#尛外電 野豬翻攪泥土釋出碳 相當於110萬輛車的年碳排放量
----------------------------
Artist: Eva Pu Illustration
----------------------------
在澳洲提到野豬,農夫們可能會皺眉,因牠們非常「擅長」讓農民大出血;近日有科學家發現,喜歡到處遊蕩覓食的野豬,每年的碳排放量高達490萬公噸,是將近110萬輛汽車整年排放量的總和,對環境的威脅比想像中嚴重。
這些被野放的家豬在澳洲向來是個令人頭痛的問題。前‧家豬因逃跑等各種原因淪為後天的野豬,成群結隊的野豬大軍就著麼成了城市裡的常駐景點。
豬豬們不僅會破壞稻作、散佈口蹄疫等傳播疾病,還會捕食牲畜、危害那些早已在人類威脅下族群數量減少的物種。
野放家豬對澳洲價值650億澳元(約1.3兆元台幣)的農業是一大威脅,若因此引發口蹄疫,農業損失將高達500億澳元(約1.02兆元台幣)。
近期澳洲昆士蘭大學一項新研究指出,除了重創澳洲農業,這些野豬引發的碳排放問題也不容小覷。野豬翻攪泥土時,泥土中的碳就會跟著被翻出並釋放至大氣層。該研究被刊載在科學期刊《全球變化生物學》(Global Change Biology)上。
主要研究作者歐布萊恩(Christopher O'Bryan):「無庸置疑地,翻攪泥土本來就會將碳釋出,但我們沒想過會達到這種規模,490萬公噸的碳排放量。」他表示這只是保守估計,實際排放量可能會是估值的3至4倍。
研究團隊首先建置野豬族群數量的預測模型,並透過先進的繪圖技術點出野放家豬在五大洲造成的災情。他們發現,澳洲及紐西蘭的野豬有最高的碳排放量,因這兩國擁有數百萬頭野豬。
「模型還顯示以全球規模觀之,這些野豬翻攪的範圍高達3.6萬平方公里至12.4萬平方公里,」歐布萊恩表示,泥土中所含的碳是大氣層中含碳量的3倍,所以當土中部份的碳被釋放出後,對氣候變遷是會有影響的。
研究也指出,管控這些野生家豬非常具挑戰性,因為牠們繁殖速度非常快,狀況好時,一胎可生4至10隻,「現在沒有簡單迅速的完美解方。」
由澳洲聯邦農業部資助的「國家野放家豬行動計畫」將於9月推行,這項將各州、聯邦及地方政府、國家資源部門、地主、產業團體串聯在一起的計畫,預計要減少70%的野豬數量。
尛評:希望能發展出新型產業,城市放牧之類的。
#放牧者可以騎在豬背上 #當名正言順的野豬騎士 #歪編
--
Source: Daily Mail, ABC NEWS
➤ 我們的IG https://reurl.cc/A848rK
➤ 你知道尛? https://reurl.cc/4mjkGD
➤ 我們的MeWe https://mewe.com/p/ani3small/
➤ 我們的YT https://www.youtube.com/c/Ani3small
#澳洲野豬 #野放家豬 #feralpigs #ChristopherOBryan #GlobalChangeBiology #阿尼尛 #圖文
同時也有5部Youtube影片,追蹤數超過72萬的網紅腦補給,也在其Youtube影片中提到,【蝦皮拍賣】 我現在自己在製作天然寵物肉乾 適合貓狗人吃 ,沒有防腐劑調味料 蝦皮網址: https://shopee.tw/twjerky 訂購LINE: 0900109282 FB/IG: 中崙天然寵物肉乾 【今日內容】 這個世界充滿奇怪狂野的東西 每天活在忙碌的生活裡 我們都忘記這個宇宙每...
