明天又是星期三 【創新小學堂-週三創新吧】即將開門營業!
關於矽谷公司如何管理的書籍多如牛毛,隨便舉幾個例子如下:
OKR/ Google超級用人學/ Google模式/ Netflix 零規則/ 亞馬遜管理聖經/ 亞馬遜逆向工作法/ 賈伯斯憑什麼領導世界/ 提姆‧庫克/ Uber與Airbnb憑什麼翻轉世界/ 四騎士主宰的未來......
這些矽谷管理模式,有些公司奉為圭臬,有些公司不屑一顧。究竟要如何看待別家公司的管理模式?全盤照抄會不會畫虎不成反類犬?不屑一顧會不會錯失企業進化機會?
週三晚上8:30pm,四個對組織管理有興趣的好朋友在線上,聊給你聽!為了更全面探討矽谷成功學,這次的對談將採用德波諾的PMI思考框架,再加上Alternative,可以更持平地看待這些管理實務。
如果你剛好也看過些書,或是對這個主題有興趣或疑問,歡迎你在下方留言區寫下你的問題,我們盡量會在對談中針對你的提問提供我們的觀點。
如果你覺得你的主管或朋友也會對這個主題有興趣,歡迎你在留言區標註你的主管或朋友,這樣他們就可以一同關注這個主題喔
同時也有20部Youtube影片,追蹤數超過2,820的網紅samguw,也在其Youtube影片中提到,Decided to try shooting with a film stock I found online called "Vibe 400". A quick Google search online and you'll realise there is hardly any inform...
「google alternative」的推薦目錄:
- 關於google alternative 在 Facebook 的最佳解答
- 關於google alternative 在 Facebook 的最讚貼文
- 關於google alternative 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於google alternative 在 samguw Youtube 的精選貼文
- 關於google alternative 在 tonylamfood Youtube 的最佳解答
- 關於google alternative 在 24HERBS Youtube 的最佳貼文
- 關於google alternative 在 De-Googling Any Android Phone! (Google Apps Alternatives) 的評價
- 關於google alternative 在 20 Alternatives to Google and Facebook Ads - Colony Spark 的評價
google alternative 在 Facebook 的最讚貼文
不用讀大學也可以做的高薪工?
從小我們就被灌輸 ‘努力讀書,考上大學,找份好工’ 的概念。
在現今社會,許多企業都非常注重大學文憑,不管你多有能力,公司都會優先聘請有大學文憑的求職者。就因爲這個原因,許多因爲經濟能力有限而無法上大學的人都錯過了學習專業技能的機會。這裏將為大家介紹由谷歌推出的谷歌職涯證書。不用讀大學,只需要報讀Google推出的課程,就能找到高薪的工作!
(disclaimer: 我沒有叫你們不讀大學哦 只是提供一個alternative選擇給大家)
google alternative 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
สังคมไร้เงินสด จะนำไปสู่ สังคมไร้บัตร หรือไม่ ? / โดย ลงทุนแมน
เป็นที่รู้กันว่า การใช้จ่ายแบบไม่ใช้เงินสด กำลังเติบโตอย่างก้าวกระโดด
โดยการไม่ใช้เงินสดก็มีช่องทางให้เลือกที่หลากหลาย เริ่มตั้งแต่บัตรเครดิตและบัตรเดบิต
จนมาถึงแอปพลิเคชันและกระเป๋าเงินดิจิทัลบนสมาร์ตโฟน
แล้วการใช้จ่ายแบบไม่ใช้บัตรเหล่านี้
จะมีโอกาสมาแทนที่บัตรแบบดั้งเดิมหรือไม่ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
การใช้จ่ายแบบไม่ใช้เงินสด
ในช่วงแรกจะเป็น “ยุคบัตรพลาสติก”
โดยเริ่มมาจากบัตรเครดิตในประเทศสหรัฐอเมริกาช่วงปลาย 1950s
และก็มีบัตรเดบิตตามมา ในอีกไม่กี่ทศวรรษ
ประเทศที่ใช้บัตรกันอย่างแพร่หลาย
จนกลายเป็นช่องทางหลักในการใช้จ่าย
ก็คือกลุ่มประเทศที่มีความก้าวหน้าทางการเงินสูง
อย่างเช่น ประเทศต้นกำเนิดบัตรอย่างสหรัฐอเมริกา รวมถึงในทวีปยุโรป
หรือในเอเชีย ตัวอย่างเช่น ญี่ปุ่น, ฮ่องกง, เกาหลีใต้, ไต้หวัน และสิงคโปร์
