1973年,在小說手稿《Crash》完成不久,英國作家J. G. 巴拉德(J. G. Ballard)遭遇了一場嚴重的翻車意外。
.
身為全世界對車禍最迷戀的男人,後世沒有人能確定J. G. 巴拉德當時是打算順著自己筆下的主角,完成一場完美的車禍(即便要付出生命的代價),抑或這一切只是一個神秘的巧合。他的這部作品後來在1996被加拿大鬼才導演大衛.柯能堡(David Cronenberg)翻拍成了《超速性追緝 Crash》(1996)。
.
人的性癖好有千百種,巴拉德偏偏開創了前所未有的一種────對車禍事故的強烈慾望。在這則故事的世界裡,角色們不僅沉浸於體驗車禍的歡愉,也參與觀賞車禍的演出,向同好道出對車禍體驗的性幻想。其中許多人都是曾經遭遇車禍的受創者,他們從此不可自拔,想要一再體驗這種接近死亡的高潮。
.
在巴拉德眼中,沒有什麼比高速公路的市景更代表20世紀,他認為這是完全屬於20世紀的景觀。事實上,我們已然親身經歷、習以為常,根本沒想到我們已經身處於一個典型的科幻世界,與過去人類數千年的歷史產生了明顯的斷裂。
.
在這個被機器/車驅動的時代,人類將自己的軀體置入在一個移動的容器之中,為了追求便利,不惜將性命託付其中。久而久之,似乎也形成了一種異化現象,人體與車體漸漸合而為一⋯⋯。在巴拉德中中,人類對汽車的想像或許不只是「交通工具」那般簡單,而有著將之視為肉體延伸的慾望。
.
人類在考量購買什麼車款時,本來就會考慮什麼樣的車適合自己,光是這個念頭,其實已經是人類將車視為「新軀體」的開始。更不用說許多人類對賽車運動的迷戀,再再顯示了這種慾望已超越滿足交通便捷性的本質,而是讓自己達成肉身所不能為的速度,甚至能在一瞬間終結自己生命的可能性。
.
這種人對車的投射,若是如此獵奇、不堪。皮克斯的動畫系列《汽車總動員 Cars》不也成了駭人之作?
.
「我們生活在一個被各種虛構所統治的世界裡,我們生活在一本巨大的小說裡,虛構已經存在了。作家的任務是創造現實。」J. G. 巴拉德有云。
.
這本書出版之時,《紐約時報》書評人怒批,這是「令人感到最厭惡的書」。但後續也有學者發現巴拉德是如此精準地將人體比作車體,探討科技、性與死亡。爭議之聲直到電影《超速性追緝》在坎城影展問世之後,依然未曾止歇,即便坎城影展予以評審團特別獎,在英國仍有鼓吹予以禁播的呼聲。
.
世人固然覺得這部作品的概念古怪、病態,但作者巴拉德卻不以為然,他說如果人類真正懼怕「車禍」所造成的死亡,那又怎麼會前仆後繼地讓自己成為一名駕駛?他以此指出,我們每個人都在潛意識之中追求死亡的宿命,明顯有一種對死亡的驅動力隱隱作祟。
.
很少人還記得,其實早在1970年四月,巴拉德便已經在倫敦的新藝術實驗室展示自己以「車禍」為名的展覽,展品有三輛因車禍壞損的汽車組成。在私人的展示會上,巴拉德刻意安排一名女演員上空遊走在展場之中,沒過多久,酒酣耳熱的賓客們竟然放肆在車體上塗鴉、撒尿,甚至進入車中試圖侵犯坐進後座的女演員。在那一刻,人們已經無法分辨車與人/女性的分野,而一概視之為「物」。
.
而在隔年,他親自主演了結合劇情片與紀實風格的短片《Crash!》,他在片中娓娓道來自己對車禍的認知,甚至模擬死亡車禍的發生。這部作品成了小說的前奏,也是電影《超速性追緝》的前身(全片詳見留言處)。
.
