的人推薦新人,再由另一個會員驗證新人的身分。
地理柵欄
這部份請參考這位大大正在做的事情,我認為這是長期可以期待的技術,但在短期可能還是以會員制的方式會方便許多,也可以先做好從會員制轉換成地理柵欄的準備。
圖片來源:以太坊官網
結語
有關社區貨幣的研究,可以參考我的另一篇:從竹山光幣談社區貨幣未來的可能性。
數位社區貨幣的計畫日前在 g0v 零時政府完成首次提案,期待對這個議題有興趣的以太坊開發者的參與,我是提案人 Johnson,歡迎至 g0v 的 slack 頻道 #dcc 中與我聯繫,謝謝!
如何將 Gitcoin Grants 實踐到現實社會的公益活動 was originally published in Taipei Ethereum Meetup on Medium, where people are continuing the conversation by highlighting and responding to this story.
👏 歡迎轉載分享鼓掌