Global discovery opportunity :series: Electronic vehicle(3) : เราอยู่ตรงไหนในอุตสาหกรรมEV
ถ้าหากนักลงทุนท่านใดที่มีเเนวทางการลงทุนที่เน้นหลักการเติบโต(หุ้นgrowth) คงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะไปมุ่งเน้นที่การเติบโตของกำไรเป็นหลัก ซึ่งถ้ามามองในอุตสาหกรรมในไทยเป็นหลัก การจะหาหุ้นที่กำไรจะเติบโตไปเรื่อยๆคงไม่ง่ายนัก เเต่ถ้าเราไปหาหุ้นในต่างประเทศที่มีเเนวโน้มในการเติบโตอย่างก้าวกระโดด ผมก็ต้องบอกเลยว่าการมาของ EV car ถือว่าน่าสนใจทีเดียว
จากการรายงานเเละการคาดการณ์ของหลายๆนักวิเคราะห์ ต่างบอกว่า ยอดขายของ EV car ในปัจจุบันที่ประมาณ2 ล้านคันต่อปี จะมีการเติบโตไปที่3เท่า เป็นที่ประมาณ6ล้านคันต่อปีภายในปี2025 เเละจะโตอย่างก้าวกระโดดไปที่15ล้านคันต่อปี ในปี2030 เเละมีเเนวโน้มจะเติบโตไปที่ยอดขาย50ล้านคันต่อปี ในปี2040
ซึ่งหากคิดจากยอดขายรถยนต์ต่อปีในปัจจุบันจะอยู่ที่ประมาณ 70ล้านคันต่อปี(ณ ปี2020 จากรายงานของ IEA) ซึ่งหมายความว่าภายในปี2040 การขายรถยนต์สันดาปจะลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญ
เเล้วอะไรเป็นปัจจัยที่ขับเคลื่อน EV car ได้ขนาดนี้?
สิ่งหนึ่งที่มีผลอย่างมีนัยยะสำคัญในการขับเคลื่อนพลังงานสะอาดก็คือ นโยบายของรัฐที่ทั่วโลกจะเข้าสู่การเป็น zero-emission country จากการประชุม C40 cities climate leadership group ตั้งเเต่ปี2016 เเละคาดว่าจะเเบนการขายรถยนต์สันดาปภายในปี2025 ในหลายๆประเทศ เพราะปัญหาของสภาวะโลกร้อนที่กำลังมีผลที่รุนเเรงขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนี้การมาของEV car ยังนำไปสู่การเป็นautonomous car ที่จะสร้างการdisruption ในอีกหลายsector เพื่อการเข้าสู่โลกที่เป็น smart cityอย่างสมบูรณ์ ดังนั้น Theme การลงทุน EV car คงจะไม่ใช่เรื่องที่น่าปฏิเสธเลยทีเดียว
เเล้วจุดนี้ของอุตสาหกรรม EV car น่าลงทุนหรือยัง?