在《超速性追緝》之後,巴拉德持續創作不懈,而且多有影像化,改編成電影的作品包括他的半自傳之作《太陽帝國 Empire of the Sun》(1987)與反烏托邦科幻之作《摩天樓 High-Rise》(2015)。近期大家最熟悉的,無疑是《愛×死×機器人 Love Death + Robots》的第二季最末章《溺斃的巨人 The Drowned Giant》(2021)。
.
我曾撰寫過針對該文本的分析,嘗試解讀片中巨人的象徵,全文刊載在VERSE網站,篇名為〈《愛×死×機器人:溺斃的巨人》 這巨人是中國還是蘇聯?〉(詳見留言處)。
.
至於那場車禍究竟有沒有奪走J. G. 巴拉德的性命?
.
答案是否定的。不過與他筆下的人物不同────巴拉德從此變成了一個戒慎恐懼的優良駕駛。
.
.
(J. G. 巴拉德在經歷這場車禍之中,拍下了當時車禍受損的福特汽車的各個角度,組合成了一張海報。)
#超速性追緝 #Crash 甲上娛樂
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「crash david cronenberg」的推薦目錄:
- 關於crash david cronenberg 在 Facebook 的最讚貼文
- 關於crash david cronenberg 在 horrorclub.net Facebook 的最讚貼文
- 關於crash david cronenberg 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
- 關於crash david cronenberg 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於crash david cronenberg 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於crash david cronenberg 在 Crash, David Cronenberg | Love movie, Classic films, Movies 的評價
- 關於crash david cronenberg 在 Mark Kermode reviews Crash (1996) | BFI Player | Facebook 的評價
- 關於crash david cronenberg 在 When David Cronenberg's Crash... - The London Free Press 的評價
crash david cronenberg 在 horrorclub.net Facebook 的最讚貼文
ADMIN REVIEW: JUMBO (สปอยบางส่วน)
.
JUMBO เป็นหนังที่มีพล๊อตชวนให้เข้าใจผิดวิตถาร โดยเฉพาะพวกจิตอกุศลสามารถจินตนาการเลยเถิดไปถึงหนังโป๊เฟติชฮาร์ดคอร์เลยทีเดียว
เพราะมันว่าด้วยผู้หญิงคนหนึ่งที่ตกหลุมรักเครื่องเล่นในสวนสนุก คำว่าตกหลุมรักของเธอในที่นี้ ไม่ใช่แค่ความรู้สึกผูกพัน ประทับใจ เหมือนเวลาเราไปนั่งชิงช้าสวรรค์ หรือม้าหมุน แต่เป็นความรักลึกซึ้งดูดดื่มถึงขั้นอยากสานสัมผัสกับสิ่งไม่มีชีวิต อยากเป็นส่วนหนึ่ง อยากร่วมรัก อยากสมรสร่วมชีวิตเคียงข้างกันไป
.
ทว่าด้วยพล๊อตเช่นนี้ ผู้กำกับสาวหน้าใหม่ไฟแรง Zoe Wittock กลับถ่ายทอดออกมาละมุนนีมีชีวิตชีวาเจิดจ้าด้วยความรู้สึก ซึ่งความดีความชอบส่วนหนึ่งต้องยกให้นักแสดงนำ Noémie Merlant ที่สามารถแสดงอารมณ์ความรู้สึกได้จริงแท้หมดจด
.
ส่วนตัวเราจะชอบช่วงต้น ๆ ของหนังมาก ที่มี magic moment ระหว่างคนกับเครื่องจักรแบบเต็มที่ ผู้กำกับ+ตากล้อง คิดช๊อตเก่งมาก ๆ สามารถถ่ายทอดให้เราเห็นหัวจิตหัวใจของเครื่องจักรได้โดยมิต้องมีคำพูดใดใด แต่ใช้การเคลื่อนไหวของกลไก และแสงไฟ เป็นตัวบอกเล่า ถ้าเป็นภาษาวรรณกรรมก็ต้องบอกเลยว่าแม่นมากกับการเขียนบุคลาธิษฐาน (การเขียนบรรยายสิ่งไม่มีชีวิต ให้ดูมีชีวิต ความรู้สึกนึกคิด)... ช่วงการสื่อสารของนางเอก กับเครื่องจักรในตอนต้น เข้าใกล้สิ่งที่เรียกว่าภวังค์รักในห้วงแห่งแสงสีนีออนที่แท้จริง เป็น magic moment ที่วิเศษมาก ๆ
หรือแม้แต่ฉาก sex ในมโนทัศน์ของนางเอกระหว่างเธอกับเครื่องจักรก็เป็นอะไรที่ว้าวมาก (แม้จริง ๆ จะไม่ใช่ไอเดียที่ใหม่นัก)
.