「biology news」的推薦目錄:
- 關於biology news 在 阿尼尛 Anima Facebook 的最佳解答
- 關於biology news 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於biology news 在 Apple Daily - English Edition Facebook 的最佳解答
- 關於biology news 在 腦補給 Youtube 的最佳貼文
- 關於biology news 在 同志道合 Youtube 的精選貼文
- 關於biology news 在 拉哥 Lai UP Youtube 的最佳解答
- 關於biology news 在 Built with Biology news roundup - May 2020 - YouTube 的評價
biology news 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
สหรัฐอเมริกา ประเทศที่มีผู้อพยพเข้าไป มากที่สุดในโลก /โดย ลงทุนแมน
ทุก 1 ใน 4 ของประชากรผู้อพยพจากทั่วโลก มีจุดหมายปลายทางอยู่ที่สหรัฐอเมริกา
จนทำให้กลายเป็นประเทศที่มีผู้อพยพมากที่สุดในโลก..
ปี 2019 จำนวนผู้อพยพที่เข้ามาอาศัยในสหรัฐอเมริกาและยังมีชีวิตอยู่ มีจำนวน 51 ล้านคน
หรือประมาณ 15% ของจำนวนประชากรทั้งหมดของประเทศ
ทำไมสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีผู้อพยพเข้ามาอาศัยจำนวนมาก
แล้วสหรัฐอเมริกาได้ประโยชน์อะไรจากการมีผู้อพยพเข้ามาในประเทศ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ถ้าถามว่า จุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์การอพยพของมนุษยชาติเกิดขึ้นมาเมื่อไร ?
คำตอบคือ เกิดขึ้นในช่วงประมาณ 70,000-100,000 ปีที่แล้ว เมื่อมนุษย์โฮโมเซเปียนส์เริ่มออกเดินทางจากทวีปแอฟริกา ไปยังภูมิภาคตะวันออกกลาง ก่อนจะค่อย ๆ แยกย้ายไปยังยุโรป เอเชีย อเมริกา และออสเตรเลียในที่สุด
ซึ่งการอพยพของมนุษย์ในยุคนั้นก็เพื่อหลีกหนีจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่เป็นภัยต่อการใช้ชีวิตและดำรงเผ่าพันธุ์ของตนเองไว้
แม้ว่าเวลาจะผ่านมาเป็นหมื่นเป็นแสนปี แต่ทุกวันนี้การอพยพก็ยังเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่ยังคงอยู่กับมนุษยชาติ ปัจจุบันทั่วโลกมีประชากรที่อพยพรวมกันกว่า 272 ล้านคน หรือประมาณ 3% ของจำนวนประชากรโลกทั้งหมดไม่ได้อาศัยอยู่ในประเทศบ้านเกิด
ซึ่งการอพยพนั้น อาจเกิดมาจากความเต็มใจหรือถูกสถานการณ์บังคับ ทำให้คนที่อาศัยอยู่ในประเทศนั้น ต้องการอพยพเพื่อย้ายไปอยู่ในประเทศอื่นที่พวกเขาเชื่อว่า จะทำให้ชีวิตตนเองนั้นดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่
ปี 2019 ประเทศที่มีจำนวนผู้อพยพที่เข้ามาอาศัยในประเทศมากที่สุด 3 อันดับแรกของโลก คือ
1. สหรัฐอเมริกา 51 ล้านคน
2. เยอรมนี 13 ล้านคน
3. ซาอุดีอาระเบีย 13 ล้านคน
สำหรับสหรัฐอเมริกา..
ประเทศแห่งนี้สร้างขึ้นมาจากการต่อสู้กับการกดขี่ข่มเหงของเจ้าอาณานิคม
ในวันที่ประกาศอิสรภาพจากอังกฤษ สิ่งที่อยู่ในคำประกาศอิสรภาพ
คือการปกป้องสิทธิในการใช้ชีวิต เสรีภาพ และการแสวงหาความสุข
ซึ่งต่อมาก็ได้กลายเป็นหลักความเชื่อที่สำคัญที่สุดสำหรับชาวอเมริกันทุกคน
ชาวอเมริกันจึงให้ความสำคัญกับเสรีภาพทางการคิด การพูด และการแสดงออกเป็นอย่างมาก ความคิดเห็นอะไรก็ตามที่อยู่ในขอบเขตของกฎหมาย ล้วนมีความเป็นไปได้อย่างไม่มีขีดจำกัด
สิ่งเหล่านี้เองที่เป็นแรงดึงดูดให้นักคิด นักประดิษฐ์ นักผจญภัยจากทั่วโลก เข้ามาตั้งถิ่นฐาน และเป็นส่วนสำคัญที่ขับเคลื่อนให้สหรัฐอเมริกาก้าวขึ้นมาจนเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอันดับ 1 ของโลกในปัจจุบัน
ตัวอย่างของผู้อพยพจากทั่วโลกที่เข้ามาสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับสังคมอเมริกัน
ไม่ว่าจะเป็น..