การจะยืนยันว่าน่าลงทุนหรือไม่นั้นคงจะประกอบไปด้วยหลายปัจจัย ปัจจัยเเรกก็คือ จุดที่ยืนอยู่ของอุตสาหกรรมนั้น ว่าอยู่ stage ไหน
Stage ของอุตสาหกรรมประกอบไปด้วย 4 ระยะ
ระยะที่1(ระยะของความสงสัย)
ระยะนี้ยังเต็มไปด้วยความกังวลว่าผลิตภัณฑ์จะดีจริงหรือเปล่า จะไปได้นานเเค่ไหน ใครจะใช้ ซึ่งผลบอกได้เลยถ้าคุณมีตาทิพย์เเละรู้ล่วงหน้า การลงทุนในระยะนี้จะสร้างผลตอบเเทนมหาศาล
ระยะที่2 (ความชัดเจน)
ระยะนี้ทุกคนจะเริ่มรู้สึกถึงความเป็นไปได้ หลายๆคนเริ่มพูดถึง คนจำนวนมากเริ่มให้ความสนใจ ซึ่งเรากำลังอยู่ในจุดนี้ เเต่ผลที่ตามมาคือ ราคาหุ้นจะเเบกรับความคาดหวังของอนาคตไปเรียบร้อยเเล้ว
ระยะที่3 (เเพร่หลาย)
ระยะที่เกิดการนำไปใช้อย่างมหาศาล(mass adoption) ซึ่งคนทุกคนจะเริ่มใช้กันอย่างปกติ เเละ ผมเชื่อว่าระยะนี้จะทำให้มีผลจากnetwork effectเข้ามา การทำระบบautonomous car จะมีประสิทธิภาพสูงมาก เพราะรถเริ่มมีเครือข่าย
ระยะที่4 (คงที่)
ระยะที่ทุกคนจะรู้สึกปรฝกติกับเทคโนโลยีใหม่ๆจน เป็นความชิน
ดังนั้น การที่เราทุกคนต่างรับรู้ถึงการมาของEV carคงไม่ได้เเปลกไปกว่าใคร (ระยะที่2) หากเเต่ราคาของหุ้นเหล่านั้นได้price inความคาดหวังไปเรียบร้อยเเล้ว เเถมยังการจะประเมินหาผู้ชนะ ก็ยังมองได้ไม่ชัดเจนนัก การรอเพื่อการลงทุนระยะยาวน่าจะเป็นทางเลือกที่น่าสนใจกว่า เเล้วรอตีhomerun ทีเดียวก็ยังไม่สาย
ติดตามความรู้ด้านการเงิน เศรษฐกิจ การลงทุน หุ้นไทย หุ้นต่างประเทศ ได้ที่คุยการเงินกับที
Ref: https://qrius.com/electric-vehicles-we-all-want-formula-1-inspired-electric-cars-are-coming-to-india-australia/
Trin T
c40 cities 在 媽媽監督核電廠聯盟 Facebook 的最讚貼文
【專欄】陳惠萍:「城市」,是全球永續發展的關鍵戰役!(10/31/2020 天下雜誌CSR@天下)
作者:陳惠萍
為喚醒國際社會對城市行動的重視,自2014年起,聯合國將每年10月31 日指定為「世界城市日(World Cities Day)」。透過「城市與SDG」系列文章,看見全球邁向永續發展的過程中,城市如何發揮關鍵角色及影響力,實踐美好的未來。
「城市是男人和女人,女孩和男孩居住的地方,也是他們為生活打拼並實現夢想的所在。這裏亦是解決貧窮及不平等、提供健康與教育服務、保護生態體系、以及保障人權的地方。-SDG Cities Guide」
「城市化(Urbanization)」正為世界帶來巨大變革與影響。據聯合國統計,全球已有一半以上人口居住於城市,到2030年將超過6成,人數增加至50億。
高樓林立的都會叢林,不僅是人們搭乘夢想翱翔、揮灑繁華的所在,同時也可能是貧窮、失業、社經落差、不可持續消費及生產方式的淵藪之地。僅佔全球土地面積3%左右的城市,在為全球創造高達八成GDP的同時,也產生了70%以上的能源消耗和碳排放、並使用超過六成以上資源。
面對失控的地球暖化與氣候緊急狀態,城市開始被視為國家主體之外,所謂「非國家體系(non-state actor)」的重要行動者。如同2015年紐約世界城市高峰會暨市長論壇開幕時,聯合國副秘書長Jan Eliasson所呼籲:「城市將是這場永續發展之戰的決勝之地。」
城市雖然僅佔世界的極小領域,但其所影響的社會、經濟與環境範疇卻十分巨大。因此,對於永續發展的追求不僅是城市首長的重要政治行動,也將成為左右全球氣候變遷戰役成敗的關鍵節點。
從城市開啟美好生活:SDG11與永續城市
面對又熱又平又擠的世界,城市如何變得更好?