ซึ่งกลุ่มประเทศเหล่านี้ การใช้จ่ายผ่านบัตรได้รับความนิยมมานาน
จนในปัจจุบัน มีสัดส่วนประชากรที่มีบัตรเครดิตมากเป็นครึ่งหนึ่ง
ของประชากรทั้งหมดในประเทศ
ขณะที่กลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในสมัยนั้น มีความก้าวหน้าทางการเงินที่ช้ากว่า
อย่างเช่นในจีน, อินเดีย และประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงไทย
การใช้จ่ายผ่านบัตรจึงไม่ได้รับความนิยมเป็นวงกว้าง สัดส่วนการใช้บัตรจึงยังมีน้อย
โดยเฉพาะบัตรเครดิต ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้ว กลุ่มคนที่มีบัตรเครดิต คิดเป็นไม่ถึง 10% ของประชากร
นั่นอาจเป็นเพราะว่า การสมัครบัตรเครดิต จะมีเงื่อนไขบางอย่าง
อย่างเช่น หลักฐานการได้รับเงินเดือนย้อนหลัง
หรือเกณฑ์เงินฝากในบัญชีขั้นต่ำ
รวมไปถึงมีการคิดค่าธรรมเนียมด้วย
ต่อมาเมื่อเข้าสู่ช่วงที่อินเทอร์เน็ตได้เข้ามาปฏิวัติโลก
โดยเฉพาะยุครุ่งเรืองของดอตคอมในช่วง 1990s
ช่องทางในการซื้อขาย ได้เพิ่มจากทางหน้าร้าน มาเป็นผ่านหน้าเว็บไซต์ออนไลน์ด้วย เช่นกัน
จุดนี้เอง ก็ได้กลายเป็นตัวเร่งให้มีการใช้บัตรจนกลายมาเป็นที่นิยมมากขึ้น
และไม่กี่ปีหลังจากนั้น ก็ได้มีทางเลือกใหม่ สำหรับใครที่ไม่ใช้บัตร
นั่นก็คือ PayPal ซึ่งถือว่าเป็นแพลตฟอร์มชำระเงินออนไลน์รายแรก ๆ ของโลก
ซึ่งบัญชีของ PayPal จะผูกกับบัญชีธนาคาร และใช้ PayPal เป็นช่องทางโอนและรับเงินที่ทำได้ทั้งในประเทศไปจนถึงระหว่างประเทศ
มาถึงตรงนี้ การใช้จ่ายแบบไม่ใช้เงินสด จึงเริ่มเข้าสู่ “ยุคไร้บัตร”
และเมื่อมาถึงยุครุ่งเรืองของสมาร์ตโฟน
ก็ได้มีการพัฒนาระบบใช้จ่ายแบบไร้บัตรในอีกรูปแบบหนึ่งเพิ่มเข้ามา
นั่นก็คือการใช้จ่ายผ่านแอปพลิเคชัน ซึ่งจะคล้ายกับการจ่ายด้วยแอปพลิเคชันของธนาคารไทยที่เราคุ้นเคย
ตัวอย่างเช่น Venmo ที่ในภายหลัง PayPal ได้เข้ามาซื้อกิจการไป
หรือ Cash App แอปพลิเคชันของบริษัท Square ฟินเทคที่มีผู้ก่อตั้งคนเดียวกับ Twitter
ซึ่งทั้งคู่ต่างใช้วิธีเดียวกัน นั่นคือการใช้จ่ายผ่านแอปพลิเคชันที่ผูกกับบัญชีธนาคาร
ส่วนกระเป๋าเงินดิจิทัล เกิดมาจากการที่เหล่าผู้พัฒนาแพลตฟอร์ม
ต่างต้องการสร้าง Ecosystem เพื่อใช้จ่ายในเครือข่ายแพลตฟอร์มทั้งหมดของตัวเอง
อย่างเช่น Apple Pay และ Google Pay
แต่ในกลุ่มประเทศที่บัตรเป็นที่นิยมมานาน
แม้ว่าจะมีช่องทางการชำระเงินออนไลน์แบบอื่น ๆ เพิ่มเข้ามา และมีอัตราการเติบโตที่สูง แต่บัตรก็ยังเป็นที่นิยมมากที่สุดอยู่ดี
ซึ่งส่วนหนึ่งก็สะท้อนได้จาก บริษัทฟินเทคที่ยังให้ความสำคัญกับบัตรอยู่
อย่างในสหรัฐอเมริกา ซึ่งถือเป็นประเทศที่ใช้เงินสดน้อยเป็นอันดับ 5 ของโลก
ฟินเทคยักษ์ใหญ่อย่าง Square ที่แม้จะมี Cash App แต่ผลิตภัณฑ์หลักก็เริ่มมาจาก Square Reader