ตระกูล Rockefeller ตระกูลนักธุรกิจชื่อดัง อพยพจากเยอรมนีเข้ามาสหรัฐอเมริกาช่วงต้นศตวรรษที่ 17 โดย John D. Rockefeller เป็นผู้ก่อตั้งบริษัท Standard Oil บริษัทน้ำมันที่เคยยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก
Nikola Tesla นักประดิษฐ์ นักฟิสิกส์ และวิศวกรชาวเซิร์บ อพยพเข้ามาสหรัฐอเมริกาในปี 1884 ผู้พัฒนาระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ผู้คิดค้นหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์และรีโมตคอนโทรล
Albert Einstein นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว อพยพเข้ามาสหรัฐอเมริกาในปี 1933 เขาเป็นคนนำเสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติของแรงโน้มถ่วง
Sergey Brin ผู้อพยพชาวรัสเซีย อพยพเข้ามาสหรัฐอเมริกาในปี 1979 เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง Google ซึ่งเป็น Search Engine อันดับ 1 ของโลกในปัจจุบัน
Jandali ผู้อพยพชาวซีเรีย ที่เข้ามาตั้งรกรากในสหรัฐอเมริกา บิดาของ Steve Jobs ผู้ก่อตั้ง Apple บริษัทเทคโนโลยีที่ใหญ่ที่สุดในโลก ณ วันนี้
สหรัฐอเมริกาคือดินแดนที่ทำให้พวกเขาเหล่านี้มีโอกาสประสบความสำเร็จในชีวิต
รวมทั้งเปลี่ยนแปลงชีวิตไปในทางที่ดีขึ้น ผู้อพยพหลายคนถึงกับตั้งฉายาให้กับประเทศแห่งนี้ว่า “Land of Opportunity”
เราลองมาดูว่า 50 ปีที่ผ่านมา มีผู้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในสหรัฐอเมริกามากแค่ไหน ?
ปี 1970 จำนวนผู้อพยพ 12 ล้านคน เป็นสัดส่วน 5% ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ
ปี 2019 จำนวนผู้อพยพ 51 ล้านคน เป็นสัดส่วน 15% ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ
ปัจจุบัน โดยเฉลี่ยแล้วในแต่ละปีจะมีผู้อพยพเดินทางเข้าสหรัฐอเมริกาปีละไม่ต่ำกว่า 1 ล้านคน ขณะที่ในปี 2019 นั้น 3 ประเทศที่มีผู้อพยพเข้ามายังสหรัฐอเมริกามากที่สุดคือ เม็กซิโก จีน และอินเดีย ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนถึง 26% ของจำนวนผู้อพยพเข้าไปยังสหรัฐอเมริกาทั้งหมด
ทีนี้มาดูว่า แล้วทำไมในแง่ของสหรัฐอเมริกา จึงยังต้องการให้มีผู้อพยพเดินทางเข้าไปเรื่อย ๆ
เรื่องแรก เป็นเรื่องเกี่ยวกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ
การมีแรงงานอพยพที่มากจะช่วยขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจนั้นเติบโตทั้งในแง่ของการผลิตและการบริโภค โดยเฉพาะการบริโภคนั้นถือว่ามีความสำคัญเนื่องจากมีสัดส่วนสูงถึง 70% ของ GDP สหรัฐอเมริกา
ในปี 2019 แรงงานในสหรัฐอเมริกา ที่เป็นผู้อพยพมีจำนวนเท่ากับ 28 ล้านคน หรือประมาณ 15% ของจำนวนแรงงานทั้งหมดของประเทศ
แรงงานอพยพ ถือเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้หลายธุรกิจในสหรัฐอเมริกานั้นเติบโต ไม่ว่าจะเป็น
แรงงานที่ใช้ทักษะทั่วไปในภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ รวมทั้งงานที่คนอเมริกันไม่ต้องการทำ