聯合國永續發展目標(Sustainable Development Goals, SDGs)提供了具體指引,幫助城市領導人擘劃更公平美好的發展藍圖,讓每一座城市都成為永續願景之城。
其中,SDG11「永續城市」訴求「建立具包容性、安全、韌性及永續的城市與人類社區」( Sustainable Cities and Communities : Make cities inclusive, safe, resilient and sustainable),例如:改善貧民窟&提供負擔得起的住房和基本服務、打造便民的公共運輸系統、減少城市廢棄物與空污問題、提供安全且具包容性、可及性的公共場所及綠色空間等,讓每一位居住在城市的居民都能獲得更有品質的生活。
城市作為回應全球氣候倡議及行動的積極角色,可透過彼此串連、促進城市治理模式的經驗學習,從而加速全球城市轉型。以下,將簡要介紹國際上重要的城市組織網絡與資源。
(1)「地方政府永續發展理事會」(ICLEI):
全球最早共同承諾推動永續發展的地方政府網絡「地方政府永續發展理事會(ICLEI- Local Governments for Sustainability,ICLEI)」成立於1990年,截至2020年已有超過124個國家、1750個地方政府串連為夥伴城市,成為引領城市轉型的重要國際地方政府網絡。
其中包含12個巨型城市、100個超級城市和都會區、450個大型城市,以及450個中小型城市及城鎮。目前,台灣也有11個城市加入成為會員城市(包含:屏東縣、高雄市、台南市、嘉義市、雲林縣、台中市、新竹縣市、桃園市、台北市、新北市。其中ICLEI東亞地區高雄環境永續發展能力訓練中心也是德國波昂總部以外唯一的能力訓練中心)。
ICLEI積極倡議全球性的地方政府運動,並致力推動地方社區與城市計畫,達成公平、安全、韌性、活力經濟及健康環境之目標。其主要採取五大發展路徑推進城市達成SDG目標:(1)基於自然的發展;(2)韌性發展;(3)低碳發展;(4)循環發展;(5)公平及以人為本的發展。
(2)「城市氣候領導聯盟」(C40):
2005年成立的對抗氣候變遷網絡「城市氣候領導聯盟(C40 Cities Climate Leadership Group,C40)」以城市結盟型態和舉辦「城市氣候高峰會(C40 Large Cities Climate Summit)」等方式,促進各城市對抗氣候變遷議題的行動經驗與交流。迄今有97個城市會員,總計產出約1萬個應對氣候變遷的城市行動方案。
2018年,C40曾發布一份《我們不想要的未來》報告書(註:其名稱回應2012年里約Rio+20大會後通過的報告書:《我們想要的未來》),其中指出面對氣候災害的影響下,幾乎所有城市都暴露在危險之中。
城市所面臨的6大脆弱性問題包括:酷熱、高溫與貧窮、水的可及性、糧食安全、海平面上升與能源供應。
這份研究表明,全球城市面臨共同且廣泛的威脅風險,身處其中的城市居民將受到影響最劇烈的氣候災難。此外,報告書中也強調都市「熱島效應」所導致的極端高溫與空氣污染與健康風險,將使得某些弱勢人群(兒童、老人、病人及窮人)特別容易蒙受其害。
因此,地方領導及決策者除了必須致力邁向永續城市發展,以因應日益加劇的氣候風險及城市治理挑戰。更重要的是,城市領袖也應當關注氣候災害下,市民如何因為種族、性別、年齡或健康狀況而遭遇不同程度的衝擊,才能落實更具公平性與韌性的城市未來。
(3)「聯合國永續發展解決方案網絡」(SDSN):
2012年,聯合國秘書長潘基文建立「聯合國永續發展解決方案網絡」(The UN Sustainable Development Solutions Network ,SDSN),連結全球科學與技術專家,尋求解決方案以實踐永續發展目標。
為了評估聯合國193個會員國家在SDG方面的總體進展,SDSN除了發布各國在17項SDG的總體進展排名,也繪製地圖呈現所有國家在各別SDG項目上的得分。
除此之外, SDSN也幫助改善城市治理,並自2013年起SDSN發起「城市永續發展目標運動」( Campaign for an Urban Sustainable Development Goal)形成獨立專責的城市永續發展項目,透過與地方政府&利害關係人合作,共同支持SDG11的實施及推廣。