ที่เป็นอุปกรณ์สี่เหลี่ยมขนาดเล็ก ใช้เชื่อมต่อกับสมาร์ตโฟนเพื่อรับชำระเงินด้วยบัตร
ไปจนถึงเครื่องรับบัตรตามร้านค้า ที่มีค่าธรรมเนียมต่ำกว่าเครื่องรับบัตรของธนาคาร
หรืออย่างเกาหลีใต้ ประเทศที่ใช้เงินสดน้อยที่สุดในภูมิภาคเอเชีย
แม้กระเป๋าเงินดิจิทัลของแอปพลิเคชันแช็ตอันดับหนึ่งอย่าง KakaoPay จะได้รับความนิยมสูงมาก จนเป็นรองเพียงบัตรของธนาคารใหญ่ไม่กี่เจ้า
แต่ด้วยความที่คนเกาหลีใต้ยังนิยมใช้บัตร KakaoPay จึงออกบัตรเดบิตที่ผูกกับบัญชี KakaoPay ควบคู่ไปด้วย
ถ้าอย่างนั้น เจ้าตลาดในยุคไร้บัตร คือใคร ?
คำตอบก็คือกลุ่มประเทศที่สัดส่วนประชากรที่เข้าไม่ถึงบริการของธนาคาร
หรือมีบัญชีธนาคารแต่ไม่เคยใช้บริการด้านอื่น ยังมีอยู่มาก
เลยทำให้จำนวนคนที่ใช้บัตรมีน้อย
ซึ่งเมื่อโลกได้มุ่งสู่การใช้จ่ายแบบออนไลน์มากขึ้นเรื่อย ๆ แต่เมื่อไม่มีบัตร
ช่องทางการชำระเงินที่เลือกใช้ จึงเป็นกระเป๋าเงินดิจิทัลและแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน
ตัวอย่างประเทศในกลุ่มนี้ก็เช่น จีน, อินเดีย รวมถึงประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดยเฉพาะจีนและอินเดีย เป็นสองประเทศที่มีสัดส่วนของกลุ่มคนที่เข้าไม่ถึงธนาคาร มากที่สุดในโลก
ในขณะเดียวกัน ก็มีสัดส่วนการใช้กระเป๋าเงินดิจิทัลสูงที่สุด
และแม้ว่าจีนจะยังไม่ใช่ประเทศที่ใช้เงินสดน้อยที่สุดในเอเชีย
แต่จีนก็ได้กลายเป็นเจ้าตลาดการใช้จ่ายแบบไร้บัตรที่ใหญ่ที่สุดในโลกไปแล้ว
ซึ่งจุดเริ่มต้น เกิดขึ้นหลังจากที่ฝั่งตะวันตกได้รู้จัก PayPal ไปประมาณ 5 ปี
คนจีนก็ได้รู้จักกับ Alipay ที่เป็นต้นตำรับของกระเป๋าเงินดิจิทัล
ในตอนนั้นอีคอมเมิร์ซอย่าง Alibaba ได้พัฒนา Alipay เพื่อเป็นแพลตฟอร์มใช้จ่าย
สำหรับซื้อของออนไลน์แบบไม่ต้องใช้บัตร จนต่อยอดมาเป็นกระเป๋าเงินดิจิทัล
รวมถึงแอปพลิเคชันเพื่อใช้จ่ายผ่านสมาร์ตโฟนด้วย
จนในปี 2013 Alipay สามารถแซง PayPal ขึ้นมาเป็นแพลตฟอร์มชำระเงินบนสมาร์ตโฟนที่ใหญ่ที่สุดในโลกได้สำเร็จ
โดยในแถบเอเชียนั้น นอกจากเหตุผลเรื่องคนเข้าถึงบริการจากธนาคารไม่มากแล้ว
การใช้จ่ายแบบไร้บัตรยังเติบโตได้อย่างรวดเร็วตามการเติบโตของแพลตฟอร์ม
อย่างอีคอมเมิร์ซ, แช็ต, เรียกรถ หรือสั่งอาหาร
ในประเทศจีน เช่น Alipay และ WeChat Pay
ในประเทศอินเดีย เช่น Paytm
ในประเทศกลุ่มอาเซียน เช่น GrabPay, ShopeePay และ GoPay
ทำให้ในปัจจุบัน เอเชียแปซิฟิก ได้กลายเป็นภูมิภาคเดียวในโลก
ที่สัดส่วนการใช้จ่ายเมื่อซื้อของออนไลน์
มาจากช่องทางกระเป๋าเงินดิจิทัลมากที่สุด
และได้แซงการใช้บัตรไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ซึ่งการเติบโตของการใช้จ่ายแบบไร้บัตร ก็ทำให้คนเริ่มตั้งคำถามว่า
หรือ Cashless Society จะกลายเป็น Cardless Society ไปด้วย
สำหรับคำตอบของเรื่องนี้ ถ้ามาดูในกลุ่มประเทศที่ใช้เงินสดน้อยสุดในโลก