แรงงานที่ใช้ทักษะขั้นสูง ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมเมอร์ วิศวกร ซึ่งแรงงานเหล่านี้ ถือเป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญที่จะช่วยทำให้สหรัฐอเมริกาคงความเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของโลกได้ในอนาคต
ที่ลืมไม่ได้เลยคือ แรงงานที่เป็นผู้อพยพนั้น ถือเป็นแหล่งรายได้จากการเก็บภาษีที่สำคัญของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ข้อมูลสรรพากรของสหรัฐอเมริการะบุว่า ในปี 2017 แรงงานอพยพในสหรัฐอเมริกาจ่ายเงินภาษีรวมกันกว่า 13 ล้านล้านบาท ซึ่งเป็นขนาดที่เกือบเท่า GDP ของประเทศไทยทั้งประเทศเลยทีเดียว
ซึ่งเงินภาษีเหล่านี้ ถือเป็นแหล่งเงินทุนสำคัญสำหรับกองทุนประกันสังคมและกองทุนที่ใช้ในโครงการประกันสุขภาพแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาอีกด้วย
การย้ายถิ่นฐานของแรงงานอพยพ ยังช่วยชดเชยการลดลงของกำลังแรงงานของสหรัฐอเมริกา เนื่องจากคนอเมริกันในยุค Baby Boomer หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ทยอยเข้าสู่วัยเกษียณไปเรื่อย ๆ
ขณะที่ในปี 2020 บริษัทชั้นนำ 500 อันดับของสหรัฐอเมริกา หรือฟอร์จูน 500 นั้น เป็นบริษัทที่ก่อตั้งโดยกลุ่มผู้อพยพ มีสัดส่วนถึง 44%..
เรียกได้ว่า ผู้อพยพกลายเป็นส่วนหนึ่งของสังคมอเมริกันไปแล้ว
พวกเขาไม่เพียงแต่ช่วยเสริมความแข็งแกร่งให้เศรษฐกิจของประเทศ
แต่ยังทำให้เกิดความหลากหลายทางด้านสังคมและวัฒนธรรมอีกด้วย
สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศพัฒนาแล้วไม่กี่ประเทศ ที่ถูกคาดว่าจะมีประชากรเพิ่มขึ้นในปี 2050 ซึ่งจะเพิ่มขึ้นราว 50 ล้านคน จากประชากร 330 ล้านคนในปี 2020
โดยสาเหตุหลักของการเพิ่มขึ้นก็มาจากผู้อพยพนั่นเอง
เรื่องนี้ตรงกันข้ามกับประเทศที่พัฒนาแล้วหลายประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ หรือประเทศส่วนใหญ่ในยุโรป ที่ประชากรมีแนวโน้มที่จะลดลงในอนาคต
จีน ที่เป็นคู่แข่งคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาก็พบกับปัญหาที่ประชากรมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวเช่นกัน เพราะจีนไม่ได้เป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติซึ่งไม่สามารถดึงดูดผู้อพยพได้เท่าไรนัก
หรือแม้แต่ประเทศที่กำลังพัฒนาอย่างประเทศไทยเอง ที่มีผู้อพยพจากประเทศใกล้เคียงอยู่จำนวนหนึ่ง ก็ยังเจอปัญหาประชากรที่มีแนวโน้มลดลงในอนาคตเช่นกัน
การอพยพของมนุษย์นั้น เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมานานตั้งแต่ยุคโบราณ จนมาถึงวันนี้และน่าจะมีต่อไปในอนาคต
แต่การที่มนุษย์จะอพยพไปที่ไหนนั้น
ก็คงตอบได้ว่า เป็นสถานที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่ดี มีโอกาสรอบด้านที่จะทำให้ตัวเขา รวมไปถึงลูกหลานของเขาอยู่รอดปลอดภัย และอยู่ดีกินดี นั่นเอง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.migrationpolicy.org/article/frequently-requested-statistics-immigrants-and-immigration-united-states-2020#:~:text=How%20many%20immigrants%20reside%20in,of%204.7%20percent%20in%201970.
