ตัวอย่างการจัดทำสมมติฐานเพื่อศึกษา Probability of Default และ Recovery Rate ในแบบฉบับของ ABS
.
หลาย ๆ บริษัทที่ทำการประเมินผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (Expected Credit Loss: ECL) เอง มักประสบปัญหาตั้งแต่ในเรื่องของการรวบรวมข้อมูล และนำมาจัดกลุ่มตามอายุหนี้ (Aging) โดยใช้เกณฑ์ของการแบ่งกลุ่มตามจำนวนวันที่ค้างชำระ (Day Pass Due) ดังแสดงตัวอย่างในตาราง
.
หากพิจารณาอย่างคร่าว ๆ แล้วดูเหมือนเป็นหลักการที่ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อนใช่ไหมครับ เพียงแค่นำวันที่ตรวจสอบข้อมูล (Checking Date) ตั้งต้นไว้แล้วลบด้วย วันครบกำหนดชำระ (Due Date) ก็จะได้จำนวนวันที่ค้างชำระ (Day Pass Due) จากนั้นจึงดูว่าจำนวนวันที่ค้างชำระ ตกอยู่ในช่วงอายุหนี้ (Aging) ใด ก็จะสามารถจัดทำสมมติฐานการไหลตกชั้นของลูกหนี้ได้แล้ว แต่ในความเป็นจริงจากประสบการณ์การประเมิน ECL ลูกหนี้การค้ามากว่า 300 บริษัท ABS จึงขอแบ่งปันกรณีศึกษาที่ได้พบเจอมา และหวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน
.
อ่านต่อได้ที่ : www.tfrs9consulting.com/post/article4
.
--------------------------------------------------------------------
🆔 LINE : www.line.me/R/ti/p/%40abstas19
⏯ YouTube : www.youtube.com/channel/UCAsSvU1-CvAwCqRSd24sKtw
🔅 Twitter : www.twitter.com/ActuaryTommy
🚩 Facebook : นักคณิตศาสตร์ประกันภัย - ทอมมี่ แอคชัวรี Actuary
🌐 Website : www.actuarialbiz.com
#นักคณิตศาสตร์ประกันภัย #คณิตศาสตร์ประกันภัย #อาจารย์ทอมมี่ #ทอมมี่แอคชัวรี #Actuary #Fellow #เฟลโล่
Search