จะพบว่าในประเทศเหล่านั้น บัตรยังคงเป็นช่องทางหลักในการใช้จ่ายอยู่
หรือถ้าลองหาคำตอบจากเรื่องใกล้ตัว จะพอเห็นได้ว่า
การใช้จ่ายแบบไร้บัตร ยังมีข้อจำกัดในบางเรื่อง
อย่างเช่นเวลาจ่ายค่าสมาชิกรายเดือนแบบตัดเงินอัตโนมัติ
หรือการซื้อขายของแบบข้ามประเทศ ก็ยังต้องใช้บัตรอยู่
แม้จะมี PayPal ที่เป็นช่องทางไร้บัตรแบบสากล
แต่ในแถบบ้านเราก็ไม่ได้รับความนิยมมากนัก
และยังรวมไปถึงบางคนที่ถ้าต้องจ่ายเงินก้อนใหญ่ การใช้บัตรยังรู้สึกปลอดภัยมากกว่า เช่นกัน
นอกจากนั้นบัตรเครดิต ยังมีโมเดลธุรกิจที่จะหักเงินส่วนหนึ่งจากร้านค้า
เพื่อให้ธนาคารผู้ออกบัตรมาทำส่วนลดโปรโมชัน เพื่อให้ผู้ใช้บัตรรู้สึกคุ้มค่า
และในมุมมองของผู้บริโภค การจ่ายด้วยบัตรเครดิต จะเป็นการได้สินค้าหรือบริการมาก่อน แล้วค่อยจ่ายเงินทีหลังในวันที่ครบกำหนด
ดังนั้นสำหรับผู้ที่มีบัตรเครดิต ก็มักเลือกที่จะใช้บัตรเครดิตก่อนช่องทางอื่น ๆ เพราะมีสิทธิประโยชน์มากกว่า
นั่นคงทำให้เราพอสรุปได้ว่า สังคมไร้เงินสด จะยังไม่ได้กลายเป็นสังคมไร้บัตรในเร็ววันนี้
ซึ่งท้ายที่สุดแล้ว การชำระเงินแต่ละช่องทาง ก็มีจุดเด่นที่ต่างกันไป
แถมยังคอยเสริมจุดอ่อนของกันและกันไปในตัว
แม้แต่ธนาคารเอง ที่ถึงจะโดนดิสรัปต์จากการใช้จ่ายแบบไร้เงินสด
แต่แพลตฟอร์มเหล่านั้นโดยส่วนใหญ่ ยังคงต้องผูกกับบัญชีธนาคารอยู่ดี..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.bcg.com/publications/2020/southeast-asian-consumers-digital-payment-revolutions
-https://asia.nikkei.com/Editor-s-Picks/FT-Confidential-Research/Mobile-payments-sideswipe-credit-cards-in-Southeast-Asia
-https://www.rapyd.net/resource/asia-pacific-ecommerce-and-payments-guide/
-https://www.techinasia.com/future-southeast-asias-mobile-wallets
-https://www.mckinsey.com/industries/financial-services/our-insights/joining-the-next-generation-of-digital-banks-in-asia
-https://www.mckinsey.com/industries/financial-services/our-insights/banking-matters/digital-commerce-and-the-rise-of-alternative-payments-methods
-http://documents1.worldbank.org/curated/en/332881525873182837/pdf/126033-PUB-PUBLIC-pubdate-4-19-2018.pdf
-https://www.jpmorgan.com/merchant-services/insights/reports/thailand-2020
google alternative 在 samguw Youtube 的精選貼文
Decided to try shooting with a film stock I found online called "Vibe 400". A quick Google search online and you'll realise there is hardly any information about where this film stock is made or what it looks like. But that's the fun of film right? Hopefully this video helps out anyone who is thinking of buying and shooting this film.