-https://www.un.org/sites/un2.un.org/files/wmr_2020.pdf
-https://mullin.house.gov/news/documentsingle.aspx?DocumentID=612#:~:text=Since%20its%20beginning%2C%20America%20has,own%3A%20an%20opportunity%20to%20succeed.
-https://www.khanacademy.org/humanities/world-history/world-history-beginnings/origin-humans-early-societies/a/where-did-humans-come-from#:~:text=Between%2070%2C000%20and%20100%2C000%20years,35%2C000%20and%2065%2C000%20years%20ago.
-https://www.sapiens.org/biology/early-human-migration/#:~:text=from%20SAPIENS&text=In%20a%20study%20published%20today,just%20over%20100%2C000%20years%20ago.
-https://www.bls.gov/opub/ted/2020/foreign-born-workers-made-up-17-point-4-percent-of-labor-force-in-2019.htm
-https://www.sandiegouniontribune.com/business/economy/story/2020-02-28/does-the-u-s-need-more-legal-immigration
- https://americasvoice.org/blog/immigration-101-immigrant-taxes/
-https://www.thebalance.com/components-of-gdp-explanation-formula-and-chart-3306015
-https://data.newamericaneconomy.org/en/fortune500-2020/#exploratory_tool
-https://citizenpath.com/countries-with-the-most-immigrants/
-https://www.populationpyramid.net/united-states-of-america/2050/
biology news 在 Apple Daily - English Edition Facebook 的最佳解答
#Opinion by Allan Au Ka-lun 區家麟|"The strong wind has come to Hong Kong. Currently it is particularly ferocious. Loyalty and rubbish always go hand in hand. We should not blame the rubbish. Rather we should admire them. We have a system that favors and wants to preserve rubbish."
Read more: https://bit.ly/2Qn14SY
"香港風起了,於今尤烈,忠誠與廢物從來是形影不離好兄弟。我們不應怪罪垃圾,只能欣羨,這個體制就是偏好選擇垃圾、酷愛留住廢物。"
____________
📱Download the app:
http://onelink.to/appledailyapp
📰 Latest news:
http://appledaily.com/engnews/
🐤 Follow us on Twitter:
https://twitter.com/appledaily_hk
💪🏻 Subscribe and show your support:
https://bit.ly/2ZYKpHP
#AppleDailyENG
biology news 在 腦補給 Youtube 的最佳貼文
【蝦皮拍賣】
我現在自己在製作天然寵物肉乾 適合貓狗人吃 ,沒有防腐劑調味料
蝦皮網址: https://shopee.tw/twjerky
訂購LINE: 0900109282
FB/IG: 中崙天然寵物肉乾
【今日內容】
這個世界充滿奇怪狂野的東西 每天活在忙碌的生活裡 我們都忘記這個宇宙每天都有著不可思議事情或是事物發生 歡迎來到腦補給 今天要來看五個讓你對世界改觀的科學事實
5 每天都在吃蟲
4 地球上大部分的生物還沒被發現
3 大麻其實有許多好處
2 分手傷身
1 半杯精液能夠重新填補全世界人口
【文獻】
https://www.fda.gov/Food/GuidanceRegulation/GuidanceDocumentsRegulatoryInformation/SanitationTransportation/ucm056174.htm#CHPTA
http://www.thisisinsider.com/foods-full-of-insects-bugs-2017-6
https://blogs.scientificamerican.com/but-not-simpler/i-hate-to-break-it-to-you-but-you-already-eat-bugs/
https://www.theguardian.com/environment/2011/aug/23/species-earth-estimate-scientists
http://news.nationalgeographic.com/news/2011/08/110824-earths-species-8-7-million-biology-planet-animals-science/
https://www.health.harvard.edu/blog/the-health-effects-of-marijuana-from-recreational-and-medical-use-2016081910180
https://www.cancer.org/treatment/treatments-and-side-effects/complementary-and-alternative-medicine/marijuana-and-cancer.html
http://www.heart.org/HEARTORG/Conditions/More/Cardiomyopathy/Is-Broken-Heart-Syndrome-Real_UCM_448547_Article.jsp
https://thoughtcatalog.com/lorenzo-jensen-iii/2015/05/25-fun-n-freaky-facts-about-semen/
https://gizmodo.com/british-spies-used-semen-as-invisible-ink-during-wwi-1614656875?IR=T
https://www.youtube.com/watch?v=DGyRD9HnXVs
【貼心提醒】
訂閱後記得開小鈴鐺才能夠準時接收到新影片哦!