其中幾項重點城市方案:美國永續城市倡議(USA-SCI)和里約永續城市倡議(Rio Sustainable Cities Initiative),不僅見證典範城市的成功經驗,也分享相關政策工具及資源,藉以帶動更多永續城市發展。
(4)「全球氣候與能源市長聯盟」(CGoM):
2016年全球兩大主要氣候倡議城市聯盟:「全球市長聯盟(Compact of Mayors)」與「歐洲市長盟約(Covenant of Mayors)」進一步擴大結盟,共同組成「全球氣候與能源市長聯盟(The Global Covenant of Mayors for Climate & Energy,CGoM)」。
截至目前,該聯盟已成功結合139個國家、1萬個城市及地方政府的承諾進行城市自願性氣候行動,影響超過9億人口,成為規模最大的城市行動聯盟。
「全球氣候與能源市長聯盟」的使命與目標是:透過具體的氣候及能源行動,幫助城市與社區人民帶來更健康、綠色及具韌性的未來。主要從「減少溫室氣體排放」、「調適氣候變遷影響」及「發展可負擔的再生能源」3大主軸來促進城市永續發展。
這條城市永續轉型的旅程,將包含幾個階段:提交承諾、評估影響及風險、設定溫室氣體減量目標、制定計畫、實行、監控與報告、驗證成果、定期更新資料。
在此過程中,每個城市都可能有不同的路徑,但GCoM將透過提供資源串連,協助建立知識、數據、金融及氣候服務共享的全球夥伴關係,加速這場世界城市轉型運動的進展。
城市與我們的未來
城市的未來,取決於今日的行動並將影響下一個世代。如同「未來倫理:氣候變遷與政治想像(Future Ethics: Climate Change and Apocalyptic Imagination)」一書所提醒,氣候問題的背後事實上涉及了世代正義、哲學與道德等深層意涵。
如何面對「我們不想要的未來」,並且開創「我們想要的未來」,這場永續發展的戰役正在城市展開。或許,每一位穿梭在大城小鎮中,為了美好生活而努力著的你我,也都將無法置身其外!
(本次主題「城市SDG」共分上下篇,上篇為:全球永續發展之戰:城市是關鍵!;下篇為:永續城市的在地實踐:大城小鎮的故事)
完整內容請見:
https://csr.cw.com.tw/article/41709
♡
c40 cities 在 環境資訊中心 Facebook 的最佳貼文
復甦不應是回歸「一切照舊」, 因為那樣的世界,增溫超過3°C甚至更高!
全球將近100座城市組成的 #C40城市氣候領導聯盟,透過跨國的知識共享、協同合作,讓牽一髮動全身的環境議題,能以全球串連的方式,更快速的因應面對。
今年,他們成立了「COVID-19經濟復甦全球城市專案小組」並提出了一系列的「落實指引」,包括如何規劃社交距離、保護醫護人員等防疫階段所需的資訊,更有許多各城市實質防疫策略的分享。
現階段較為具體的落實指引建議,是「以單車騎士、行人為優先的更安全、更強健的復甦策略」。本篇由趙家緯老師解析,介紹此 #綠色振興 措施方案細節,以及台灣可以怎麼配合,用「單車」突破現在的經濟與氣候危機🚴
===
🌍加入定期定額捐款,支持環境資訊傳播 https://goo.gl/phNqwG
c40 cities 在 C40 Cities - YouTube 的美食出口停車場
C40 is a network of nearly 100 mayors of the world's leading cities who are collaborating to deliver the urgent action needed right now to confront the ... ... <看更多>
c40 cities 在 C40 Cities - Facebook 的美食出口停車場
C40 Cities. 39694 likes · 29 talking about this. C40 is a global network of nearly 100 mayors #UnitedInAction to confront the climate crisis. ... <看更多>