Buy the Vibe 400 in Malaysia: https://shp.ee/n4658kb
If you like to support my channel, consider a small donation: https://www.paypal.me/samguw
Gear mentioned/used in this video:
Canon 5D Mark IV: https://amzn.to/36lX8GQ
Canon EF 35mm F1.4 ii: https://amzn.to/2DsOVFy
Rode Reporter: https://amzn.to/3ot8a3i
Music I use:
https://artlist.io/Samuel-241034
My 2021 filmmaking/photography kit:
(these are Amazon Affiliate Links and I get a small commission every-time you purchase from these links. These really help the channel out a lot!)
Main photo/video camera: https://amzn.to/2QQ9ChI
Back up body: https://amzn.to/2QRB1zG
Favourite lens: https://amzn.to/2DsOVFy
Second favourite lens: https://amzn.to/2Z2HLPR
Best on-camera shotgun mic: https://amzn.to/3jzhPmO
Cheaper version of ^: https://amzn.to/32WlSD7
Alternative on-board shotgun mic: https://amzn.to/3lKBFx8
Best wireless mic: https://amzn.to/3jHd1Mi
Favourite Backpack: https://amzn.to/3lHETSa
Affordable external SSD I use: https://amzn.to/32NG4a2
Favourite gimbal: https://amzn.to/2Z3k7CJ
Affordable drone: https://amzn.to/2YZEmkK
Favourite action camera: https://amzn.to/2ETfBzV
----
Let's do something together! Ask me anything you'd like!
[email protected]
Follow me on social media:
https://www.facebook.com/samuelguw/
https://www.instagram.com/samguw/
https://www.instagram.com/samguw_bts/
google alternative 在 tonylamfood Youtube 的最佳解答
除左轉用signal mewe,大家都應該開始用下duckduckgo Here's why
除左由whatsapp轉去signal,facebook轉去mewe,唔好唔記得轉用埋search engine呀!
#題外話 #私隱何價 #資訊審查 #Googlealternative
Google defeats conservative nonprofit's YouTube censorship appeal
https://www.reuters.com/article/us-google-lawsuit-censorship-idUSKCN20K33L
How Google's search algorithm spreads false information with a rightwing bias
https://www.theguardian.com/technology/2016/dec/16/google-autocomplete-rightwing-bias-algorithm-political-propaganda
打不死的內容農場──揭開「密訊」背後操盤手和中國因素
https://www.twreporter.org/a/information-warfare-business-content-farm-mission
【封殺肺炎片】肺炎黃標YouTube認錯!KOL引述高層:AI出事承諾改善
https://hk.appledaily.com/finance/20200304/32Q2EEA3ZNVA6XA3YQWHOIZBQI/
[警告:Google 真的在洗腦你,不要再用 Google 了!]
https://m.facebook.com/wiwikuan/posts/10224994090865036
唔想出街同人逼?Staycation食乜好?無晚市食乜好?除左袋鼠?同熊貓?以外又一選擇,快啲登記ubereats?買野食啦,日日都有同優惠架?!