【關於腦補給】
這是一個創新吸收新知識的頻道,在這裡你可以看到世界上新奇的東西、知識。 如果喜歡可以按訂閱,也可以在下面留言你想要知道的主題。
【社交網址】
臉書: https://goo.gl/hcXp1l
biology news 在 同志道合 Youtube 的精選貼文
記得打開中文字幕唷
---------------------------------------------------------
當Gay不是後天選擇,而是先天遺傳的嗎?
如果是後天選擇的,那為什麼沒辦法把Gay變回異性戀?
又如果是「先天遺傳的」,那就更怪了,因為同志不會自己生小孩,那遺傳的力量應該無計可施。
照理來說,Gay 早就該絕種才對
不過神奇的是,同志行為不但沒有消失,反倒出現在幾乎所有動物身上
聽起來,這好像是一個超級不合理的事實,不過它卻可以被一個簡單的解釋優雅的解決
實際上,自然界對這同志這件事做了一個非常巧妙的設定,內容在影片中,這就是Howard這次的生物學的期末報告 (撒花轉圈圈)
影片腦補小教室:
01:28
蜘蛛跟魷魚絲一樣, 都是蛋白質組成的(咳), 它的強度不但高過鋼鐵, 而且質量極小, 繞地球一圈的蜘蛛絲重量, 低於一杯中杯珍奶 (500cc)
03:20
適者生存, 又稱天擇說, 應該算是史上最重要的一條生物定律, 它解釋生命的樣貌是流動的, 而不是永遠不變, 包括我們人類, 也是由單細胞生物演化成魚, 爬到陸地上, 變成猩猩, 最後才變成今天這個樣子
這讓亞當跟夏蛙聽到可能會覺得很不爽 (我知道我知道) !
03:22
天擇說理論在一百多年前(1859)被達爾文所發表
其實應該要更早, 因為在那時候的社會價值還是以上帝造人為主流, 可能達爾文當時也怕自己被暴民亂棒修理吧, 所以一直把這個想法藏到他50歲才公諸於世.
不過, 這個假設隨著陸續出土的證據跟研究, 如今變得越來越堅不可破.
03:24
"正向基因突變" 講的就是可以增加你 "生存率" 或者 "交配率" 的基因, 可是, "正向"這兩個字並不是絕對的, 聽起來有點模糊哦 w(゚д゚)w
讓我們用 " 白化症 (白子) " 的例子來說明吧 !
白化症是一種會讓你全身色素變不見的基因突變, 假如你有這種基因, 那你整個人就會看起來白白der(就像通天神探狄仁傑裡面的斐東來).
如果這種壯'況發生在非洲狐身上, 那我們會把它視為是一組具有毀滅性的基因; 因為牠在土黃色為主的非洲平原上走跳, 還把自己弄得白拋拋, 這等同掛了一面 吃我吃我 的牌子再身上.
可是, 如果它發生在北極狐身上呢? 我們就會當它是所謂的正向基因, 因為在北極, 白化症會變成一種保護色, 方便牠們掠食或逃跑, 接下來牠以後生的孩子會有潛在的白化症基因.