Zoe ได้แรงบันดาลใจในการสร้างหนังรักคน-เครื่องจักร มาจากข่าวหญิงสาวแต่งงานกับหอไอเฟล
(https://hilight.kapook.com/view/163173)
ในสายตาของคนทั่วไปอาจมองว่าเป็นอาการทางจิต ในวงการแพทย์นิยามอาการเช่นนี้ว่า Objectum-Sexual (มีอารมณ์รักใคร่กับวัตถุไม่มีชีวิต) แต่เราต้องยอมรับว่าโลกทุกวันนี้ก้าวไกลจนเรามิอาจตัดสินได้ว่าอะไรคือความถูกต้องตามบรรทัดฐานของสังคม ตราบใดที่การกระทำของบุคคลผู้นั้นมิได้เป็นอันตรายต่อบุคคลรอบข้าง มันคือรสนิยมส่วนตัว เราอยู่ในโลกที่ ชายมิได้คู่กับหญิงเสมอไปอีกแล้ว แต่ชายสามารถรักชาย หญิงสามารถรักตุ๊ด เกย์สาวสามารถเป็นแฟนกับเลสเบี้ยน ไปจนถึงมนุษย์แต่งงานกับตัวการ์ตูน สมรสกับตุ๊กตายาง ฉะนั้นหนังเรื่องนี้จึงช่วยทลายพรมแดนดังกล่าว และทำให้เรามองเห็น เปิดใจ ยอมรับ ความแตกต่างของคนในสังคม
.
ฉะนั้นเมื่อถอดเปลือกความแปลกของหนังออก เราจึงมองเห็นหนังเรื่องนี้ในฐานะหนังดราม่า LGBTQ ของคนชายขอบ เราสามารถเขียนสมการโดยถอดคำว่า JUMBO ออก แล้วใส่คำว่า "เกย์" ไปได้โดยสนิทใจ และหนังก็ดำเนินเรื่องไปตามสูตรหนังเกย์ coming of age แทบทุกประการ
ตัวละครได้เริ่มรู้จักความรักนอกขนบ -> ตัวละครทำความเข้าใจกับอารมณ์ที่เกิดขึ้น -> ตัวละครเปิดใจให้ความรักที่เกิดขึ้น -> ตัวละครเริ่มเดต และสานสัมพันธ์ -> ตัวละครพยายามบอกครอบครัวให้เข้าใจ และยอมรับกับหนทางที่ตัวเองเลือก -> ครอบครัวต่อต้านความรักนอกขนบ มีเหตุทะเลาะตบตี แม่ไม่เข้าใจตุ้ม -> ตัวละครพยายามลองใช้ชีวิตแบบคนปกติ แต่สุดท้ายก็ค้นพบว่ามันคือการหลอกตัวเอง...
.
JUMBO ไม่ใช่เป็นเพียงหนังรักสำหรับคนนอกรีต แต่ยังเป็นหนังรักเพื่อทุกคนในครอบครัว เป็นหนังที่พร้อมจะกุมมือคนรอบข้างคนชายขอบเหล่านี้ให้ทำความเข้าใจกับทางเลือกของพวกเขา หนังเชิดชูความรักความอบอุ่นของสถาบันครอบครัวเช่นกันกับสนับสนุนเสรีภาพในความรัก แม้หนังจะติดกลิ่นเลี่ยน ๆ ดราม่าน้ำตาซึม แม่-ลูก ตอนท้ายหน่อย ๆ (ส่งผลให้มนต์วิเศษของหนังในช่วงต้น ดร๊อปลงโดยปริยาย เมื่อหนังต้องกลายพันธุ์มาเป็นหนังรักแม่-ลูก ตอนท้าย)
.