未登記可以用我呢條link! 只限香港用户喳?
【 tonylamfood粉絲專屬好康】 (可使用到3/31)
新用戶輸入ubereats優惠碼/優惠序號「dnahk216j60l」,第一筆訂單滿 HK$150即可抵扣 HK$100
Biolink入邊右上角都可以去到
https://tinyurl.com/y5l88qyv
––––––––––––––––––––––––––––––
Instagram/Facebook/Mewe:
https://instagram.com/tonylamfood
https://facebook.com/tonylamfood
https://mewe.com/p/tonylamfood
––––––––––––––––––––––––––––––
google alternative 在 24HERBS Youtube 的最佳貼文
Show love and support:
FPS/轉數快 ID: 164023863
Payme QRcode: http://bit.ly/247TalkPaymeQRcode
Payme: http://bit.ly/247TalkPayme
Paypal: http://bit.ly/247TalkPayPal
24/7TALK: Episode 56 ‘9BLOWS’ Alternative to Sneakers
Hosts: 24Herbs
Filmed and edited: Pak Khei, Marco Mak, and Leo Chan
Produced: 24HERBS and Studio8ight
----------------------------------------------------------------------------------------------------------
24/7TALK: Episode 56 ‘9BLOWS’ Alternative to Sneakers
So ladies and fellas, we are having this episode called ‘9BLOWS’, it’s basically an episode with no guest but just us 24 homies, chatting, bullshitting and having fun. We will talk about our favorite snacks, drinks, songs, movies, sneakers, etc. Share it with you all. We will also read out some comments and just 'Kao Chui’. Hope you guys enjoy our ‘9BLOWS’ episodes on EVERY OTHER FRIDAY!
第56集24/7Talk 9blows。顧名思義就係9up234,分享吓一啲生活日常,時尚潮流,音樂,態度,天南地北吃喝玩樂咁樣樣都9blow吓, 記住每隔個星期五同我地一齊9blow啦!
----------------------------------------------------------------------------------------------------------
24/7Talk is now on Spotify, Apple Podcast, Google Podcast and Google Play Music Podcast.
Podcast Links:
https://open.spotify.com/show/6YtrxuEogjz0xEMtitVeNz
https://podcasts.apple.com/hk/podcast/24-7talk/id1513852953
Pls support and buy our music:
https://itunes.apple.com/us/album/go-hard-single/id1260822753
https://itunes.apple.com/ca/artist/24herbs/id486419646
Instagram:
http://www.instagram.com/24Herbs_Official
https://www.instagram.com/djkeepintouch
https://www.instagram.com/phat24herbs
https://www.instagram.com/eddie24herbs
https://www.instagram.com/art.by.styles
https://www.instagram.com/jbs8five2
https://www.instagram.com/djspyzitrix
Facebook:
http://www.facebook.com/24Herbs
https://www.facebook.com/kittttt.leung
https://www.facebook.com/phatchan
https://www.facebook.com/GhostStyle
https://www.facebook.com/jbrian.siswojo
https://www.facebook.com/eddiechung
https://www.facebook.com/deejayspyzi.trix
Please subscribe here - https://www.youtube.com/c/24HERBS?sub_confirmation=1
google alternative 在 20 Alternatives to Google and Facebook Ads - Colony Spark 的美食出口停車場
Social Media; Online Forums and Communities; eCommerce; Retargeting; Banner/Display Ads; Maps; Other Ad Platforms. Best Google Alternative Search Ad Networks. ... <看更多>
google alternative 在 De-Googling Any Android Phone! (Google Apps Alternatives) 的美食出口停車場
Skip the waitlist and invest in blue-chip art for the very first time by signing up for Masterworks: ... ... <看更多>