順道一提, 我們現在看到的極地動物, 很多都是白化症的產物
04:35
E.O威爾森是哈佛大學的生物學榮譽教授, 也是島嶼生態學 (Insular biogeography) 的創始人之一. 他曾多次獲得美國國家級的獎章. 論人性 (On Human Nature) 是他於1978年時的一部著作, 獲普立茲獎
影片中我提到很 " 理論" 跟 "假說"這類的詞, 可能會讓人覺得 "只是理論 " ,
個人以為這樣不太公平
因為沒有人可以活在生命的開端 (約35億年前), 然後全程記錄宇宙的始末. 理論的出生, 是人類為了說明某個現象所發展出來的解釋, 它必須受到現實非常嚴格的檢視. 借用一個科學家的話來作結, 他說:
這個世界的規律, 是眾神正在下的一盤棋, 而人類在一旁邊看邊猜它的規則, 如果你看到皇后把主教吃了, 你會說皇后比主教大, 可是接著你又看到主教把皇后吃了, 那你的說法 (假說) 就必須修改, 直到遊戲結束, 所有的規則 (理論) 都能完全符合你的觀察為止, 大致上, 我們所說的科學理論就是這麼一回事, 只是真實的狀況比下棋複雜太多了(Richard Feynman)"
以下是影片參考內容跟資料來源 :
http://www.independent.co.uk/news/science/billions-of-insects-are-having-gay-sex-accidentally-say-scientists-8897190.html
(Billions of Insects Are Having Gay Sex "Accidentally" Say Scientists)
https://www.sciencedaily.com/releases/2013/10/131021131009.htm
(Bugs Not Gay, Just Confused)
http://www.livescience.com/38931-insect-gay-sex.html
(Why Insects Have Gay Sex)
http://phys.org/news/2013-10-homosexuality-insects-spiders-case-mistaken.html
(Research Finds That Homosexuality in Insects and Spiders is a Case of Mistaken Identify)
Wilson, Edward O. On Human Nature. Cambridge: Harvard UP, 2004. Print. (論人性, 關於同志的解釋在第六章 "性")
很多想法跟解說方法都是下面幾本書給我的靈感, 比照誠信SOP規定, 信譽必須歸還給原作者 :
Brookes, Martin. Fly: An Experimental Life. London: Weidenfeld & Nicolson, 2001. Print.
Dawkins, Richard. The Blind Watchmaker. New York: Norton, 2013. Print.
Dawkins, Richard. The Selfish Gene: 30th Anniversary Edition. Oxford: Oxford UP, 2006. Print.
Moorehead, Alan. Darwin and the Beagle. New York: Harper & Row, 1969. Print.
biology news 在 拉哥 Lai UP Youtube 的最佳解答
自由基可引致皮膚老化
都係果句, 唔好曬太陽~
Reference:
http://youtu.be/KCF6prDSrHE
http://www.jjkkusa.com/modules/news/article.php?storyid=418
http://www.womenshealthmag.com/beauty/6-scary-sunscreen-ingredients-and-6-safe-spf-products
拉的自我介紹
你好啊!我叫拉,是香港人啊!我是個在香港土生土長的男生,接受香港教育和香港文化。我想向喜歡香港旅遊的朋友介紹不同的香港文化。
由於我超喜歡旅行!最近我開始為香港拍攝旅遊短片。希望你能更了解香港的美啊!
訂閱Lai UP ▶ http://bit.ly/laisubscribe
Lai's Self Introduction:
Hello! I'm Lai from Hong Kong. I'm just a normal Hong Kong boy being raised in Hong Kong, having local Hong Kong education and Hong Kong culture. Lai in Hong Kong would like to introduce different culture from Hong Kong to Hong Kong lovers.
Since I like travelling so much, recently I started making travelling videos for the sake of Hong Kong. Hope that you can know more about the beauty of Hong Kong.
Related videos:
【醫院故事18+】插尿管時伯伯的小鳥竟然變大鳥!? -《拉姑娘醫院日常》
https://youtu.be/vAS7Vy3H2uY
在香港醫院職員餐廳吃甚麼?私家醫院竟然比公立醫院更難吃?!-《拉姑娘醫院日常》
https://youtu.be/1tgO_hYCNRk
為甚麼讀Nursing? -《HKU拉》
https://youtu.be/VilvDpk3JYc
Lai Facebook: http://facebook.com/jackylaiyc
Lai Instagram: http://instagram.com/jackylaiyc
Telegram 吹水 Group: https://t.me/laiup
Telegram 收風 Channel: https://t.me/laichannel
合作查詢: jackylaiyc@gmail.com
biology news 在 Built with Biology news roundup - May 2020 - YouTube 的美食出口停車場
The stories you might have missed at the frontier of biology and technology.References: Inspired By Nature, Zymergen Brews High-Performance ... ... <看更多>