JUMBO เป็นหนังดราม่า LGBTQ ที่ดูง่ายภายใต้เปลือกหนังคัลต์
อยากแนะนำให้ไปดู JUMBO ไม่ว่าคุณจะเป็นคนเพศไหน ชอบอะไร ไม่ว่าคุณจะเป็นแบบนางเอกในเรื่อง หรือมีคนรู้จักเป็นแบบนั้น ไปดูเถอะ ทำความเข้าใจเขา มองเขาอย่างมี empathy ไม่ต้องเข้าใจเขาทั้งหมด แต่พร้อมยืนอยู่ข้าง ๆ กับเขาก็พอ
.
JUMBO เป็นหนังในโครงการ #หนังผมไม่เล็กนะครับ ของ M Picture ยังพอมีรอบฉายอยู่บ้าง รีบไปดูก่อนออกโรงกัน
ตัวอย่าง https://www.youtube.com/watch?v=tG3PoCsAg44
.
.
.
.
.
.
ป.ล. นอกเรื่อง ขอสปอยฉากเซ็กซ์ระหว่างนางเอกกับมนุษย์ผู้ชาย
เราสนใจการมีเซ็กซ์ของเธอมาก กล่าวคือ เธอเป็นพวกเฟติชเครื่องจักร หรือวัตถุไม่มีชีวิต แต่เมื่อเธอยอมปลงใจพลีกายให้กับมนุษย์ด้วยกัน เธอกลับเลือกมีเซ็กซ์ในท่า doggy แล้วมันสื่ออะไรล่ะ
สำหรับเรามันคือการเลือกที่จะมี sex โดยไม่เห็นหน้าคู่ของตนเอง เพราะเธอจะรู้สึกแค่เพียงแรงกระแทก โดยปราศจากการมองเห็นตัวผู้กระทำ ซึ่งก็คือมนุษย์ด้วยกัน
ฉากนี้ทำให้เรานึกถึงหนังเรื่อง Crash ของ David Cronenberg ถ้าใครเคยดู จะรู้ว่ามันพูดถึงความสัมพันธ์ที่พังทลายระหว่างมนุษย์ จนต้องอาศัยความรุนแรง อุบัติเหตุ รถชน เครื่องยนต์ มาเป็นสื่อกลางในการเชื่อมใจ ตัวละครพระเอกก็มีเซ็กซ์ในท่าหันหลังเกือบทุกครั้งเช่นกัน แค่รู้สึกกระสัน มันไม่ได้หมายความว่าเราต้องอยากรับรู้อารมณ์ของอีกฝ่าย นอกจากตอบสนองให้เสร็จไปไม่ต่างจากวัตถุไร้ชีวิตจิตใจ หรือรถที่บุบสลายคันนึง
crash david cronenberg 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
crash david cronenberg 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
crash david cronenberg 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
crash david cronenberg 在 Mark Kermode reviews Crash (1996) | BFI Player | Facebook 的美食出口停車場
5.3K views, 117 likes, 22 loves, 14 comments, 10 shares, Facebook Watch Videos from BFI: Mark Kermode revisits David Cronenberg's Crash. You had best... ... <看更多>
crash david cronenberg 在 When David Cronenberg's Crash... - The London Free Press 的美食出口停車場
When David Cronenberg's Crash premiered in Cannes in 1996, critics leveled charges of pornography. But the director took it in stride. ... <看更多>
crash david cronenberg 在 Crash, David Cronenberg | Love movie, Classic films, Movies 的美食出口停車場
Nov 10, 2013 - This Pin was discovered by Irene Miranda. Discover (and save!) your own Pins on Pinterest. ... <看更多>